งาช้างดำ เป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง เป็นงาช้าง 1 ข้าง ไม่ได้มี การแปล - งาช้างดำ เป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง เป็นงาช้าง 1 ข้าง ไม่ได้มี ไทย วิธีการพูด

งาช้างดำ เป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้าน

งาช้างดำ เป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้านคู่เมือง เป็นงาช้าง 1 ข้าง ไม่ได้มีสีดำสนิทอย่างที่หลายคนเข้าใจ แต่เป็นงาช้างสีออกน้ำตาล มีครุฑตัวสีน้ำเงินปีกทองแบกงาช้างอยู่อีกที งาช้างกิ่งนี้ไม่ระบุที่มาแน่ชัด แต่จากตำนานที่เล่าสืบต่อมาระบุว่า อดีตเจ้าผู้ครองนครน่านได้มาจากเมืองเชียงตุง ตอนนั้นเชียงตุงมีงาช้างดำ 1 คู่ เลยแบ่งให้นครน่านมา 1 กิ่งเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรี เดิมเก็บไว้ใน “หอคำ”หรือวังของเจ้าผู้ครองนคร จนเมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดา เจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้ายถึงแก่พิราลัย(เสียชีวิต) ในปี พ.ศ. 2474 บุตรหลานของเจ้าผู้ครองนครจึงมอบให้เป็นสมบัติของเมืองน่าน ส่วนตัวครุฑที่ทำแบกรับงานั้น ทำจากไม้สักทั้งท่อน สร้างเมื่อปี 2469 ช่วงนั้นมีข่าวว่าเจ้าเมืองทางเหนือบางเมืองแข็งข้อก่อการกบฏ เจ้าเมืองน่านจึงให้ทำครุฑ ขึ้นมาแบกงาช้างดำวัตถุคู่บ้านคู่เมืองเพื่อ เป็นการแสดงสัญลักษณ์ให้เห็นว่า นครน่านในยุคนั้น ยังจงรักภักดีต่อกรุงราชวงศ์จักรี แห่งกรุงรัตนโกสินทร์อยู่ ไม่เสื่อมคลาย งาช้างดำนี้มีความเชื่อว่า ถ้าใครไปเก็บไว้ในครอบครองแล้วจะเกิดอาเพศ แต่ถ้าเมืองไหนมีไว้เป็นของส่วนรวม จะถือเป็นวัตถุมงคลที่เกิดผลดีต่อบ้านเมืองนั้น “จากข้อมูลของนักวิชาการ ที่ศึกษางาช้างดำกิ่งนี้พบว่าเป็นงาช้างตันที่ถูก ดึงมาทั้งยวงจากตัวช้าง งาช้างมีอายุหลายร้อยปี ส่วนตัวช้างเจ้าของงาน่าจะมีอายุอยู่ประมาณ 60 ปี นักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นงาข้างซ้าย เพราะดูจากลักษณะการเสียดสีของ ปลายงา” รูปลักษณะของงาเป็นงาปลี วัดโดยรอบตรงโคนโต 47 เซนติเมตร ยาว 94 เซนติเมตร น้ำหนัก 18 กิโลกรัม สีน้ำตาลไหม้เกือบเป็นสีดำ ข้างในกลวงตอนโคนลึกเพียง 14 เซนติเมตร จึงถือว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง จะตกไปเป็นเอกสิทธิ์ของเอกชนคนใดไม่ได้ และต้องถือว่า เป็นของคู่บ้านคู่เมืองน่านตลอดไป เดิมงาช้างกิ่งนี้ เก็บรักษาไว้ในศาลากลางจังหวัดน่าน ต่อมากรมศิลป์ได้รับมอบให้นำมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ฯน่าน เมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2525”
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งาช้างดำเป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองเป็นงาช้าง 1 ข้างไม่ได้มีสีดำสนิทอย่างที่หลายคนเข้าใจแต่เป็นงาช้างสีออกน้ำตาลมีครุฑตัวสีน้ำเงินปีกทองแบกงาช้างอยู่อีกทีงาช้างกิ่งนี้ไม่ระบุที่มาแน่ชัดแต่จากตำนานที่เล่าสืบต่อมาระบุว่าอดีตเจ้าผู้ครองนครน่านได้มาจากเมืองเชียงตุงตอนนั้นเชียงตุงมีงาช้างดำ 1 คู่เลยแบ่งให้นครน่านมา 1 กิ่งเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีเดิมเก็บไว้ใน "หอคำ" หรือวังของเจ้าผู้ครองนครจนเมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดาเจ้าผู้ครองนครน่านองค์สุดท้ายถึงแก่พิราลัย(เสียชีวิต)ในปีพ.ศ. 2474 บุตรหลานของเจ้าผู้ครองนครจึงมอบให้เป็นสมบัติของเมืองน่านส่วนตัวครุฑที่ทำแบกรับงานั้นทำจากไม้สักทั้งท่อนสร้างเมื่อปี 2469 ช่วงนั้นมีข่าวว่าเจ้าเมืองทางเหนือบางเมืองแข็งข้อก่อการกบฏเจ้าเมืองน่านจึงให้ทำครุฑขึ้นมาแบกงาช้างดำวัตถุคู่บ้านคู่เมืองเพื่อเป็นการแสดงสัญลักษณ์ให้เห็นว่านครน่านในยุคนั้นยังจงรักภักดีต่อกรุงราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์อยู่ไม่เสื่อมคลายงาช้างดำนี้มีความเชื่อว่าถ้าใครไปเก็บไว้ในครอบครองแล้วจะเกิดอาเพศแต่ถ้าเมืองไหนมีไว้เป็นของส่วนรวมจะถือเป็นวัตถุมงคลที่เกิดผลดีต่อบ้านเมืองนั้น "จากข้อมูลของนักวิชาการที่ศึกษางาช้างดำกิ่งนี้พบว่าเป็นงาช้างตันที่ถูกดึงมาทั้งยวงจากตัวช้างงาช้างมีอายุหลายร้อยปีส่วนตัวช้างเจ้าของงาน่าจะมีอายุอยู่ประมาณ 60 ปีนักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นงาข้างซ้ายเพราะดูจากลักษณะการเสียดสีของปลายงา"รูปลักษณะของงาเป็นงาปลีวัดโดยรอบตรงโคนโต 47 เซนติเมตรยาว 94 เซนติเมตรน้ำหนัก 18 กิโลกรัมสีน้ำตาลไหม้เกือบเป็นสีดำข้างในกลวงตอนโคนลึกเพียง 14 เซนติเมตรจึงถือว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองจะตกไปเป็นเอกสิทธิ์ของเอกชนคนใดไม่ได้และต้องถือว่าเป็นของคู่บ้านคู่เมืองน่านตลอดไปเดิมงาช้างกิ่งนี้เก็บรักษาไว้ในศาลากลางจังหวัดน่านต่อมากรมศิลป์ได้รับมอบให้นำมาจัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ฯน่านเมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2525"
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
งาช้างดำ เป็นงาช้าง 1 ข้าง แต่เป็นงาช้างสีออกน้ำตาล งาช้างกิ่งนี้ไม่ระบุที่มาแน่ชัด แต่จากตำนานที่เล่าสืบต่อมาระบุว่า ตอนนั้นเชียงตุงมีงาช้างดำ 1 คู่เลยแบ่งให้นครน่านมา 1 กิ่งเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีเดิมเก็บไว้ใน "หอคำ" หรือวังของเจ้าผู้ครองนครจนเมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดา ในปี พ.ศ. 2474 ส่วนตัวครุฑที่ทำแบกรับงานั้นทำจากไม้สักทั้งท่อนสร้างเมื่อปี 2469 เจ้าเมืองน่านจึงให้ทำครุฑ เป็นการแสดงสัญลักษณ์ให้เห็นว่านครน่านในยุคนั้นยังจงรักภักดีต่อกรุงราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์อยู่ไม่เสื่อมคลายงาช้างดำนี้มีความเชื่อว่า แต่ถ้าเมืองไหนมีไว้เป็นของส่วนรวม "จากข้อมูลของนักวิชาการ ดึงมาทั้งยวงจากตัวช้างงาช้างมีอายุหลายร้อยปี 60 ปี เพราะดูจากลักษณะการเสียดสีของปลายงา "รูปลักษณะของงาเป็นงาปลีวัดโดยรอบตรงโคนโต 47 เซนติเมตรยาว 94 เซนติเมตรน้ำหนัก 18 กิโลกรัมสีน้ำตาลไหม้เกือบเป็นสีดำข้างในกลวงตอนโคนลึกเพียง 14 เซนติเมตร และต้องถือว่าเป็นของคู่บ้านคู่เมืองน่านตลอดไปเดิมงาช้างกิ่งนี้เก็บรักษาไว้ในศาลากลางจังหวัดน่าน เมื่อวันที่ 21 พ.ค. 2525 "
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
งาช้างดำเป็นของโบราณเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองเป็นงาช้าง 1 ข้างไม่ได้มีสีดำสนิทอย่างที่หลายคนเข้าใจแต่เป็นงาช้างสีออกน้ำตาลมีครุฑตัวสีน้ำเงินปีกทองแบกงาช้างอยู่อีกทีงาช้างกิ่งนี้ไม่ระบุที่มาแน่ชัดอดีตเจ้าผู้ครองนครน่านได้มาจากเมืองเชียงตุงตอนนั้นเชียงตุงมีงาช้างดำ 1 คู่เลยแบ่งให้นครน่านมา 1 กิ่งเพื่อเชื่อมสัมพันธไมตรีเดิมเก็บไว้ใน " หอคำ " หรือวังของเจ้าผู้ครองนครจนเมื่อเจ้ามหาพรหมสุรธาดาสามารถพ .ศ .2474 บุตรหลานของเจ้าผู้ครองนครจึงมอบให้เป็นสมบัติของเมืองน่านส่วนตัวครุฑที่ทำแบกรับงานั้นทำจากไม้สักทั้งท่อนสร้างเมื่อปีช่วงนั้นมีข่าวว่าเจ้าเมืองทางเหนือบางเมืองแข็งข้อก่อการกบฏ 2382ขึ้นมาแบกงาช้างดำวัตถุคู่บ้านคู่เมืองเพื่อเป็นการแสดงสัญลักษณ์ให้เห็นว่านครน่านในยุคนั้นยังจงรักภักดีต่อกรุงราชวงศ์จักรีแห่งกรุงรัตนโกสินทร์อยู่ไม่เสื่อมคลายงาช้างดำนี้มีความเชื่อว่าแต่ถ้าเมืองไหนมีไว้เป็นของส่วนรวมจะถือเป็นวัตถุมงคลที่เกิดผลดีต่อบ้านเมืองนั้น " จากข้อมูลของนักวิชาการที่ศึกษางาช้างดำกิ่งนี้พบว่าเป็นงาช้างตันที่ถูกดึงมาทั้งยวงจากตัวช้างงาช้างมีอายุหลายร้อยปี60 . นักวิชาการสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นงาข้างซ้ายเพราะดูจากลักษณะการเสียดสีของปลายงา " รูปลักษณะของงาเป็นงาปลีวัดโดยรอบตรงโคนโต 47 เซนติเมตรยาว 94 เซนติเมตรน้ำหนัก 18 กิโลกรัมสีน้ำตาลไหม้เกือบเป็นสีดำ14 เซนติเมตรจึงถือว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองจะตกไปเป็นเอกสิทธิ์ของเอกชนคนใดไม่ได้และต้องถือว่าเป็นของคู่บ้านคู่เมืองน่านตลอดไปเดิมงาช้างกิ่งนี้เก็บรักษาไว้ในศาลากลางจังหวัดน่านเมื่อวันที่ 21 พ .ค . 2525 "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: