บทความของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่องแรกของโลก ประวัต การแปล - บทความของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่องแรกของโลก ประวัต ไทย วิธีการพูด

บทความของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ

บทความของเครื่องพิมพ์ดีด
เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เครื่องแรกของโลก

ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยใน Blog นี้ ผู้เขียนได้เรียบเรียงจากแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ทรงคุณค่า 3 แหล่งด้วยกันคือ
1.หนังสือเรื่อง ประวัติพิมพ์ดีดและเรื่องน่าสนใจ โดยอาจารย์วารินทร์ สินสูงสุด (หอสมุดกลาง จุฬาฯ)
2. เว็บไซต์ Talkng Machine .org
3. รายงานการวิจัยของสฤษดิ์ ปัตตะโชติ ที่เสนอต่อสภาวิจัยแห่งชาติ (ห้องสมุดสภาวิจัยแห่งชาติ)
เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย เกิดขึ้นเมื่อ Edwin Hunter Mcfarland ชาวอเมริกัน ซึ่งรับราชการ ในตำแหน่งเลขานุการส่วนพระองค์ ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ได้มีแนวความคิดที่จะสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น

พระอาจวิทยาคม (น้องชาย) และ โรงงานสมิทพรีเมียร์ในนิวยอร์ค จึงได้เดินทางกลับไปประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อสำรวจหาโรงงานที่สามารถผลิตเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้ ในที่สุดก็ได้โรงงาน Smith Premier ซึ่งอยู่ที่กรุงนิวยอร์คเป็นผู้ผลิตให้ โดย Mcfarland เป็นผู้คิดแบบและควบคุมการผลิต จนกระทั่งสำเร็จเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย ชนิดแป้นอักษร 7 แถว ทำงานแบบตรึงแคร่อักษร (fixed carriage typed typewriter) ซึ่งสามารถใช้งานได้ดี แต่ในขณะออกแบบแป้นอักษรไทยเพื่อบรรจุลงในแผงแป้นอักษรนั้น ปรากฏว่ Mcfarland ได้ลืมบรรจุตัวอักษร "ฃ" ( ขอ ขวด ) และ ฅ (คอ คน) ลงไปด้วย แต่โชคดีที่ยังมีอักษรอื่นที่พ้องเสียงสามารถใช้แทนกันได้ จึงถือได้ว่า Edwin Hunter Mcfarland คือผู้คิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้เป็นคนแรก

เครื่องพิมพ์ดีดไทยสมิทพรีเมียร์แบบแป้นพิมพ์ 7 แถว( 1 ตัวอักษรต่อ 1 แป้น) หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2435 Mcfarland ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาถวายพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์และเป็นที่พอพระราชหฤทัยอย่างยิ่ง เราจึงถือว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นนักพิมพ์ดีดไทยคนแรก ซึ่งต่อมาได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย Smith Premier จำนวน 17 เครื่องเข้ามาใช้ในราชการ แต่เนื่องจากเครื่องพิมพ์ดีดชนิดนี้มีแป้นอักษรถึง 7 แถว จึงไม่สามารถใช้วิธีการพิมพ์สัมผัสอย่างในปัจจุบันได้ ต้องพิมพ์โดยวิธีใช้นิ้วเคาะทีละแป้นต่อมา Mcfarland ได้เดินทางกลับไปสหรัฐฯและอยู่ที่นั่นจนกระทั่งถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2438 นายแพทย์ George B. Mcfarland หรือ อำมาตย์เอก พระอาจวิทยาคม ซึ่งเป็นน้องชายก็ได้รับสืบทอดกิจการเครื่องพิมพ์ดีดของพี่ชายมาไว้ และได้นำไปตั้งแสดงและสาธิตในร้านทำฟันของตนเอง จนเป็นที่รู้จักและสนใจของประชาชนอย่างมาก ดังนั้น Mcfarland จึงได้สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย Smith Premier เข้ามาจำหน่าย โดยตั้งร้านที่หัวมุมถนนเจริญกรุงตัดกับถนนวังบูรพา ชื่อร้าน Smith Premier Store ในปี พ.ศ. 2441

ต่อมาภายหลังบริษัท Smith Premier ประเทศอเมริกา ได้ขายสิทธิบัตรการผลิต ให้แก่บริษัท Remington และบริษัท Remington ก็ได้ปรับปรุงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย ให้เป็นแบบที่สามารถเลื่อนและยกแคร่อักษรได้ (Sliding, Shifting Carriage) และลดจำนวนแป้นอักษรลงมาเหลือ 4 แถว แต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่บ้าง ดังนั้น พระอาจวิทยาคม จึงได้ปรึกษากับพนักงานในบริษัทของท่าน คือ นายสวัสดิ์ มากประยูร กับ นายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี โดย นายสวัสดิ์ มากประยูร ทำหน้าที่ออกแบบประดิษฐ์ก้านอักษร และนายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี ทำหน้าที่ออกแบบจัดวางตำแหน่งแป้นอักษร เพื่อให้สามารถพิมพ์ได้ถนัดและรวดเร็ว จนสำเร็จในปี พ.ศ. 2474 โดยใช้เวลาพัฒนา 7 ปี และเรียกแป้นอักษรแบบใหม่นี้ว่าแป้นเกษมณี ตามนามสุกลของผู้ออกแบบ โดยแป้นแบบเกษมณีมีรูปแบบการจัดวางตัวอักษรในแป้นเหย้าเป็น "ฟ ห ก ด ่ า ส ว"

ถึงแม้ในปี พ.ศ. 2508 นายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ นายช่างกรมชลประทานจะได้ทำการปรับปรุง และออกแบบการจัดวางตำแหน่งแป้นอักษรไทยใหม่ ซึ่งเรียกว่าแป้นปัตตะโชติ และได้ทำการวิจัยจนพบว่า แป้นปัตตะโชติสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแป้นเกษมณีถึง 26.8% ก็ตาม แต่นักพิมพ์ดีดทั้งหลายได้ชินกับการพิมพ์บนแป้นเกษมณีแล้ว อีกทั้งต้นทุนในการปรับเปลี่ยนแป้นของเครื่องพิมพ์ดีดที่ใช้อยู่ก็สูง จึงทำให้แป้นแบบเกษมณียังคงได้รับความนิยมมาจนทุกวันนี้ และได้กลายเป็นแป้นพิมพ์ภาษาไทยมาตรฐานสำหรับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน นอกจากนี้พระอาจวิทยาคม ก็ยังเป็นบุคคลแรกที่เปิดโรงเรียนสอนพิมพ์ดีดภาษาไทยแบบสัมผัสขึ้นในปี พ.ศ. 2470 อีกด้วย..
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทความของเครื่องพิมพ์ดีดเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรกของโลก ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยในบล็อกนี้ผู้เขียนได้เรียบเรียงจากแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ทรงคุณค่า 3 แหล่งด้วยกันคือ 1.หนังสือเรื่อง ประวัติพิมพ์ดีดและเรื่องน่าสนใจโดยอาจารย์วารินทร์สินสูงสุด (หอสมุดกลางจุฬาฯ) 2. เว็บไซต์ Talkng เครื่อง.org 3. รายงานการวิจัยของสฤษดิ์ปัตตะโชติที่เสนอต่อสภาวิจัยแห่งชาติ (ห้องสมุดสภาวิจัยแห่งชาติ) เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเกิดขึ้นเมื่อ Edwin Hunter Mcfarland ชาวอเมริกันซึ่งรับราชการในตำแหน่งเลขานุการส่วนพระองค์ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงธรรมการในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ได้มีแนวความคิดที่จะสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น พระอาจวิทยาคม (น้องชาย) และ โรงงานสมิทพรีเมียร์ในนิวยอร์ค จึงได้เดินทางกลับไปประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อสำรวจหาโรงงานที่สามารถผลิตเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้ ในที่สุดก็ได้โรงงาน Smith Premier ซึ่งอยู่ที่กรุงนิวยอร์คเป็นผู้ผลิตให้ โดย Mcfarland เป็นผู้คิดแบบและควบคุมการผลิต จนกระทั่งสำเร็จเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย ชนิดแป้นอักษร 7 แถว ทำงานแบบตรึงแคร่อักษร (fixed carriage typed typewriter) ซึ่งสามารถใช้งานได้ดี แต่ในขณะออกแบบแป้นอักษรไทยเพื่อบรรจุลงในแผงแป้นอักษรนั้น ปรากฏว่ Mcfarland ได้ลืมบรรจุตัวอักษร "ฃ" ( ขอ ขวด ) และ ฅ (คอ คน) ลงไปด้วย แต่โชคดีที่ยังมีอักษรอื่นที่พ้องเสียงสามารถใช้แทนกันได้ จึงถือได้ว่า Edwin Hunter Mcfarland คือผู้คิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้เป็นคนแรก เครื่องพิมพ์ดีดไทยสมิทพรีเมียร์แบบแป้นพิมพ์ 7 แถว( 1 ตัวอักษรต่อ 1 แป้น) หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2435 Mcfarland ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาถวายพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์และเป็นที่พอพระราชหฤทัยอย่างยิ่ง เราจึงถือว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เป็นนักพิมพ์ดีดไทยคนแรก ซึ่งต่อมาได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย Smith Premier จำนวน 17 เครื่องเข้ามาใช้ในราชการ แต่เนื่องจากเครื่องพิมพ์ดีดชนิดนี้มีแป้นอักษรถึง 7 แถว จึงไม่สามารถใช้วิธีการพิมพ์สัมผัสอย่างในปัจจุบันได้ ต้องพิมพ์โดยวิธีใช้นิ้วเคาะทีละแป้นต่อมา Mcfarland ได้เดินทางกลับไปสหรัฐฯและอยู่ที่นั่นจนกระทั่งถึงแก่กรรมในปี พ.ศ. 2438 นายแพทย์ George B. Mcfarland หรือ อำมาตย์เอก พระอาจวิทยาคม ซึ่งเป็นน้องชายก็ได้รับสืบทอดกิจการเครื่องพิมพ์ดีดของพี่ชายมาไว้ และได้นำไปตั้งแสดงและสาธิตในร้านทำฟันของตนเอง จนเป็นที่รู้จักและสนใจของประชาชนอย่างมาก ดังนั้น Mcfarland จึงได้สั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย Smith Premier เข้ามาจำหน่าย โดยตั้งร้านที่หัวมุมถนนเจริญกรุงตัดกับถนนวังบูรพา ชื่อร้าน Smith Premier Store ในปี พ.ศ. 2441 ต่อมาภายหลังบริษัท Smith Premier ประเทศอเมริกา ได้ขายสิทธิบัตรการผลิต ให้แก่บริษัท Remington และบริษัท Remington ก็ได้ปรับปรุงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย ให้เป็นแบบที่สามารถเลื่อนและยกแคร่อักษรได้ (Sliding, Shifting Carriage) และลดจำนวนแป้นอักษรลงมาเหลือ 4 แถว แต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่บ้าง ดังนั้น พระอาจวิทยาคม จึงได้ปรึกษากับพนักงานในบริษัทของท่าน คือ นายสวัสดิ์ มากประยูร กับ นายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี โดย นายสวัสดิ์ มากประยูร ทำหน้าที่ออกแบบประดิษฐ์ก้านอักษร และนายสุวรรณประเสริฐ เกษมณี ทำหน้าที่ออกแบบจัดวางตำแหน่งแป้นอักษร เพื่อให้สามารถพิมพ์ได้ถนัดและรวดเร็ว จนสำเร็จในปี พ.ศ. 2474 โดยใช้เวลาพัฒนา 7 ปี และเรียกแป้นอักษรแบบใหม่นี้ว่าแป้นเกษมณี ตามนามสุกลของผู้ออกแบบ โดยแป้นแบบเกษมณีมีรูปแบบการจัดวางตัวอักษรในแป้นเหย้าเป็น "ฟ ห ก ด ่ า ส ว" ถึงแม้ในปี พ.ศ. 2508 นายสฤษดิ์ ปัตตะโชติ นายช่างกรมชลประทานจะได้ทำการปรับปรุง และออกแบบการจัดวางตำแหน่งแป้นอักษรไทยใหม่ ซึ่งเรียกว่าแป้นปัตตะโชติ และได้ทำการวิจัยจนพบว่า แป้นปัตตะโชติสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแป้นเกษมณีถึง 26.8% ก็ตาม แต่นักพิมพ์ดีดทั้งหลายได้ชินกับการพิมพ์บนแป้นเกษมณีแล้ว อีกทั้งต้นทุนในการปรับเปลี่ยนแป้นของเครื่องพิมพ์ดีดที่ใช้อยู่ก็สูง จึงทำให้แป้นแบบเกษมณียังคงได้รับความนิยมมาจนทุกวันนี้ และได้กลายเป็นแป้นพิมพ์ภาษาไทยมาตรฐานสำหรับคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน นอกจากนี้พระอาจวิทยาคม ก็ยังเป็นบุคคลแรกที่เปิดโรงเรียนสอนพิมพ์ดีดภาษาไทยแบบสัมผัสขึ้นในปี พ.ศ. 2470 อีกด้วย..
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
บล็อกนี้ 3 แหล่งด้วยกันคือ1. หนังสือเรื่องประวัติพิมพ์ดีดและเรื่องน่าสนใจโดยอาจารย์วารินทร์สินสูงสุด (หอสมุดกลางจุฬาฯ ) 2 เว็บไซต์ Talkng เครื่อง .org 3 รายงานการวิจัยของสฤษดิ์ปัตตะโชติที่เสนอต่อสภาวิจัยแห่งชาติ เกิดขึ้นเมื่อเอ็ดวินฮันเตอร์ Mcfarland ชาวอเมริกันซึ่งรับราชการในตำแหน่งเลขานุการส่วนพระองค์ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงธรรมการ รัชกาลที่ 5 (น้องชาย) และโรงงานสมิทพรีเมียร์ในนิวยอร์ค ในที่สุดก็ได้โรงงานสมิ ธ พรีเมียร์ โดย Mcfarland เป็นผู้คิดแบบและควบคุมการผลิต ชนิดแป้นอักษร 7 แถวทำงานแบบตรึงแคร่อักษร (สายการบินคงพิมพ์เครื่องพิมพ์ดีด) ซึ่งสามารถใช้งานได้ดี ปรากฏว่ Mcfarland ได้ลืมบรรจุตัวอักษร "ฃ" (ขอขวด) และฅ (คอคน) ลงไปด้วย จึงถือได้ว่าเอ็ดวินฮันเตอร์ Mcfarland 7 แถว (1 ตัวอักษรต่อ 1 แป้น) หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2435 Mcfarland 5 รัชกาลที่ 5 เป็นนักพิมพ์ดีดไทยคนแรก สมิ ธ พรีเมียร์จำนวน 17 เครื่องเข้ามาใช้ในราชการ 7 แถว Mcfarland พ.ศ. 2438 นายแพทย์จอร์จบี Mcfarland หรืออำมาตย์เอกพระอาจวิทยาคม ดังนั้น Mcfarland สมิ ธ พรีเมียร์เข้ามาจำหน่าย ชื่อร้านสมิ ธ พรีเมียร์ร้านค้าในปี พ.ศ. 2441 ต่อมาภายหลัง บริษัท สมิ ธ พรีเมียร์ประเทศอเมริกาได้ขายสิทธิบัตรการผลิตให้แก่ บริษัท เรมิงตันและ บริษัท เรมิงตัน (เลื่อนขยับขน) และลดจำนวนแป้นอักษรลงมาเหลือ 4 แถว แต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่บ้างดังนั้นพระอาจวิทยาคม คือนายสวัสดิ์มากประยูรกับนายสุวรรณประเสริฐเกษมณีโดยนายสวัสดิ์มากประยูรทำหน้าที่ออกแบบประดิษฐ์ก้านอักษรและนายสุวรรณประเสริฐเกษมณี จนสำเร็จในปี พ.ศ. 2474 โดยใช้เวลาพัฒนา 7 ปี ตามนามสุกลของผู้ออกแบบ "ฟหกด่าสว" ถึงแม้ในปี พ.ศ. 2508 นายสฤษดิ์ปัตตะโชติ ซึ่งเรียกว่าแป้นปัตตะโชติและได้ทำการวิจัยจนพบว่า 26.8% ก็ตาม นอกจากนี้พระอาจวิทยาคม พ.ศ. 2470 อีกด้วย ..















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Mcfarland or chancellor, PhD. พระอาจวิทยาคม, who was the younger brother also inherit the typewriter's brother. And the display and demonstrate in the dentist of their own. Until it is known and the public's attention greatly. So Mcfarland.บทความของเครื่องพิมพ์ดีด
เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเครื่องแรกของโลก

ประวัติความเป็นมาของเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยในบล็อกนี้ผู้เขียนได้เรียบเรียงจากแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ทรงคุณค่า 3 แหล่งด้วยกันคือ
1Smith Premier in aluminum by set up shop at the corner cut with SV road Wang Burapha shop's name Smith Premier Store in B.หนังสือเรื่องประวัติพิมพ์ดีดและเรื่องน่าสนใจโดยอาจารย์วารินทร์สินสูงสุด ( หอสมุดกลางจุฬาฯ )
2 เว็บไซต์ talkng เครื่อง . org
3 รายงานการวิจัยของสฤษดิ์ปัตตะโชติที่เสนอต่อสภาวิจัยแห่งชาติ ( ห้องสมุดสภาวิจัยแห่งชาติ )
รัชกาลที่ได้มีแนวความคิดที่จะสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยขึ้น
5เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยเกิดขึ้นเมื่อเอ็ดวิน ฮันเตอร์ แมคฟาร์แลนด์ชาวอเมริกันซึ่งรับราชการในตำแหน่งเลขานุการส่วนพระองค์ในสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงธรรมการพระอาจวิทยาคม ( น้องชาย ) และโรงงานสมิทพรีเมียร์ในนิวยอร์คจึงได้เดินทางกลับไปประเทศสหรัฐอเมริกาเพื่อสำรวจหาโรงงานที่สามารถผลิตเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้ในที่สุดก็ได้โรงงานสมิธพรีเมียร์
โดยแมคฟาร์แลนด์เป็นผู้คิดแบบและควบคุมการผลิตจนกระทั่งสำเร็จเป็นเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยชนิดแป้นอักษร 7 แถวทำงานแบบตรึงแคร่อักษร ( ซ่อมรถซึ่งสามารถใช้งานได้ดีพิมพ์ดีด )ปรากฏว่แมคฟาร์แลนด์ได้ลืมบรรจุตัวอักษร " ฃ " ( ขอขวด ) และฅ ( คอคน ) ลงไปด้วยแต่โชคดีที่ยังมีอักษรอื่นที่พ้องเสียงสามารถใช้แทนกันได้จึงถือได้ว่าเอ็ดวิน ฮันเตอร์ แมคฟาร์แลนด์คือผู้คิดประดิษฐ์เครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยได้เป็นคนแรก

เครื่องพิมพ์ดีดไทยสมิทพรีเมียร์แบบแป้นพิมพ์ 7 แถว ( 1 ตัวอักษรต่อ 1 แป้น ) หลังจากนั้นในปีพ . ศ .2435 แมคฟาร์แลนด์ได้นำเครื่องพิมพ์ดีดดังกล่าวเข้ามาถวายพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ซึ่งพระองค์ได้ทรงทดลองพิมพ์และเป็นที่พอพระราชหฤทัยอย่างยิ่งเราจึงถือว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5แมคฟาร์แลนด์ได้เดินทางกลับไปสหรัฐฯและอยู่ที่นั่นจนกระทั่งถึงแก่กรรมในปีพ .ซึ่งต่อมาได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทย Smith Premier จำนวน 17 เครื่องเข้ามาใช้ในราชการแต่เนื่องจากเครื่องพิมพ์ดีดชนิดนี้มีแป้นอักษรถึง 7 แถวจึงไม่สามารถใช้วิธีการพิมพ์สัมผัสอย่างในปัจจุบันได้ศ . 2438 นายแพทย์จอร์จบี.สมิธพรีเมียร์ เข้ามาจำหน่ายโดยตั้งร้านที่หัวมุมถนนเจริญกรุงตัดกับถนนวังบูรพาชื่อร้าน Smith Premier ร้านสามารถพ .แมคฟาร์แลนด์ค็อคอำมาตย์เอกพระอาจวิทยาคมซึ่งเป็นน้องชายก็ได้รับสืบทอดกิจการเครื่องพิมพ์ดีดของพี่ชายมาไว้และได้นำไปตั้งแสดงและสาธิตในร้านทำฟันของตนเองจนเป็นที่รู้จักและสนใจของประชาชนอย่างมากดังนั้นแมคฟาร์แลนด์ศ . 2441

ต่อมาภายหลังบริษัท Smith Premier ประเทศอเมริกาได้ขายสิทธิบัตรการผลิตให้แก่บริษัทเรมิงตันเรมิงตันก็ได้ปรับปรุงเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยและบริษัทให้เป็นแบบที่สามารถเลื่อนและยกแคร่อักษรได้ ( เลื่อนทำหน้าที่ออกแบบประดิษฐ์ก้านอักษรและนายสุวรรณประเสริฐเกษมณีทำหน้าที่ออกแบบจัดวางตำแหน่งแป้นอักษรเพื่อให้สามารถพิมพ์ได้ถนัดและรวดเร็วจนสำเร็จในปีพ .ขยับรถม้า ) และลดจำนวนแป้นอักษรลงมาเหลือ 4 แถวแต่ก็ยังมีข้อบกพร่องอยู่บ้างดังนั้นพระอาจวิทยาคมจึงได้ปรึกษากับพนักงานในบริษัทของท่านความนายสวัสดิ์มากประยูรกับนายสุวรรณประเสริฐเกษมณีโดยนายสวัสดิ์ศ . 2474 โดยใช้เวลาพัฒนา 7 . และเรียกแป้นอักษรแบบใหม่นี้ว่าแป้นเกษมณีตามนามสุกลของผู้ออกแบบโดยแป้นแบบเกษมณีมีรูปแบบการจัดวางตัวอักษรในแป้นเหย้าเป็น " มีหแล้วจะมันาสว "

ถึงแม้ในปีพ . ศ .พ.ศ. นายสฤษดิ์ปัตตะโชตินายช่างกรมชลประทานจะได้ทำการปรับปรุงและออกแบบการจัดวางตำแหน่งแป้นอักษรไทยใหม่ซึ่งเรียกว่าแป้นปัตตะโชติและได้ทำการวิจัยจนพบว่าแป้นปัตตะโชติสามารถพิมพ์ได้เร็วกว่าแป้นเกษมณีถึง 268 % ก็ตามแต่นักพิมพ์ดีดทั้งหลายได้ชินกับการพิมพ์บนแป้นเกษมณีแล้วอีกทั้งต้นทุนในการปรับเปลี่ยนแป้นของเครื่องพิมพ์ดีดที่ใช้อยู่ก็สูงจึงทำให้แป้นแบบเกษมณียังคงได้รับความนิยมมาจนทุกวันนี้นอกจากนี้พระอาจวิทยาคมก็ยังเป็นบุคคลแรกที่เปิดโรงเรียนสอนพิมพ์ดีดภาษาไทยแบบสัมผัสขึ้นในปีพ .ศ . 2470 อีกด้วย
. . . . . . .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: