การคำนวณเกี่ยวกับสารละลายโดยการละลายในตัวทำละลายเป็นการเตรียมสารละลายจากสารบริสุทธิ์เช่นของแข็งของเหลวและก๊าซละลายในตัวทำละลาย
- การเตรียมสารละลายจากของแข็งส่วนใหญ่ใช้วิธีชั่งของแข็งแล้วนำไปละลายในตัวทำละลาย
- การเตรียมสารละลายจากของเหลวส่วนใหญ่วิธีวัดปริมาตรหรือชั่งน้ำหนักของของเหลวซึ่งต้องคำนวณออกมาเป็นน้ำหนักโดยใช้ความหนาแน่นเข้าช่วย
- การเตรียมสารละลายจากก๊าซส่วนใหญ่จะใช้วิธีวัดปริมาตรของก๊าซเมื่อละลายในน้ำหรือในตัวทำละลายจพได้สารละลายตามต้องการในการคำนวณสามารถคำนวณได้ 2 วิธีคือ
1 คำนวณโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์
2 ใช้สูตรดังนี้
21 N = 1 , 000 CV
2.2 g = CV
m
3 = 1 , 000 CV การผลิ 22.4 1000
n x 1023 2.4 = CV
เมื่อ 6.02 1000 จำนวนโมลของตัวถูกทำละลาย
n = m = มวลโมเลกุลหรือมวลสูตรของตัวทำละลาย
g =
= มวลเป็นกรัมของตัวถูกละลายการผลิปริมาตรของตัวถูกละลายซึ่งเป็นก๊าซที่ STP มีหน่วยเป็นลิตรค็อค dm3
N = จำนวนโมเลกุลของตัวถูกละลาย
c = ความเข้มข้นของสารละลายมีหน่วยเป็น mol / dm3
V = ปริมาตรของสารละลายมีหน่วยเป็นเท่านั้น
cm3 ค็อคมลเมื่อเตรียมสารละลายโดยการนำสารละลายเดิมมาทำให้เจือจางการเตรียมสารละลายโดยวิธีนี้จะต้อง
คำนวณหาปริมาตรของสารละลายเดิมที่ใช้และปริมาตรของสารที่จะเติมการคำนวณหาปริมาตรของสารละลายสามารถกระทำได้วิธีความ 21 . คำนวณโดยใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์การคำนวณโดยการเทียบควรคำนวณหาจำนวนโมลของตัวถูกละลายที่ต้องการเตรียมก่อนแล้วจึงคำนวณหาปริมาตรของสารละลายเดิมปริมาตรของน้ำกลั่นที่จะเติมหรือสิ่งที่ต้องการทราบ
2ใช้สูตร
เมื่อ C1 = ความเข้มข้นของสารละลายเดิมที่จะแบ่งมา ( mol / L )
C2 = ความเข้มข้นของสารละลายใหม่ที่ต้องการ ( mol / L )
การแปล กรุณารอสักครู่..