ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถูกมองว่าเป็นปัญหาด้านเดียวมาโดยตลอด การแปล - ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถูกมองว่าเป็นปัญหาด้านเดียวมาโดยตลอด ไทย วิธีการพูด

ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถ

ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถูกมองว่าเป็นปัญหาด้านเดียวมาโดยตลอดจากทั้งฝ่ายต่อต้านและฝ่ายสนับสนุนกิจกรรม โดยฝ่ายต่อต้านก็มักจะมองว่า ต้นตอทั้งหมดของปัญหาเกิดจากฝ่ายสนับสนุนซึ่งใช้ความรุนแรงและการบังคับกดขี่ที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน ในขณะที่ผู้สนับสนุนก็จะมองในทางตรงกันข้าม คือฝ่ายต่อต้านรับน้องคือผู้ที่เห็นแก่ตัว ไม่ยอมเสียสละเพื่อส่วนรวม ด้วยเหตุนี้ ทางออกของปัญหาที่มีการเสนออยู่จึงมักเป็นการให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องยอมสยบราบต่ออีกฝ่าย ซึ่งเป็นสาเหตุให้ท้ายที่สุด ไม่มีใครยอมใคร เพราะต่างคนก็เชื่อว่าตัวเองถูกต้อง ปัญหาการรับน้องจึงยังไม่มีท่าทีว่าจะคลี่คลายมาจนถึงทุกวันนี้

เพื่อเป็นการทำความเข้าใจและหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเสียใหม่ เราจึงควรลองปรับทัศนคติต่อปัญหาดูว่า แท้ที่จริงแล้ว ปัญหาความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากทุกฝ่าย และการแก้ปัญหาก็จึงควรเป็นทุกฝ่ายที่ปรับตัวเข้าหากัน


สาเหตุที่แท้จริงของความขัดแย้ง


สาเหตุของความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้อง แท้ที่จริงแล้วอาจไม่ได้เกิดจากการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใช้เหตุผลน้อยกว่า รับฟังความเห็นต่างน้อยกว่า หรือมีความรับผิดชอบต่อสังคมน้อยกว่า ดังที่ต่างฝ่ายต่างเชื่อและพยายามนำมาใช้โจมตีกันและกัน แต่อาจเป็นปัญหาขั้นพื้นฐาน ซึ่งก็คือความเชื่อที่แตกต่างกันระหว่างผู้ที่ต่อต้านและสนับสนุนระบบโซตัส[1] โดยที่ไม่มีใครสามารถพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างของตนเองได้อย่างชัดเจน

การที่ฝ่ายต่อต้านประเพณีรับน้องเชื่อว่าระบบโซตัสเป็นสิ่งไม่ดีและไม่สามารถสร้างความสามัคคีได้ดังที่กล่าวอ้างนั้นนั้น ถึงแม้จะมีการโจมตีกิจกรรมรับน้องด้วยหลากหลายเหตุผล ไม่ว่าจะเป็นการบีบบังคับหรือการใช้ความรุนแรงในกิจกรรมซึ่งดูจะไม่เข้ากับสังคมสมัยใหม่ที่มีความตื่นตัวด้านสิทธิเสรีภาพ แต่เราก็ต้องยอมรับว่าความคิดดังกล่าวเป็นเพียง “ความเชื่อ” อย่างหนึ่งที่ยืนบนหลักการเท่านั้น ในการถกเถียงเรื่องปัญหารับน้องโดยทั่วไป เรามักจะได้ยินข้อกล่าวหาจากฝ่ายสนับสนุนระบบโซตัสอยู่เสมอว่า ฝ่ายต่อต้านเป็นพวกที่บ้าเหตุผล บ้าหลักการ ไม่เข้าใจสังคมและชีวิตจริง คำกล่าวนี้ถือว่ามีน้ำหนักอยู่ไม่มากก็น้อย เนื่องจากว่าท้ายที่สุดแล้ว ฝ่ายต่อต้านเองก็ยังไม่สามารถพิสูจน์อย่างได้ชัดเจนว่า โซตัสไม่ได้ตอบจุดประสงค์ของมันเองเรื่องความสามัคคี—กล่าวให้ชัดคือ ถึงแม้เราจะมีสมมติฐานและหลักการที่แน่นหนาเพียงใด แต่เราก็ยังไม่ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์หรือไม่มีข้อมูลทางสถิติมายืนยันสมมติฐานนั้น ดังนี้ ท้ายที่สุดแล้วการกล่าวว่าระบบโซตัสไม่ช่วยสร้างความสามัคคีจึงยังเป็นเพียงแค่ความเชื่ออย่างหนึ่ง

ในขณะเดียวกัน ผู้ที่เชื่อในประเพณีรับน้องแบบโซตัสก็ยังไม่สามารถพิสูจน์สมมติฐานของตนเองที่ว่า “ระบบโซตัสช่วยสร้างความสามัคคี” ได้เช่นกัน ถึงแม้ผู้สนับสนุนระบบโซตัสหลายคนจะให้เหตุผลว่า ในเมื่อปัจจุบันมีการใช้ระบบโซตัสอยู่ และนักศึกษาที่เคยผ่านระบบดังกล่าวมาแล้วก็สามัคคีกันดี จึงแปลว่าโซตัสทำให้คนสามัคคีกัน อย่างไรก็ตาม นี่คือการเชื่อมโยงเหตุและผลที่ผิดพลาด การเกิดความสามัคคีในหมู่นักศึกษานั้นมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นการที่คนได้ใช้ชีวิตร่วมกันในมหาวิทยาลัยเป็นเวลานาน การสังสรรค์ เช่น การชวนกันไปกินเหล้า หรือการทำงานร่วมกัน ซึ่งไม่แน่ว่าโซตัสอาจไม่ใช่หนึ่งในปัจจัยที่มีผลต่อความสามัคคีเลยก็เป็นได้ ในเมื่อไม่มีการพิสูจน์ที่ชัดเจนดังนี้ จึงทำให้การสรุปว่า ระบบโซตัสช่วยสร้างความสามัคคี เป็นเพียงแค่ความเชื่ออีกอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน

ในเมื่อต่างฝ่ายต่างถือความเชื่อซึ่งไม่ได้รับการพิสูจน์ หรือหากจะทำการพิสูจน์ก็เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติ จึงทำให้ความขัดแย้งในเรื่องดังกล่าวไม่สามารถหาข้อสรุปได้โดยง่าย และในเมื่อต่างฝ่ายต่างเชื่อว่าตนเองอยู่ข้างความดีงามและฝ่ายตรงข้ามคือความชั่วร้าย ไม่มีฝ่ายใดเลยพยายามมองผู้อื่นว่า เขาก็เป็นเพียงคนที่คิดต่างจากเราเท่านั้น จึงทำให้การถกเถียงในประเด็นปัญหาการรับน้องแต่ละครั้งมักจะนำไปสู่การทะเลาะเบาะแว้ง ซึ่งมีทีท่าว่าจะบานปลายออกไปเรื่อยๆไม่จบสิ้น


ความผิดพลาดของขบวนการต่อต้านระบบโซตัสในรูปแบบปัจจุบัน

เหตุการณ์ประท้วงการรับน้องที่มหาวิทยาลัยมหาสารคามเมื่อช่วงปีแล้ว[2] รวมถึงการที่คุณคำ ผกา(ลักขณา ปันวิชัย)ได้ออกมาวิจารณ์การรับน้องอย่างดุเดือดที่มหาวิทยาลัยศิลปากร[3] จนท้ายที่สุด เจ้าตัวถึงกับต้องออกมากล่าวขอโทษในรายการ “คิดเล่นเห็นต่างกับคำผกา” ดูเหมือนจะได้สร้างความตื่นตัวครั้งใหญ่ให้กับขบวนต่อต้านการรับน้องทั่วประเทศ แต่อย่างไรก็ตาม เหตุการณ์ดังกล่าวก็ยังได้สะท้อนให้เห็นปัญหาใหญ่สองประการของขบวนการต่อต้านโซตัส นั่นก็คือ ปัญหาการใช้ภาษาสื่อสารกับผู้ที่เห็นต่าง และความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับอุดมการณ์สิทธิเสรีภาพ

การเสวนาหรือถกเถียงในประเด็นการรับน้องหลายครั้ง ดังเช่นการที่คุณคำผกาวิจารณ์การรับน้องที่มหาวิทยาลัยศิลปากร สะท้อนให้เห็นถึงระดับความรุนแรงและความไม่ประณีตในการใช้ภาษาของผู้ที่ต่อต้านโซตัสบางส่วน โดยถ้อยคำซึ่งพบเห็นได้บ่อยที่ถูกใช้ในการโจมตีก็คือ “โง่” “ปัญญาอ่อน” “ไร้สาระ” “เผด็จการ” ฯลฯ ซึ่งปัญหาสำหรับการใช้ถ้อยคำเหล่านี้ก็คือ เป็นการทำให้ผู้ที่สนับกิจกรรมรับน้องอยู่แต่แรกเกิดความรู้สึกต่อต้านทันที และไม่อยากฟังเหตุผลใดๆต่อ จึงทำการถกเถียงไม่สร้างประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือแม้แต่การผลิตซ้ำคำแทนอุดมการณ์บ่อยๆอย่าง “สิทธิเสรีภาพ” หรือ “ความเท่าเทียม” ก็ไม่ก่อให้เกิดความเข้าเช่นกัน เช่นว่า คำว่า “สิทธิเสรีภาพ” สำหรับผู้ที่ต่อต้านโซตัสมักจะหมายถึงเสรีภาพที่อยู่เหนือกรอบประเพณีวัฒนธรรม แต่สำหรับผู้ที่เชื่อในระบบโซตัสนั้น กรอบประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเสมือนเป็นหลักศีลธรรมที่กำหนดความดีงาม ดังนั้น เสรีภาพต้องอยู่ภายใต้กรอบดังกล่าวจึงจะถือเป็นเสรีภาพที่แท้จริง ในเมื่อนิยามของคำบางแตกต่างกันมากมายถึงขนาดนี้ตั้งแต่แรก การสื่อสารโดยการพยายามผลิตซ้ำคำในลักษณะดังกล่า
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถูกมองว่าเป็นปัญหาด้านเดียวมาโดยตลอดจากทั้งฝ่ายต่อต้านและฝ่ายสนับสนุนกิจกรรมโดยฝ่ายต่อต้านก็มักจะมองว่าต้นตอทั้งหมดของปัญหาเกิดจากฝ่ายสนับสนุนซึ่งใช้ความรุนแรงและการบังคับกดขี่ที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนในขณะที่ผู้สนับสนุนก็จะมองในทางตรงกันข้ามคือฝ่ายต่อต้านรับน้องคือผู้ที่เห็นแก่ตัวไม่ยอมเสียสละเพื่อส่วนรวมด้วยเหตุนี้ทางออกของปัญหาที่มีการเสนออยู่จึงมักเป็นการให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้องยอมสยบราบต่ออีกฝ่ายซึ่งเป็นสาเหตุให้ท้ายที่สุดไม่มีใครยอมใครเพราะต่างคนก็เชื่อว่าตัวเองถูกต้องปัญหาการรับน้องจึงยังไม่มีท่าทีว่าจะคลี่คลายมาจนถึงทุกวันนี้ เพื่อเป็นการทำความเข้าใจและหาหนทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวเสียใหม่เราจึงควรลองปรับทัศนคติต่อปัญหาดูว่าแท้ที่จริงแล้วปัญหาความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจากทุกฝ่ายและการแก้ปัญหาก็จึงควรเป็นทุกฝ่ายที่ปรับตัวเข้าหากัน สาเหตุที่แท้จริงของความขัดแย้ง สาเหตุของความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องแท้ที่จริงแล้วอาจไม่ได้เกิดจากการที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งใช้เหตุผลน้อยกว่ารับฟังความเห็นต่างน้อยกว่าหรือมีความรับผิดชอบต่อสังคมน้อยกว่าดังที่ต่างฝ่ายต่างเชื่อและพยายามนำมาใช้โจมตีกันและกันแต่อาจเป็นปัญหาขั้นพื้นฐานซึ่งก็คือความเชื่อที่แตกต่างกันระหว่างผู้ที่ต่อต้านและสนับสนุนระบบโซตัส [1] โดยที่ไม่มีใครสามารถพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างของตนเองได้อย่างชัดเจน การที่ฝ่ายต่อต้านประเพณีรับน้องเชื่อว่าระบบโซตัสเป็นสิ่งไม่ดีและไม่สามารถสร้างความสามัคคีได้ดังที่กล่าวอ้างนั้นนั้นถึงแม้จะมีการโจมตีกิจกรรมรับน้องด้วยหลากหลายเหตุผลไม่ว่าจะเป็นการบีบบังคับหรือการใช้ความรุนแรงในกิจกรรมซึ่งดูจะไม่เข้ากเรามักจะได้ยินข้อกล่าวหาจากฝ่ายสนับสนุนระบบโซตัสอยู่เสมอในการถกเถียงเรื่องปัญหารับน้องโดยทั่วไปอย่างหนึ่งที่ยืนบนหลักการเท่านั้นับสังคมสมัยใหม่ที่มีความตื่นตัวด้านสิทธิเสรีภาพแต่เราก็ต้องยอมรับว่าความคิดดังกล่าวเป็นเพียง "ความเชื่อ"ว่าฝ่ายต่อต้านเป็นพวกที่บ้าเหตุผลบ้าหลักการไม่เข้าใจสังคมและชีวิตจริงคำกล่าวนี้ถือว่ามีน้ำหนักอยู่ไม่มากก็น้อยเนื่องจากว่าท้ายที่สุดแล้วฝ่ายต่อต้านเองก็ยังไม่สามารถพิสูจน์อย่างได้ชัดเจนว่าโซตัสไม่ได้ตอบจุดประสงค์ของมันเองเรื่องความสามัคคี — กล่าวให้ชัดคือถึงแม้เราจะมีสมมติฐานและหลักการที่แน่นหนาเพียงใดแต่เราก็ยังไม่ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์หรือไม่มีข้อมูลทางสถิติมายืนยันสมมติฐานนั้นดังนี้ท้ายที่สุดแล้วการกล่าวว่าระบบโซตัสไม่ช่วยสร้างความสามัคคีจึงยังเป็นเพียงแค่ความเชื่ออย่างหนึ่ง ในขณะเดียวกันผู้ที่เชื่อในประเพณีรับน้องแบบโซตัสก็ยังไม่สามารถพิสูจน์สมมติฐานของตนเองที่ว่า "ระบบโซตัสช่วยสร้างความสามัคคี" ได้เช่นกันถึงแม้ผู้สนับสนุนระบบโซตัสหลายคนจะให้เหตุผลว่าในเมื่อปัจจุบันมีการใช้ระบบโซตัสอยู่และนักศึกษาที่เคยผ่านระบบดังกล่าวมาแล้วก็สามัคคีกันดีจึงแปลว่าโซตัสทำให้คนสามัคคีกันอย่างไรก็ตามนี่คือการเชื่อมโยงเหตุและผลที่ผิดพลาดการเกิดความสามัคคีในหมู่นักศึกษานั้นมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นการที่คนได้ใช้ชีวิตร่วมกันในมหาวิทยาลัยเป็นเวลานานการสังสรรค์เช่นการชวนกันไปกินเหล้าหรือการทำงานร่วมกันซึ่งไม่แน่ว่าโซตัสอาจไม่ใช่หนึ่งในปัจจัยที่มีผลต่อความสามัคคีเลยก็เป็นได้ในเมื่อไม่มีการพิสูจน์ที่ชัดเจนดังนี้จึงทำให้การสรุปว่าระบบโซตัสช่วยสร้างความสามัคคีเป็นเพียงแค่ความเชื่ออีกอย่างหนึ่งเช่นเดียวกัน ในเมื่อต่างฝ่ายต่างถือความเชื่อซึ่งไม่ได้รับการพิสูจน์หรือหากจะทำการพิสูจน์ก็เป็นไปได้ยากในทางปฏิบัติจึงทำให้ความขัดแย้งในเรื่องดังกล่าวไม่สามารถหาข้อสรุปได้โดยง่ายและในเมื่อต่างฝ่ายต่างเชื่อว่าตนเองอยู่ข้างความดีงามและฝ่ายตรงข้ามคือความชั่วร้ายไม่มีฝ่ายใดเลยพยายามมองผู้อื่นว่าเขาก็เป็นเพียงคนที่คิดต่างจากเราเท่านั้นจึงทำให้การถกเถียงในประเด็นปัญหาการรับน้องแต่ละครั้งมักจะนำไปสู่การทะเลาะเบาะแว้งซึ่งมีทีท่าว่าจะบานปลายออกไปเรื่อยๆไม่จบสิ้น ความผิดพลาดของขบวนการต่อต้านระบบโซตัสในรูปแบบปัจจุบัน เหตุการณ์ประท้วงการรับน้องที่มหาวิทยาลัยมหาสารคามเมื่อช่วงปีแล้ว [2] รวมถึงการที่คุณคำผกา (ลักขณาปันวิชัย) ได้ออกมาวิจารณ์การรับน้องอย่างดุเดือดที่มหาวิทยาลัยศิลปากร [3] จนท้ายที่สุดเจ้าตัวถึงกับต้องออกมากล่าวขอโทษในรายการ "คิดเล่นเห็นต่างกับคำผกา" ดูเหมือนจะได้สร้างความตื่นตัวครั้งใหญ่ให้กับขบวนต่อต้านการรับน้องทั่วประเทศแต่อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ดังกล่าวก็ยังได้สะท้อนให้เห็นปัญหาใหญ่สองประการของขบวนการต่อต้านโซตัสนั่นก็คือปัญหาการใช้ภาษาสื่อสารกับผู้ที่เห็นต่างและความเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับอุดมการณ์สิทธิเสรีภาพ การเสวนาหรือถกเถียงในประเด็นการรับน้องหลายครั้ง ดังเช่นการที่คุณคำผกาวิจารณ์การรับน้องที่มหาวิทยาลัยศิลปากร สะท้อนให้เห็นถึงระดับความรุนแรงและความไม่ประณีตในการใช้ภาษาของผู้ที่ต่อต้านโซตัสบางส่วน โดยถ้อยคำซึ่งพบเห็นได้บ่อยที่ถูกใช้ในการโจมตีก็คือ “โง่” “ปัญญาอ่อน” “ไร้สาระ” “เผด็จการ” ฯลฯ ซึ่งปัญหาสำหรับการใช้ถ้อยคำเหล่านี้ก็คือ เป็นการทำให้ผู้ที่สนับกิจกรรมรับน้องอยู่แต่แรกเกิดความรู้สึกต่อต้านทันที และไม่อยากฟังเหตุผลใดๆต่อ จึงทำการถกเถียงไม่สร้างประโยชน์ในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือแม้แต่การผลิตซ้ำคำแทนอุดมการณ์บ่อยๆอย่าง “สิทธิเสรีภาพ” หรือ “ความเท่าเทียม” ก็ไม่ก่อให้เกิดความเข้าเช่นกัน เช่นว่า คำว่า “สิทธิเสรีภาพ” สำหรับผู้ที่ต่อต้านโซตัสมักจะหมายถึงเสรีภาพที่อยู่เหนือกรอบประเพณีวัฒนธรรม แต่สำหรับผู้ที่เชื่อในระบบโซตัสนั้น กรอบประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเสมือนเป็นหลักศีลธรรมที่กำหนดความดีงาม ดังนั้น เสรีภาพต้องอยู่ภายใต้กรอบดังกล่าวจึงจะถือเป็นเสรีภาพที่แท้จริง ในเมื่อนิยามของคำบางแตกต่างกันมากมายถึงขนาดนี้ตั้งแต่แรก การสื่อสารโดยการพยายามผลิตซ้ำคำในลักษณะดังกล่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความขัดแย้งเรื่องประเพณีรับน้องมักถูก มองว่าเป็นปัญหาด้านเดียวมาโดยตลอดจากทั้งฝ่ายต่อต้านและฝ่ายสนับสนุนกิจกรรมโดยฝ่ายต่อต้านก็มักจะมองว่าต้นตอทั้งหมดของปัญหาเกิดจากฝ่ายสนับสนุนซึ่งใช้ความรุนแรงและการบังคับกดขี่ที่ ละเมิดสิทธิมนุษยชนในขณะที่ผู้ สนับสนุนก็จะมองในทางตรงกันข้ามคือฝ่ายต่อต้านรับน้องคือผู้ที่เห็นแก่ตัวไม่ยอมเสียสละเพื่อส่วนรวมด้วยเหตุนี้ทางออกของปัญหาที่มีการเสนออยู่จึงมักเป็นการให้ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งต้อง ยอมสยบราบต่ออีกฝ่ายซึ่งเป็นสาเหตุให้ท้ายที่สุดไม่มีใครยอมใครเพราะต่างของคุณคนก็เชื่อว่าได้คุณตัวเองถูกคุณต้องปฐมวัยหัวเรื่อง: การรับที่คุณน้องจึงยังไม่มีท่าทีว่าได้จะคลี่คลายมาจนถึงทุกวันนี้

เพื่อเป็นการทำความเข้าใจและหาหนทางแก้ไขปฐมวัยดัง กล่าวเสียใหม่เราจึงควรลองปรับทัศนคติต่อปฐมวัยดูว่าได้แท้ที่จริงแล้วปฐมวัยความสามารถขัดแย้งเรื่องประเพณีรับที่คุณน้องเป็นปฐมวัยที่เกิดขึ้นจากเนชั่ทุกฝ่ายและหัวเรื่อง: การแก้ปฐมวัยก็จึงควรเป็นทุกฝ่ายที่ปรับคุณตัวเข้าหากัน


สาเหตุที่แท้จริงของความสามารถ ขัดแย้ง


สาเหตุของความสามารถขัดแย้งเรื่องประเพณีรับที่คุณน้องแท้ที่จริงแล้วอาจไม่ได้เกิดจากเนชั่หัวเรื่อง: การที่ฝ่ายใดฝ่ายคุณหนึ่งใช้เหตุผลน้อยตั้งขึ้นกว่ารับฟังความสามารถเห็นต่างน้อยตั้งขึ้นกว่าหรือมีความสามารถรับผิดชอบต่อสังคมน้อยตั้งขึ้นกว่าดังที่ต่างฝ่ายต่างเชื่อและพยายามนำ มาใช้โจมตีกันและกัน แต่อาจเป็นปัญหา ขั้นพื้นฐานซึ่งก็คือความเชื่อที่แตกต่างกันระหว่างผู้ที่ต่อต้านและสนับสนุนระบบโซตัส [1] โดยที่ไม่มีใครด้านพิสูจน์ข้อกล่าวอ้างของตนเองได้อย่างชัดเจน

หัวเรื่อง: การที่ฝ่ายต่อต้าน ประเพณีรับน้องเชื่อว่าระบบโซตั สเป็นสิ่งไม่ดีและไม่สามารถสร้างความสามัคคีได้ดังที่กล่าวอ้างนั้นนั้นถึงแม้จะมีการโจมตีกิจกรรมรับน้องด้วยหลากหลายเหตุผลไม่ว่าจะเป็นการบีบบังคับหรือการใช้ความรุนแรงในกิจกรรม ซึ่งดูจะไม่เข้ากับสังคมสมัยใหม่ ที่มีความตื่นตัวด้านสิทธิเสรีภาพ แต่เราก็ต้องยอมรับว่าความคิดดังกล่าวเป็นเพียง "ความเชื่อ" อย่างหนึ่งที่ยืนบนหลักการเท่านั้นใน การถกเถียงเรื่องปัญหารับน้องโดยทั่วไปเรามักจะได้ยิน ข้อกล่าวหาจากฝ่ายสนับสนุนระบบโซตั สอยู่เสมอว่าฝ่ายต่อต้านเป็นพวกที่บ้าเหตุผลบ้าหลักการไม่เข้าใจสังคมและชีวิตจริงคำกล่าวนี้ถือว่ามีน้ำหนักอยู่ไม่มากก็น้อยเนื่องจากว่าท้ายที่สุดแล้วฝ่ายต่อต้านเองก็ยังไม่สามารถ พิสูจน์อย่างได้ชัดเจนว่าโซตัส ไม่ได้ตอบจุดประสงค์ของมันเองเรื่องความสามัคคี - กล่าวให้ชัดคือถึงแม้เราจะ มีสมมติฐานและหลักการที่แน่นหนาเพียงใด แต่เราก็ยังไม่ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์หรือไม่มีข้อมูลทาง สถิติมายืนยันสมมติฐานนั้นดังนี้ท้ายที่สุดแล้วหัวเรื่อง: การกล่าวว่าได้ระบบผู้ซื้อสินค้าคุณโซตัสไม่ช่วยสร้างความสามารถสามัคคีจึงยังเป็นเพียงเพลงแค่ความสามารถเชื่ออย่างคุณหนึ่ง

ในห้างหุ้นส่วนจำกัดขณะเดียวกันคุณผู้ที่เชื่อในห้างหุ้นส่วนจำกัดประเพณีรับที่คุณน้องแบบคุณโซตัสก็ยังไม่ด้านพิสูจน์สมมติฐาน ของตนเองที่ว่า "ระบบโซตัสช่วยสร้างความสามัคคี" ได้เช่นกันถึงแม้ผู้สนับสนุนระบบ โซตัสหลายคนจะให้เหตุผลว่าในเมื่อปัจจุบันมีการใช้ระบบโซตัสอยู่และนักศึกษาที่เคยผ่านระบบดังกล่าว มาแล้วก็สามัคคีกันดีจึงแปล ว่าโซตัสทำให้คนสามัคคีกันอย่างไรก็ตามนี่คือการเชื่อมโยงเหตุและผลที่ผิดพลาดการเกิดความสามัคคีในหมู่นักศึกษานั้นมีหลายปัจจัยที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นการที่คนได้ใช้ชีวิต ร่วมกันในมหาวิทยาลัยเป็นเวลานานการ สังสรรค์เช่นการชวนกันไปกินเหล้าหรือการทำงานร่วมกันซึ่งไม่แน่ว่าโซตัสอาจไม่ใช่หนึ่งในปัจจัยที่มีผลต่อความสามัคคีเลยก็เป็นได้ในเมื่อไม่มีการพิสูจน์ที่ชัดเจน ดังนี้จึงทำให้หัวเรื่อง: การสรุปว่าได้ระบบผู้ซื้อสินค้าคุณโซตัสช่วยสร้างความสามารถสามัคคีเป็นเพียงเพลงแค่ความสามารถเชื่ออีกอย่างคุณหนึ่งเช่นเดียวกัน

ในห้างหุ้นส่วนจำกัดเมื่อต่างฝ่ายต่างถือความสามารถเชื่อซึ่งไม่ได้รับหัวเรื่อง: การพิสูจน์หรือหากจะทำการพิสูจน์ก็เป็นไปได้ยากในห้างหุ้นส่วนจำกัดทาง ปฏิบัติจึงทำให้ความขัดแย้งในเรื่องดัง กล่าวไม่สามารถหาข้อสรุปได้โดยง่ายและในเมื่อต่างฝ่ายต่างเชื่อว่าตนเองอยู่ข้างความดีงามและฝ่ายตรงข้ามคือความชั่วร้ายไม่มีฝ่ายใดเลยพยายามมองผู้อื่นว่าเขาก็ เป็นเพียงของคุณคนที่คิดต่างจากเนชั่เราเท่านั้นจึงทำให้หัวเรื่อง: การถกเถียงในห้างหุ้นส่วนจำกัดประเด็นปฐมวัยหัวเรื่อง: การรับที่คุณน้องแต่ละครั้งมักจะนำไปสู่หัวเรื่อง: การทะเลาะเบาะแว้งซึ่งมีทีท่าว่าได้จะบานปลายออกไปมาเรื่อย ๆ ไม่จบสิ้น


ความสามารถผิดพลาดของขบวนการต่อต้านระบบผู้ซื้อสินค้าคุณโซตั สในห้างหุ้นส่วนจำกัดรูปแบบปัจจุบัน

เหตุการณ์ประท้วงหัวเรื่อง: การรับที่คุณน้องที่ผู้แต่ง: มหาวิทยาลัยมหาสารคามเมื่อช่วงปีแล้ว [2] รวมถึงการที่คุณคำผกา (ลักขณาปันวิชัย) ได้ออกมาวิจารณ์การรับน้องอย่าง ดุเดือดที่มหาวิทยาลัยศิลปากร [3] จนท้ายที่สุด เจ้าตัวถึงกับต้องออกมากล่าวขอโทษ ในรายการ "คิดเล่นเห็นต่างกับคำผกา" ดูเหมือนจะได้สร้างความตื่นตัวครั้งใหญ่ ให้กับขบวนต่อต้านการรับน้องทั่วประเทศ แต่อย่างไรก็ตามเหตุการณ์ดังกล่าวก็ยังได้สะท้อนให้เห็นปัญหาใหญ่สอง ประการของขบวนการต่อต้านคุณโซตัสนั่นก็คือปฐมวัยหัวเรื่อง: การใช้ภาษาสื่อสารกับคุณผู้ที่เห็นต่างและความสามารถเข้าใจที่ผิดเกี่ยวกับอุดมการณ์สิทธิเสรีภาพ

หัวเรื่อง: การเสวนาหรือถกเถียงในห้างหุ้นส่วนจำกัดประเด็นหัวเรื่อง: การรับที่คุณน้องหลายครั้งดังเช่นหัวเรื่อง: การที่ที่คุณคุณคำผกาวิจารณ์หัวเรื่อง: การ รับน้องที่มหาวิทยาลัยศิลปากรสะท้อนให้เห็น ถึงระดับความรุนแรงและความไม่ประณีตในการใช้ภาษาของผู้ที่ต่อต้านโซตัสบางส่วนโดยถ้อยคำซึ่งพบเห็นได้บ่อยที่ถูกใช้ในการโจมตีก็คือ "โง่" "ปัญญาอ่อน" " ไร้สาระ "" เผด็จการ " ฯลฯ ซึ่งปัญหาสำหรับการใช้ถ้อยคำเหล่า นี้ก็คือเป็นการทำให้ผู้ที่สนับกิจกรรมรับน้องอยู่ แต่แรกเกิดความรู้สึกต่อต้านทันทีและไม่อยากฟังเหตุผลใด ๆ ต่อจึงทำการถกเถียงไม่สร้างประโยชน์ในการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นหรือแม้แต่การผลิตซ้ำ คำแทนอุดมการณ์บ่อยๆอย่าง "สิทธิเสรีภาพ" หรือ "ความเท่าเทียม" ก็ไม่ก่อให้เกิดความเข้าเช่น กันเช่นว่าคำว่า "สิทธิเสรีภาพ" สำหรับผู้ที่ต่อต้านโซตัสมัก จะหมายถึง เสรีภาพที่อยู่เหนือกรอบประเพณีวัฒนธรรม แต่ สำหรับผู้ที่เชื่อในระบบโซตัสนั้นกรอบประเพณีวัฒนธรรมเปรียบเสมือนเป็นหลักศีลธรรมที่กำหนดความดีงามดังนั้นเสรีภาพต้องอยู่ภายใต้กรอบดังกล่าวจึงจะถือเป็นเสรีภาพที่แท้จริงในเมื่อนิยาม ของคำบางแตกต่างกันมากมายถึงขนาด นี้ตั้งแต่แรกการสื่อสารโดยการพยายามผลิตซ้ำคำในลักษณะดังกล่า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: