ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์หรือทำไมนักรัฐประศาสนศาสตร์จึงต้ การแปล - ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์หรือทำไมนักรัฐประศาสนศาสตร์จึงต้ ไทย วิธีการพูด

ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาส

ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์หรือทำไมนักรัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ ทั้งที่ๆ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์ เป็นสหวิทยาการ และเป็นศาสตร์กึ่งปฏิบัติ ประเด็นนี้ Frederickson and Smith (2003) กล่าวอย่างชัดเจนว่าจำเป็นที่ต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ เพราะการใช้แต่สามัญสำนึก ปัญญา และประสบการณ์ของนักบริหารนั้นไม่เพียงพอที่จะทำให้นักบริหารสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมได้ ขณะเดียวกันทฤษฎีก็จะช่วยสร้างองค์ความรู้ในรัฐประศาสนศาสตร์ให้มีความแข็งแกร่ง แต่ปัญหามีอยู่ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กำลังจะพัฒนาไปในทิศทางใดในการสร้างองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์


เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ สิ่งที่น่าพิจารณาในการกำหนดทิศทางของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือ คำถามที่ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีกี่ประเภท คำตอบของเรื่องนี้ก็คือว่า ทฤษฎีจะมีกี่ประเภทนั้นก็ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การนำมาใช้ในการจัดประเภท หรือเกณฑ์ที่นำมาใช้เป็นการแบ่ง เช่น การนำเกณฑ์เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาองค์ความรู้มาใช้ในการจัดประเภทก็จะสามารถแบ่งได้เป็นทฤษฎีเชิงอุปมาน (Deductive Theory) กับทฤษฎีเชิงอนุมาน (Inductive Theory) ถ้าแบ่งตามขนาดของแนวคิดก็อาจแบ่งเป็นทฤษฎีมหภาค เช่น ทฤษฎีด้านทางเลือกสาธารณะ และทฤษฎีจุลภาค เช่น ทฤษฎีองค์การต่างๆ แต่ถ้าแบ่งตามจุดมุ่งหมายของทฤษฎี Stephen K Bailey (1968) ได้จำแนกทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 4 ประเภท


1.Descriptive – Explanatory Theory เป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการพรรณนาและอธิบายโดย Descriptive Theory เป็นการพรรณนาที่มีตัวแปรตัวเดียว เป็นการพรรณนาลักษณะต่างๆ ของตัวแปรตัวนั้นในมิติต่างๆ ส่วน Explanatory Theoryเป็นการอธิบายที่มีตัวแปร 2 ตัว คือ สามารถระบุได้ว่าเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัจจัยอีกปัจจัยหนึ่งตามมา เช่น ความผูกพันต่อองค์การมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานในองค์การ เป็นต้น

2. Assumptive Theory เป็นการกล่าวถึงเงื่อนไขที่เกิดก่อนแล้วนำไปใช้ในการทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดตามมา ในลักษณะ if X, then Y เช่นเมื่อเห็นงบโฆษณาขององค์การเพิ่มขึ้น สิ่งที่น่าจะตามมาก็คือการเห็นยอดขายขององค์การเพิ่มขึ้น ดังนั้นทฤษฎีที่อธิบายให้ผู้สนใจมีความเข้าใจในทฤษฏี Descriptive and Explanative มากยิ่งขึ้น


3. Instrumental Theory เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวกับเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ซึ่งถูกนำมาใช้ในรัฐประศาสนศาสตร์ เนื่องจากรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์จึงต้องมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ เช่น ทฤษฎีจูงใจ ทฤษฎีภาวะผู้นำ หรือทฤษฎีเกี่ยวกับเทคนิคการบริหารต่างๆ เช่น ทฤษฎีเกี่ยวกับ QC, PMQA หรือ ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารโดยวัตถุประสงค์


4. Normative Theory เป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ควรจะเป็น จึงเป็นเรื่องของการใช้ค่านิยมในการตัดสินใจแต่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ เพราะรัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวเนื่องกับผู้บริหารที่จำเป็นจะต้องไปเลือกปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติเกี่ยวกับนโยบายต่างๆ ซึ่งต่างจากทฤษฎีประเภทอื่นๆ ที่กล่าวที่เน้นการให้ความรู้แต่ทฤษฎีทางด้าน normative จะให้ทางเลือกในการตัดสินใจจึงเป็นทฤษฎีที่มีความสำคัญ


อย่างไรก็ตามนักทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ส่วนใหญ่นิยมที่จะแบ่งทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภท คือ ทฤษฎีเชิงประจักษ์ (Empirical Theory) และทฤษฏีเชิงปทัสถาน (Normative Theory) (อุทัย เลาหวิเชียร, 2550) โดยทฤษฎีเชิงประจักษ์จะครอบคลุมถึงทฤษฎีการพรรณนาและอธิบาย (Descriptive -Explanatory) ทฤษฎีทำนายตามเงื่อนไขที่เกิดก่อน (Assumptive Theory) และทฤษฏีที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ (Instrumental Theory) ตามแนวคิดของ Stephen K Bailey นั้นเอง ทั้งนี้ โดยทฤษฎีเชิงประจักษ์จะเป็นทฤษฎีและแนวความคิดที่เน้นการสั่งสม องค์ความรู้ของวิทยาศาสตร์ (Science) ส่วนทฤษฎีและแนวความคิดเชิงประจักษ์เน้นการอธิบายเชิงปรัชญาและค่านิยม ดังนั้น ทฤษฎีทั้งสองแนวจึงมีการแสวงหาองค์ความรู้และการนำมาประยุกต์ใช้ที่แตกต่างกันอย่างมาก โดยทฤษฎีและแนวความคิดทั้งสองต่างก็มีจุดอ่อนและจุดแข็งที่แตกต่างกัน อนึ่ง จะเห็นได้ว่าในปัจจุบัน ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นทฤษฎีเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ ทฤษฎีตัวแบบการตลาด หรือทฤษฎีองค์การ ต่างล้วนเป็นทฤษฎีที่เน้นการเพิ่มพูนความรู้แทบทั้งสิ้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์หรือทำไมนักรัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ทั้งที่ ๆ รัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์เป็นสหวิทยาการและเป็นศาสตร์กึ่งปฏิบัติประเด็นนี้ Frederickson และสมิธ (2003) กล่าวอย่างชัดเจนว่าจำเป็นที่ต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพราะการใช้แต่สามัญสำนึกปัญญาและประสบการณ์ของนักบริหารนั้นไม่เพียงพอที่จะทำให้นักบริหารสามารถบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมได้ขณะเดียวกันทฤษฎีก็จะช่วยสร้างองค์ความรู้ในรัฐประศาสนศาสตร์ให้มีความแข็งแกร่งแต่ปัญหามีอยู่ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์กำลังจะพัฒนาไปในทิศทางใดในการสร้างองค์ความรู้ของรัฐประศาสนศาสตร์เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์สิ่งที่น่าพิจารณาในการกำหนดทิศทางของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือคำถามที่ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีกี่ประเภทคำตอบของเรื่องนี้ก็คือว่าทฤษฎีจะมีกี่ประเภทนั้นก็ขึ้นอยู่กับเกณฑ์การนำมาใช้ในการจัดประเภทหรือเกณฑ์ที่นำมาใช้เป็นการแบ่งเช่นการนำเกณฑ์เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาองค์ความรู้มาใช้ในการจัดประเภทก็จะสามารถแบ่งได้เป็นทฤษฎีเชิงอุปมาน (Deductive Theory) กับทฤษฎีเชิงอนุมาน (ทฤษฎีเชิงอุปนัย) ถ้าแบ่งตามขนาดของแนวคิดก็อาจแบ่งเป็นทฤษฎีมหภาคเช่นทฤษฎีด้านทางเลือกสาธารณะและทฤษฎีจุลภาคเช่นทฤษฎีองค์การต่าง ๆ แต่ถ้าแบ่งตามจุดมุ่งหมายของทฤษฎี Stephen K Bailey (1968) ได้จำแนกทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 4 ประเภท1.อธิบาย – อธิบายทฤษฎีเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการพรรณนาและอธิบายโดยอธิบายทฤษฎีเป็นการพรรณนาที่มีตัวแปรตัวเดียวเป็นการพรรณนาลักษณะต่าง ๆ ของตัวแปรตัวนั้นในมิติต่าง ๆ ส่วนอธิบาย Theoryเป็นการอธิบายที่มีตัวแปร 2 ตัวคือสามารถระบุได้ว่าเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดปัจจัยอีกปัจจัยหนึ่งตามมาเช่นความผูกพันต่อองค์การมีผลต่อประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงานในองค์การเป็นต้น2. Assumptive Theory เป็นการกล่าวถึงเงื่อนไขที่เกิดก่อนแล้วนำไปใช้ในการทำนายเหตุการณ์ที่จะเกิดตามมา ในลักษณะ if X, then Y เช่นเมื่อเห็นงบโฆษณาขององค์การเพิ่มขึ้น สิ่งที่น่าจะตามมาก็คือการเห็นยอดขายขององค์การเพิ่มขึ้น ดังนั้นทฤษฎีที่อธิบายให้ผู้สนใจมีความเข้าใจในทฤษฏี Descriptive and Explanative มากยิ่งขึ้น3. Instrumental Theory เป็นทฤษฎีที่เกี่ยวกับเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ซึ่งถูกนำมาใช้ในรัฐประศาสนศาสตร์ เนื่องจากรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์จึงต้องมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ เช่น ทฤษฎีจูงใจ ทฤษฎีภาวะผู้นำ หรือทฤษฎีเกี่ยวกับเทคนิคการบริหารต่างๆ เช่น ทฤษฎีเกี่ยวกับ QC, PMQA หรือ ทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารโดยวัตถุประสงค์4. Normative Theory เป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ควรจะเป็น จึงเป็นเรื่องของการใช้ค่านิยมในการตัดสินใจแต่เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับรัฐประศาสนศาสตร์ เพราะรัฐประศาสนศาสตร์เกี่ยวเนื่องกับผู้บริหารที่จำเป็นจะต้องไปเลือกปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติเกี่ยวกับนโยบายต่างๆ ซึ่งต่างจากทฤษฎีประเภทอื่นๆ ที่กล่าวที่เน้นการให้ความรู้แต่ทฤษฎีทางด้าน normative จะให้ทางเลือกในการตัดสินใจจึงเป็นทฤษฎีที่มีความสำคัญอย่างไรก็ตามนักทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ส่วนใหญ่นิยมที่จะแบ่งทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็น 2 ประเภท คือ ทฤษฎีเชิงประจักษ์ (Empirical Theory) และทฤษฏีเชิงปทัสถาน (Normative Theory) (อุทัย เลาหวิเชียร, 2550) โดยทฤษฎีเชิงประจักษ์จะครอบคลุมถึงทฤษฎีการพรรณนาและอธิบาย (Descriptive -Explanatory) ทฤษฎีทำนายตามเงื่อนไขที่เกิดก่อน (Assumptive Theory) และทฤษฏีที่เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการวิเคราะห์ (Instrumental Theory) ตามแนวคิดของ Stephen K Bailey นั้นเอง ทั้งนี้ โดยทฤษฎีเชิงประจักษ์จะเป็นทฤษฎีและแนวความคิดที่เน้นการสั่งสม องค์ความรู้ของวิทยาศาสตร์ (Science) ส่วนทฤษฎีและแนวความคิดเชิงประจักษ์เน้นการอธิบายเชิงปรัชญาและค่านิยม ดังนั้น ทฤษฎีทั้งสองแนวจึงมีการแสวงหาองค์ความรู้และการนำมาประยุกต์ใช้ที่แตกต่างกันอย่างมาก โดยทฤษฎีและแนวความคิดทั้งสองต่างก็มีจุดอ่อนและจุดแข็งที่แตกต่างกัน อนึ่ง จะเห็นได้ว่าในปัจจุบัน ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ส่วนใหญ่เป็นทฤษฎีเชิงประจักษ์ ทั้งนี้ไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีมนุษยสัมพันธ์ ทฤษฎีตัวแบบการตลาด หรือทฤษฎีองค์การ ต่างล้วนเป็นทฤษฎีที่เน้นการเพิ่มพูนความรู้แทบทั้งสิ้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ทั้งที่ ๆ เป็นสหวิทยาการและเป็นศาสตร์กึ่งปฏิบัติประเด็นนี้ Frederickson และสมิ ธ (2003) เพราะการใช้ แต่สามัญสำนึกปัญญา ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมได้ คำตอบของเรื่องนี้ก็คือว่า หรือเกณฑ์ที่นำมาใช้เป็นการแบ่งเช่น (ทฤษฎีนิรนัย) กับทฤษฎีเชิงอนุมาน (Inductive ทฤษฎี) เช่นทฤษฎีด้านทางเลือกสาธารณะและทฤษฎีจุลภาคเช่นทฤษฎีองค์การต่างๆ แต่ถ้าแบ่งตามจุดมุ่งหมายของทฤษฎีสตีเฟ่นเคเบลีย์ (1968) 4 ประเภท1.Descriptive - ทฤษฎีอธิบาย ทฤษฎีพรรณนาเป็นการพรรณนาที่มีตัวแปรตัวเดียวเป็นการพรรณนาลักษณะต่างๆของตัวแปรตัวนั้นในมิติต่างๆส่วนอธิบายทฤษฎีเป็นการอธิบายที่มีตัวแปร 2 ตัวคือ เช่น เป็นต้น2 ทฤษฎี assumptive ลักษณะในถ้า X, Y แล้ว พรรณนาและ explanative มากยิ่งขึ้น3 ทฤษฎีเครื่องมือ เช่นทฤษฎีจูงใจทฤษฎีภาวะผู้นำ เช่นทฤษฎีเกี่ยวกับ QC, PMQA หรือ ทฤษฎีกฎเกณฑ์เป็นการศึกษาถึงสิ่งที่ควรจะเป็น ซึ่งต่างจากทฤษฎีประเภทอื่น ๆ กฎเกณฑ์ 2 ประเภทคือทฤษฎีเชิงประจักษ์ (เชิงประจักษ์ทฤษฎี) และทฤษฏีเชิงปทัสถาน (ทฤษฎีกฎเกณฑ์) (อุทัยเลาหวิเชียร, 2550) (บรรยาย -Explanatory) ทฤษฎีทำนายตามเงื่อนไขที่เกิดก่อน (assumptive ทฤษฎี) (ประโยชน์ทฤษฎี) ตามแนวคิดของสตีเฟ่นเคเบลีย์นั้นเองทั้งนี้ องค์ความรู้ของวิทยาศาสตร์ (วิทยาศาสตร์) ดังนั้น อนึ่งจะเห็นได้ว่าในปัจจุบัน ทฤษฎีตัวแบบการตลาดหรือทฤษฎีองค์การ

















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ทฤษฎีที่มีความสำคัญต่อรัฐประศาสนศาสตร์หรือทำไมนักรัฐประศาสนศาสตร์จึงต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ทั้งที่ๆรัฐประศาสนศาสตร์เป็นศาสตร์ประยุกต์เป็นสหวิทยาการและเป็นศาสตร์กึ่งปฏิบัติเฟรเดอริกสันและ Smith ( 2003 ) กล่าวอย่างชัดเจนว่าจำเป็นที่ต้องให้ความสนใจต่อทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์เพราะการใช้แต่สามัญสำนึกปัญญาตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทางสังคมได้ขณะเดียวกันทฤษฎีก็จะช่วยสร้างองค์ความรู้ในรัฐประศาสนศาสตร์ให้มีความแข็งแกร่ง

เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์สิ่งที่น่าพิจารณาในการกำหนดทิศทางของทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ก็คือคำถามที่ว่าทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์มีกี่ประเภทคำตอบของเรื่องนี้ก็คือว่าหรือเกณฑ์ที่นำมาใช้เป็นการแบ่งเช่นการนำเกณฑ์เกี่ยวกับทิศทางการพัฒนาองค์ความรู้มาใช้ในการจัดประเภทก็จะสามารถแบ่งได้เป็นทฤษฎีเชิงอุปมาน ( ทฤษฎีนิรนัย ) กับทฤษฎีเชิงอนุมาน ( ทฤษฎีอุปนัย )เช่นทฤษฎีด้านทางเลือกสาธารณะและทฤษฎีจุลภาคเช่นทฤษฎีองค์การต่างๆแต่ถ้าแบ่งตามจุดมุ่งหมายของทฤษฎีสตีเฟนเค เบลี่ย์ ( 1968 ) ได้จำแนกทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ออกเป็นประเภท
4

1
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: