ประวัติกีฬาปิงปอง หรือ เทเบิลเทนนิส  กีฬาปิงปองได้เริ่มขึ้นครั้งแรก ใน การแปล - ประวัติกีฬาปิงปอง หรือ เทเบิลเทนนิส  กีฬาปิงปองได้เริ่มขึ้นครั้งแรก ใน ไทย วิธีการพูด

ประวัติกีฬาปิงปอง หรือ เทเบิลเทนนิส

ประวัติกีฬาปิงปอง หรือ เทเบิลเทนนิส

กีฬาปิงปองได้เริ่มขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ที่ประเทศอังกฤษ โดยในอดีตอุปกรณ์ที่ใช้เล่นปิงปองเป็นไม้หุ้มหนังสัตว์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับไม้ปิงปองในปัจจุบัน ส่วนลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์ ซึ่งทำจากพลาสติกกึ่งสังเคราะห์ โดยเวลาที่ลูกบอลกระทบกับพื้นโต๊ะ และไม้ตีจะเกิดเสียง "ปิก-ป๊อก" ดังนั้น กีฬานี้จึงถูกเรียกชื่อตามเสียงที่ได้ยินว่า "ปิงปอง" (PINGPONG) และได้เริ่มแพร่หลายในกลุ่มประเทศยุโรปก่อน

ซึ่งวิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้น จะเป็นการเล่นแบบยัน (BLOCKING) และแบบดันกด (PUSHING) ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบ BLOCKING และ CROP หรือเรียกว่า การเล่นถูกตัด ซึ่งวิธีการเล่นนี้เป็นที่นิยมมากแถบนยุโรป ส่วนวิธีการจับไม้ จะมี 2 ลักษณะ คือ จับไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับแบบยุโรป" และการจับไม้แบบจับปากกา (PEN-HOLDER) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับไม้แบบจีน"

ในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏว่า มีการหันมาใช้ไม้ปิงปองติดยางเม็ดแทนหนังสัตว์ ดังนั้นวิธีการเล่นแบบรุก หรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) โดยใช้ท่า หน้ามือ (FOREHAND) และ หลังมือ (BACKHAND) เริ่มมีบทบาทมากขึ้น และยังคงนิยมการจับแบบไม้แบบยุโรป ดังนั้นจึงถือว่ายุโรปเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองอย่างแท้จริง

ต่อมาในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ได้มีบริษัทค้าเครื่องกีฬา จดทะเบียนเครื่องหมายการค้าว่า "PINGPONG" ด้วยเหตุนี้ กีฬาปิงปองจึงต้องเปลี่ยนชื่อเป็น เทลเบิลเทนนิส (TABLE TENNIS) และในปี ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ได้มีการประชุมก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ขึ้นที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคม พร้อมกับมีการจัดการแข่งขันเทเบิลเทนนิสแห่งโลกครั้งที่ 1 ขึ้น เป็นครั้งแรก

จากนั้นในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เป็นยุคที่ประเทศญี่ปุ่นซึ่งได้หันมาสนใจกีฬาเทเบิลเทนนิสมากขึ้น และได้มีการปรับวิธีการเล่นโดยเน้นไปที่ การตบลูกแม่นยำ และหนักหน่วง และการใช้จังหวะเต้นของปลายเท้า ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นครั้งแรก ที่กรุงบอมเบย์ ประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรัฐประชาชนจีนจึงได้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศรูมาเนีย ทำให้จึงกีฬาเทเบิลเทนนิสกลายเป็นกีฬาระดับโลกที่แท้จริง โดยในยุคนี้ญี่ปุ่นใช้การจับไม้แบบจับปากกา และมีการพัฒนาไม้ปิงปองโดยใช้ยางเม็ดสอดไส้ด้วยฟองน้ำ เพิ่มเติมจากยางชนิดเม็ดเดิมที่ใช้กันทั่วโลก
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติกีฬาปิงปองหรือเทเบิลเทนนิส กีฬาปิงปองได้เริ่มขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ที่ประเทศอังกฤษโดยในอดีตอุปกรณ์ที่ใช้เล่นปิงปองเป็นไม้หุ้มหนังสัตว์ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับไม้ปิงปองในปัจจุบันส่วนลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์ซึ่งทำจากพลาสติกกึ่งสังเคราะห์โดยเวลาที่ลูกบอลกระทบกับพื้นโต๊ะและไม้ตีจะเกิดเสียง "ปิก-ป๊อก" ดังนั้นกีฬานี้จึงถูกเรียกชื่อตามเสียงที่ได้ยินว่า "ปิงปอง" (PINGPONG) และได้เริ่มแพร่หลายในกลุ่มประเทศยุโรปก่อน ซึ่งวิธีการเล่นในสมัยยุโรปตอนต้นจะเป็นการเล่นแบบยัน (บล็อก) (ผลักดัน) และแบบดันกดซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นการเล่นแบบบล็อกและพืชหรือเรียกว่าการเล่นถูกตัดซึ่งวิธีการเล่นนี้เป็นที่นิยมมากแถบนยุโรปส่วนวิธีการจับไม้จะมี 2 ลักษณะคือจับไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับแบบยุโรป" และการจับไม้แบบจับปากกา (ใส่ปากกา) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับไม้แบบจีน" ในปีค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏว่ามีการหันมาใช้ไม้ปิงปองติดยางเม็ดแทนหนังสัตว์ดังนั้นวิธีการเล่นแบบรุกหรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรือรังเกียจ) โดยใช้ท่าหน้ามือ (ซึ่งอยู่) และหลังมือ (แบ็คแฮนด์) เริ่มมีบทบาทมากขึ้นและยังคงนิยมการจับแบบไม้แบบยุโรปดังนั้นจึงถือว่ายุโรปเป็นศูนย์รวมของกีฬาปิงปองอย่างแท้จริง ต่อมาในปีค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ได้มีบริษัทค้าเครื่องกีฬาจดทะเบียนเครื่องหมายการค้าว่า "ปิงปอง" ด้วยเหตุนี้กีฬาปิงปองจึงต้องเปลี่ยนชื่อเป็นเทลเบิลเทนนิส (ปิงปอง) และในปีค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ได้มีการประชุมก่อตั้งสหพันธ์เทเบิลเทนนิสนานาชาติ (TABLETENNIS ประเทศสหพันธรัฐ: ITTF) เป็นครั้งแรกขึ้นที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคมพร้อมกับมีการจัดการแข่งขันเทเบิลเทนนิสแห่งโลกครั้งที่ 1 ขึ้น จากนั้นในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เป็นยุคที่ประเทศญี่ปุ่นซึ่งได้หันมาสนใจกีฬาเทเบิลเทนนิสมากขึ้น และได้มีการปรับวิธีการเล่นโดยเน้นไปที่ การตบลูกแม่นยำ และหนักหน่วง และการใช้จังหวะเต้นของปลายเท้า ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ญี่ปุ่นได้เข้าร่วมการแข่งขันเทเบิลเทนนิสโลกเป็นครั้งแรก ที่กรุงบอมเบย์ ประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรัฐประชาชนจีนจึงได้เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรกที่กรุงบูคาเรสต์ ประเทศรูมาเนีย ทำให้จึงกีฬาเทเบิลเทนนิสกลายเป็นกีฬาระดับโลกที่แท้จริง โดยในยุคนี้ญี่ปุ่นใช้การจับไม้แบบจับปากกา และมีการพัฒนาไม้ปิงปองโดยใช้ยางเม็ดสอดไส้ด้วยฟองน้ำ เพิ่มเติมจากยางชนิดเม็ดเดิมที่ใช้กันทั่วโลก
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติกีฬาปิงปองหรือ ในปี ค.ศ. 1890 ( พ.ศ. 2433) ที่ประเทศอังกฤษ ส่วนลูกที่ใช้ตีเป็นลูกเซลลูลอยด์ ซึ่งทำจากพลาสติกกึ่งสังเคราะห์โดยเวลาที่ลูกบอลกระทบกับพื้นโต๊ะและไม้ตีจะเกิดเสียง "ปิก - ป๊อก" ดังนั้น "ปิงปอง" (ปิงปอง) จะเป็นการเล่นแบบยัน (การบล็อก) และแบบดันกด (ผลักดัน) ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็นการเล่น แบบ ปิดกั้นและการเพาะปลูกหรือเรียกว่าการเล่นถูกตัด ส่วนวิธีการจับไม้จะมี 2 ลักษณะคือจับไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับแบบยุโรป" และการจับไม้แบบจับปากกา (PEN-HOLDER) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับไม้แบบจีน " ในปี ค.ศ. 1900 ( พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏว่า ดังนั้นวิธีการเล่นแบบรุกหรือแบบ บุกโจมตี (attrack หรือไม่เหมาะสม) โดยใช้ท่าหน้ามือ (ข้างหน้า) และหลังมือ (แบ็คแฮนด์) เริ่มมีบทบาทมากขึ้นและยังคงนิยม การจับแบบไม้แบบยุโรป ค.ศ. 1922 ( พ.ศ. 2465) ได้มี บริษัท ค้าเครื่องกีฬาจดทะเบียนเครื่องหมายการค้า ว่า "ปิงปอง" ด้วยเหตุนี้กีฬาปิงปองจึงต้องเปลี่ยน ชื่อเป็นเทลเบิลเทนนิส (ปิงปอง) และในปี ค.ศ. 1926 ( พ.ศ. 2469) (นานาชาติปิงปอง FEDERATION: ITTF) ขึ้นที่กรุงลอนดอนในเดือนธันวาคม 1 เป็นครั้งขึ้นแรกจากเนชั่นั้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดปี ค.ศ. 1950 ( พ.ศ. 2493) การตบลูกแม่นยำและหนักหน่วงและ การใช้จังหวะเต้นของปลายเท้าต่อมาในปี ค.ศ. 1952 ( พ.ศ. 2495) ที่กรุงบอมเบย์ประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1953 ( พ.ศ. 2496) ประเทศรูมาเนีย









การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: