ความเป็นมาของการวัด ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็ การแปล - ความเป็นมาของการวัด ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็ ไทย วิธีการพูด

ความเป็นมาของการวัด ในสมัยโบราณบรรพ

ความเป็นมาของการวัด
ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร จนบางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชน มีการซื้อขายแลกเปลี่ยน ทำให้ต้องมีหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น
สำหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลำดับคร่าวๆ โดยในระยะแรกๆ มีการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิง เช่น 1 นิ้ว , 1 คืบ , 1 ศอก , 1 วา แต่ก็ยังไม่สามารถบอกความชัดเจนได้อยู่ดี เพราะ คืบ , ศอก , วา ของแค่ละชุมชนที่ใช้ในการวัดยาวไม่เท่ากัน
ต่อมาจึงได้พัฒนาหน่วยการวัดให้เป็นมาตรฐานสากล ที่นิยมใช้กัน คือ
ระบบอังกฤษ จะมีหน่วยวัดความยาวเป็น นิ้ว , ฟุต , หลา และ ไมล์ เป็นต้น
ระบบเมตริก ถือกำเนิดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ . 2336 กำหนดหน่วยความยาวเป็น เซนติเมตร , เมตร และ กิโลเมตร เป็นต้น
สำหรับในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2466 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัดโดยใช้หน่วยการวัดของระบบเมตริก โดยพระราชบัญญัติได้กำหนดไว้เฉพาะหน่วยการวัดความยาว พื้นที่ ปริมาตร และมวล ซื้อมุ่งประสงค์สำหรับไว้ใช้โดยเฉพาะในการซื้อขาย เช่น
2 ศอก เท่ากับ 1 วา
1 ไร่ เท่ากับ 1,600 ตาราเมตร
1 บาท เท่ากับ 15 กรัม
เมื่อปี พ.ศ. 2503 องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน ( International Organization for Standardization หรือชื่อย่อ ISO ) ได้กำหนดให้มีระบบการวัดใหม่ขึ้น เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก เรียกว่า ระบบระหว่างประเทศ ( System International d’ Unites ) หรือเรียกว่า SI ได้แก่
เมตร ( Meter : m ) เป็นหน่วยใช้วัดความยาว
กิโลกรัม ( Kilogramme : kg ) เป็นหน่วยใช้วัดมวล
วินาที ( Second : s ) เป็นหน่วยใช้วัดเวลา
แอมแปร์ ( Ampere : A ) เป็นหน่วยใช้วัดกระแสไฟฟ้า
เคลวิน( Kelvin : K ) เป็นหน่วยใช้วัดอุณหภูมิ
เคนเดลา ( Candela : cd ) เป็นหน่วยใช้วัดความเข้มของการส่องสว่าง
โมล( Mole : mol ) เป็นหน่วยใช้วัดปริมาณของสาร
นอกจากจะมีหน่วยวัดที่เป็นมาตรฐานสากลแล้ว เครื่องมือที่ใช้วัดก็มีความสำคัญมากเช่นกัน อย่างไรก็ตามในชีวิตประจำวันเราไม่อาจนำเครื่องมือที่ใช้ไปใช้ในทุกสถานที่ ทุกเวลาได้ จำเป็นต้องประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่างๆ ที่ต้องการทราบ การบอกค่าประมาณของปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของการวัด ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดระยะทางเวลาพื้นที่และปริมาตรจนบางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกันเมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชนมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนทำให้ต้องมีหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น สำหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลำดับคร่าว ๆ โดยในระยะแรก ๆ มีการใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิงเช่น 1 นิ้ว 1 คืบ 1 ศอก 1 วาแต่ก็ยังไม่สามารถบอกความชัดเจนได้อยู่ดีเพราะคืบ ศอก วาของแค่ละชุมชนที่ใช้ในการวัดยาวไม่เท่ากัน ต่อมาจึงได้พัฒนาหน่วยการวัดให้เป็นมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันคือระบบอังกฤษจะมีหน่วยวัดความยาวเป็นนิ้ว ฟุต หลาและไมล์เป็นต้นระบบเมตริกถือกำเนิดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศสเมื่อปีพ.ศ 2336 กำหนดหน่วยความยาวเป็นเซนติเมตร เมตรและกิโลเมตรเป็นต้น สำหรับในประเทศไทยเมื่อปีพ.ศ. 2466 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัดโดยใช้หน่วยการวัดของระบบเมตริกโดยพระราชบัญญัติได้กำหนดไว้เฉพาะหน่วยการวัดความยาวพื้นที่ปริมาตรและมวลซื้อมุ่งประสงค์สำหรับไว้ใช้โดยเฉพาะในการซื้อขายเช่น วา 2 ศอกเท่ากับ 1 ตาราเมตรเท่ากับ 1600 ไร่ 1 1 วรรคเท่ากับ 15 กรัม เมื่อปีพ.ศ. 2503 (องค์การระหว่างประเทศสำหรับมาตรฐาน ISO หรือชื่อย่อ) องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐานได้กำหนดให้มีระบบการวัดใหม่ขึ้นเพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลกเรียกว่าระบบระหว่างประเทศ (ระบบนานาชาติ d' Unites) ได้แก่ศรีหรือเรียกว่า เมตร (เมตร: m) เป็นหน่วยใช้วัดความยาว กิโลกรัม (Kilogramme: kg) เป็นหน่วยใช้วัดมวล วินาที (สอง: s) เป็นหน่วยใช้วัดเวลา แอมแปร์ (แอมแปร์: A) เป็นหน่วยใช้วัดกระแสไฟฟ้า เคลวิน (เคลวิน: K) เป็นหน่วยใช้วัดอุณหภูมิ เคนเดลา (Candela: cd) เป็นหน่วยใช้วัดความเข้มของการส่องสว่าง โมล (ไฝ: โมล) เป็นหน่วยใช้วัดปริมาณของสาร นอกจากจะมีหน่วยวัดที่เป็นมาตรฐานสากลแล้วเครื่องมือที่ใช้วัดก็มีความสำคัญมากเช่นกันอย่างไรก็ตามในชีวิตประจำวันเราไม่อาจนำเครื่องมือที่ใช้ไปใช้ในทุกสถานที่ทุกเวลาได้จำเป็นต้องประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่าง ๆ ที่ต้องการทราบการบอกค่าประมาณของปริมาณของสิ่งต่าง ๆ โดยไม่ได้วัดจริงเรียกว่าการคาดคะเน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของการวัด
ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร จนบางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชน มีการซื้อขายแลกเปลี่ยน ทำให้ต้องมีหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น
สำหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลำดับคร่าวๆ โดยในระยะแรกๆ มีการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิง เช่น 1 นิ้ว , 1 คืบ , 1 ศอก , 1 วา แต่ก็ยังไม่สามารถบอกความชัดเจนได้อยู่ดี เพราะ คืบ , ศอก , วา ของแค่ละชุมชนที่ใช้ในการวัดยาวไม่เท่ากัน
ต่อมาจึงได้พัฒนาหน่วยการวัดให้เป็นมาตรฐานสากล ที่นิยมใช้กัน คือ
ระบบอังกฤษ จะมีหน่วยวัดความยาวเป็น นิ้ว , ฟุต , หลา และ ไมล์ เป็นต้น
ระบบเมตริก ถือกำเนิดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อปี พ.ศ . 2336 กำหนดหน่วยความยาวเป็น เซนติเมตร , เมตร และ กิโลเมตร เป็นต้น
สำหรับในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2466 ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัดโดยใช้หน่วยการวัดของระบบเมตริก โดยพระราชบัญญัติได้กำหนดไว้เฉพาะหน่วยการวัดความยาว พื้นที่ ปริมาตร และมวล ซื้อมุ่งประสงค์สำหรับไว้ใช้โดยเฉพาะในการซื้อขาย เช่น
2 ศอก เท่ากับ 1 วา
1 ไร่ เท่ากับ 1,600 ตาราเมตร
1 บาท เท่ากับ 15 กรัม
เมื่อปี พ.ศ. 2503 องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน ( International Organization for Standardization หรือชื่อย่อ ISO ) ได้กำหนดให้มีระบบการวัดใหม่ขึ้น เพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลก เรียกว่า ระบบระหว่างประเทศ ( System International d’ Unites ) หรือเรียกว่า SI ได้แก่
เมตร ( Meter : m ) เป็นหน่วยใช้วัดความยาว
กิโลกรัม ( Kilogramme : kg ) เป็นหน่วยใช้วัดมวล
วินาที ( Second : s ) เป็นหน่วยใช้วัดเวลา
แอมแปร์ ( Ampere : A ) เป็นหน่วยใช้วัดกระแสไฟฟ้า
เคลวิน( Kelvin : K ) เป็นหน่วยใช้วัดอุณหภูมิ
เคนเดลา ( Candela : cd ) เป็นหน่วยใช้วัดความเข้มของการส่องสว่าง
โมล( Mole : mol ) เป็นหน่วยใช้วัดปริมาณของสาร
นอกจากจะมีหน่วยวัดที่เป็นมาตรฐานสากลแล้ว เครื่องมือที่ใช้วัดก็มีความสำคัญมากเช่นกัน อย่างไรก็ตามในชีวิตประจำวันเราไม่อาจนำเครื่องมือที่ใช้ไปใช้ในทุกสถานที่ ทุกเวลาได้ จำเป็นต้องประมาณความยาวหรือปริมาณของสิ่งต่างๆ ที่ต้องการทราบ การบอกค่าประมาณของปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริง เรียกว่า การคาดคะเน

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความเป็นมาของการวัด
ในสมัยโบราณบรรพบุรุษของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับการวัดระยะทางเวลาพื้นที่และปริมาตรจนบางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกันเมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชนทำให้ต้องมีหน่วยการวัดและเครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น
สำหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลำดับคร่าวๆโดยในระยะแรกๆมีการใช้ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิงเช่น 1 นิ้ว 1 คืบ 1 ศอก 1 วาแต่ก็ยังไม่สามารถบอกความชัดเจนได้อยู่ดีเพราะคืบศอก , ,วาของแค่ละชุมชนที่ใช้ในการวัดยาวไม่เท่ากัน

ต่อมาจึงได้พัฒนาหน่วยการวัดให้เป็นมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันความระบบอังกฤษจะมีหน่วยวัดความยาวเป็นนิ้วฟุต , หลาและไมล์เป็นต้น
,ระบบเมตริกถือกำเนิดขึ้นที่ประเทศฝรั่งเศสเมื่อปีพ . ศ . 3508 กำหนดหน่วยความยาวเป็นเซนติเมตรเมตรและ , กิโลเมตรเป็นต้น
สำหรับในประเทศไทยเมื่อปีพ . ศ .การเรียนรู้ได้ประกาศใช้พระราชบัญญัติมาตราชั่งตวงวัดโดยใช้หน่วยการวัดของระบบเมตริกโดยพระราชบัญญัติได้กำหนดไว้เฉพาะหน่วยการวัดความยาวพื้นที่ปริมาตรและมวลซื้อมุ่งประสงค์สำหรับไว้ใช้โดยเฉพาะในการซื้อขายเช่น
2 ศอกเท่ากับ 1 วา
1 ไร่เท่ากับ 1600 ตาราเมตร
1 บาทเท่ากับ 15 กรัม
เมื่อปีพ . ศ .2503 องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยมาตรฐาน ( องค์การระหว่างประเทศเพื่อการมาตรฐาน ISO ได้กำหนดให้มีระบบการวัดใหม่ขึ้นเพื่อใช้ในการวัดทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีให้เป็นระบบเดียวกันทั่วโลกเรียกว่าหรือชื่อย่อ )( ระบบสากล D ' unites ) หรือเรียกว่าศรีได้แก่
เมตร ( เมตร ) : M ) เป็นหน่วยใช้วัดความยาว
กิโลกรัม ( กก. : กก. ) เป็นหน่วยใช้วัดมวล
วินาทีที่สอง ( : s ) เป็นหน่วยใช้วัดเวลา
แอมแปร์ ( แอมแปร์ ) เป็นหน่วยใช้วัดกระแสไฟฟ้า
เคลวิน ( เคลวิน : K ) : เป็นหน่วยใช้วัดอุณหภูมิ
เคนเดลา ( แคนเดลาซีดี ) เป็นหน่วยใช้วัดความเข้มของการส่องสว่าง
โมล ( โมล : mol ) เป็นหน่วยใช้วัดปริมาณของสาร
นอกจากจะมีหน่วยวัดที่เป็นมาตรฐานสากลแล้วเครื่องมือที่ใช้วัดก็มีความสำคัญมากเช่นกันอย่างไรก็ตามในชีวิตประจำวันเราไม่อาจนำเครื่องมือที่ใช้ไปใช้ในทุกสถานที่ทุกเวลาได้ที่ต้องการทราบการบอกค่าประมาณของปริมาณของสิ่งต่างๆโดยไม่ได้วัดจริงเรียกว่าการคาดคะเน

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: