เชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ปี (คือก่อนนิร การแปล - เชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ปี (คือก่อนนิร ไทย วิธีการพูด

เชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่

เชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ปี (คือก่อนนิราศเมืองแกลง) เห็นจะได้แก่กลอนนิทานเรื่อง โคบุตร
สุนทรภู่ลอบรักกับนางข้าหลวงในวังหลังคนหนึ่ง ชื่อแม่จัน ชะรอยว่าหล่อนจะเป็นบุตรหลานผู้มีตระกูล จึงถูกกรมพระราชวังหลังกริ้วจนถึงให้โบยและจำคุกคนทั้งสอง แต่เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปี พ.ศ. 2349 จึงมีการอภัยโทษแก่ผู้ถูกลงโทษทั้งหมดถวายเป็นพระราชกุศล หลังจากสุนทรภู่ออกจากคุกก็เดินทางไปหาบิดาที่เมืองแกลง จังหวัดระยอง การเดินทางครั้งนี้สุนทรภู่ได้แต่ง นิราศเมืองแกลง พรรณนาสภาพการเดินทางต่างๆ เอาไว้โดยละเอียด และลงท้ายเรื่องว่า แต่งมาให้แก่แม่จัน "เป็นขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย" ในนิราศได้บันทึกสมณศักดิ์ของบิดาของสุนทรภู่ไว้ด้วยว่า เป็น "พระครูธรรมรังษี" เจ้าอาวาสวัดป่ากร่ำ กลับจากเมืองแกลงคราวนี้ สุนทรภู่จึงได้แม่จันเป็นภรรยา
แต่กลับจากเมืองแกลงเพียงไม่นาน สุนทรภู่ต้องติดตามพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ในฐานะมหาดเล็ก ตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชา ที่ อ.พระพุทธบาท จ.สระบุรี เมื่อปี พ.ศ. 2350 สุนทรภู่ได้แต่ง นิราศพระบาท พรรณนาเหตุการณ์ในการเดินทางคราวนี้ด้วย
สุนทรภู่กับแม่จันมีบุตรด้วยกัน 1 คน ชื่อหนูพัด ได้อยู่ในความอุปการะของเจ้าครอกทองอยู่ ส่วนหนุ่มสาวทั้งสองมีเรื่องระหองระแหงกันเสมอ จนภายหลังก็เลิกรากันไปหลังจาก นิราศพระบาท ที่สุนทรภู่แต่งในปี พ.ศ. 2350 ไม่ปรากฏผลงานใดๆ ของสุนทรภู่อีกเลยจนกระทั่งเข้ารับราชการในปี พ.ศ. 2359
กวีราชสำนัก
สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์เมื่อ พ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 มูลเหตุในการได้เข้ารับราชการนี้ ไม่ปรากฏแน่ชัด แต่สันนิษฐานว่าอาจแต่งโคลงกลอนได้เป็นที่พอพระทัย ทราบถึงพระเนตรพระกรรณจึงทรงเรียกเข้ารับราชการ แนวคิดหนึ่งว่าสุนทรภู่เป็นผู้แต่งกลอนในบัตรสนเท่ห์ ซึ่งปรากฏชุกชุมอยู่ในเวลานั้น อีกแนวคิดหนึ่งสืบเนื่องจาก "ช่วงเวลาที่หายไป" ของสุนทรภู่ ซึ่งน่าจะใช้วิชากลอนทำมาหากินเป็นที่รู้จักเลื่องชื่ออยู่ ชะรอยจะเป็นเหตุให้ถูกเรียกเข้ารับราชการก็ได้
เมื่อแรกสุนทรภู่รับราชการเป็นอาลักษณ์ปลายแถว มีหน้าที่เฝ้าเวลาทรงพระอักษรเพื่อคอยรับใช้ แต่มีเหตุให้ได้แสดงฝีมือกลอนของตัว เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแต่งกลอนบทละครในเรื่อง "รามเกียรติ์" ติดขัดไม่มีผู้ใดต่อกลอนได้ต้องพระราชหฤทัย จึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่ง ปรากฏว่าแต่งได้ดีเป็นที่พอพระทัย จึงทรงพระกรุณาฯ เลื่อนให้เป็น ขุนสุนทรโวหาร การต่อกลอนของสุนทรภู่คราว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โคบุตรเชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ปี (คือก่อนนิราศเมืองแกลง) เห็นจะได้แก่กลอนนิทานเรื่อง สุนทรภู่ลอบรักกับนางข้าหลวงในวังหลังคนหนึ่งชื่อแม่จันชะรอยว่าหล่อนจะเป็นบุตรหลานผู้มีตระกูลจึงถูกกรมพระราชวังหลังกริ้วจนถึงให้โบยและจำคุกคนทั้งสองแต่เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปีพ.ศ 2349 จึงมีการอภัยโทษแก่ผู้ถูกลงโทษทั้งหมดถวายเป็นพระราชกุศลหลังจากสุนทรภู่ออกจากคุกก็เดินทางไปหาบิดาที่เมืองแกลงจังหวัดระยองการเดินทางครั้งนี้สุนทรภู่ได้แต่งนิราศเมืองแกลงพรรณนาสภาพการเดินทางต่าง ๆ เอาไว้โดยละเอียดและลงท้ายเรื่องว่าแต่งมาให้แก่แม่จัน "เป็นขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย" ในนิราศได้บันทึกสมณศักดิ์ของบิดาของสุนทรภู่ไว้ด้วยว่าเป็น "พระครูธรรมรังษี" เจ้าอาวาสวัดป่ากร่ำกลับจากเมืองแกลงคราวนี้สุนทรภู่จึงได้แม่จันเป็นภรรยาแต่กลับจากเมืองแกลงเพียงไม่นานสุนทรภู่ต้องติดตามพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ในฐานะมหาดเล็กตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชาอ.พระพุทธบาทจ.สระบุรีเมื่อปีพ.ศ. 2350 สุนทรภู่ได้แต่งนิราศพระบาทพรรณนาเหตุการณ์ในการเดินทางคราวนี้ด้วยสุนทรภู่กับแม่จันมีบุตรด้วยกัน 1 คนชื่อหนูพัดได้อยู่ในความอุปการะของเจ้าครอกทองอยู่ส่วนหนุ่มสาวทั้งสองมีเรื่องระหองระแหงกันเสมอจนภายหลังก็เลิกรากันไปหลังจากนิราศพระบาทที่สุนทรภู่แต่งในปีพ.ศ. 2350 ไม่ปรากฏผลงานใด ๆ ของสุนทรภู่อีกเลยจนกระทั่งเข้ารับราชการในปีพ.ศ. 2359กวีราชสำนัก สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์เมื่อพ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 มูลเหตุในการได้เข้ารับราชการนี้ไม่ปรากฏแน่ชัดแต่สันนิษฐานว่าอาจแต่งโคลงกลอนได้เป็นที่พอพระทัยทราบถึงพระเนตรพระกรรณจึงทรงเรียกเข้ารับราชการแนวคิดหนึ่งว่าสุนทรภู่เป็นผู้แต่งกลอนในบัตรสนเท่ห์ซึ่งปรากฏชุกชุมอยู่ในเวลานั้นอีกแนวคิดหนึ่งสืบเนื่องจาก "ช่วงเวลาที่หายไป" ของสุนทรภู่ซึ่งน่าจะใช้วิชากลอนทำมาหากินเป็นที่รู้จักเลื่องชื่ออยู่ชะรอยจะเป็นเหตุให้ถูกเรียกเข้ารับราชการก็ได้เมื่อแรกสุนทรภู่รับราชการเป็นอาลักษณ์ปลายแถวมีหน้าที่เฝ้าเวลาทรงพระอักษรเพื่อคอยรับใช้แต่มีเหตุให้ได้แสดงฝีมือกลอนของตัวเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแต่งกลอนบทละครในเรื่อง "รามเกียรติ์" ติดขัดไม่มีผู้ใดต่อกลอนได้ต้องพระราชหฤทัยจึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่งปรากฏว่าแต่งได้ดีเป็นที่พอพระทัยจึงทรงพระกรุณาฯ เลื่อนให้เป็นขุนสุนทรโวหารการต่อกลอนของสุนทรภู่คราว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
20 ปี (คือก่อนนิราศเมืองแกลง) เห็นจะ ได้แก่ กลอนนิทานเรื่อง
ชื่อแม่จัน พ.ศ. 2349 จังหวัดระยองการเดินทางครั้งนี้สุนทรภู่ได้แต่งนิราศเมืองแกลงพรรณนาสภาพการเดินทางต่างๆเอาไว้โดยละเอียดและลงท้ายเรื่องว่าแต่งมาให้แก่แม่จัน "เป็นขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย" เป็น "พระครูธรรมรังษี" เจ้าอาวาสวัดป่ากร่ำกลับจากเมืองแกลงคราวนี้
ตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชาที่อ. พระพุทธบาทจ. สระบุรีเมื่อปี พ.ศ. 2350 สุนทรภู่ได้แต่งนิราศพระบาท
1 คนชื่อหนูพัด จนภายหลังก็เลิกรากันไปหลังจากนิราศพระบาทที่สุนทรภู่แต่งในปี พ.ศ. 2350 ไม่ปรากฏผลงานใด ๆ พ.ศ. พ.ศ. 2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 มูลเหตุในการได้เข้ารับราชการนี้ไม่ปรากฏแน่ชัด ซึ่งปรากฏชุกชุมอยู่ในเวลานั้นอีกแนวคิดหนึ่งสืบเนื่องจาก "ช่วงเวลาที่หายไป" ของสุนทรภู่ "รามเกียรติ์" จึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่งปรากฏว่าแต่งได้ดีเป็นที่พอพระทัยจึงทรงพระกรุณาฯ เลื่อนให้เป็นขุนสุนทรโวหารการต่อกลอนของสุนทรภู่คราว


การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เชื่อว่าผลงานที่มีการประพันธ์ขึ้นก่อนสุนทรภู่อายุได้ 20 ( คือก่อนนิราศเมืองแกลง ) เห็นจะได้แก่กลอนนิทานเรื่องโคบุตร
.สุนทรภู่ลอบรักกับนางข้าหลวงในวังหลังคนหนึ่งชื่อแม่จันชะรอยว่าหล่อนจะเป็นบุตรหลานผู้มีตระกูลจึงถูกกรมพระราชวังหลังกริ้วจนถึงให้โบยและจำคุกคนทั้งสองแต่เมื่อกรมพระราชวังหลังเสด็จทิวงคตในปีพ . ศ .2349 จึงมีการอภัยโทษแก่ผู้ถูกลงโทษทั้งหมดถวายเป็นพระราชกุศลหลังจากสุนทรภู่ออกจากคุกก็เดินทางไปหาบิดาที่เมืองแกลงจังหวัดระยองการเดินทางครั้งนี้สุนทรภู่ได้แต่งนิราศเมืองแกลงพรรณนาสภาพการเดินทางต่างๆและลงท้ายเรื่องว่าแต่งมาให้แก่แม่จัน " เป็นขันหมากมิ่งมิตรพิสมัย " ในนิราศได้บันทึกสมณศักดิ์ของบิดาของสุนทรภู่ไว้ด้วยว่าเป็น " พระครูธรรมรังษี " เจ้าอาวาสวัดป่ากร่ำกลับจากเมืองแกลงคราวนี้แต่กลับจากเมืองแกลงเพียงไม่นานสุนทรภู่ต้องติดตามพระองค์เจ้าปฐมวงศ์ในฐานะมหาดเล็กตามเสด็จไปในงานพิธีมาฆบูชาที่ Admiral พระพุทธบาท . . . . สระบุรีเมื่อปีพ . ศ .1 สุนทรภู่ได้แต่งนิราศพระบาทพรรณนาเหตุการณ์ในการเดินทางคราวนี้ด้วย
สุนทรภู่กับแม่จันมีบุตรด้วยกัน 1 คนชื่อหนูพัดได้อยู่ในความอุปการะของเจ้าครอกทองอยู่ส่วนหนุ่มสาวทั้งสองมีเรื่องระหองระแหงกันเสมอจนภายหลังก็เลิกรากันไปหลังจากนิราศพระบาทที่สุนทรภู่แต่งในปีพ . ศ .1 ไม่ปรากฏผลงานใดๆของสุนทรภู่อีกเลยจนกระทั่งเข้ารับราชการในปีพ . ศ . กวีราชสำนัก 1641

สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์เมื่อพ . ศ .1641 ในรัชสมัยรัชกาลที่ 2 มูลเหตุในการได้เข้ารับราชการนี้ไม่ปรากฏแน่ชัดแต่สันนิษฐานว่าอาจแต่งโคลงกลอนได้เป็นที่พอพระทัยทราบถึงพระเนตรพระกรรณจึงทรงเรียกเข้ารับราชการซึ่งปรากฏชุกชุมอยู่ในเวลานั้นอีกแนวคิดหนึ่งสืบเนื่องจาก " ช่วงเวลาที่หายไป " ของสุนทรภู่ซึ่งน่าจะใช้วิชากลอนทำมาหากินเป็นที่รู้จักเลื่องชื่ออยู่ชะรอยจะเป็นเหตุให้ถูกเรียกเข้ารับราชการก็ได้
เมื่อแรกสุนทรภู่รับราชการเป็นอาลักษณ์ปลายแถวมีหน้าที่เฝ้าเวลาทรงพระอักษรเพื่อคอยรับใช้แต่มีเหตุให้ได้แสดงฝีมือกลอนของตัวเมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงแต่งกลอนบทละครในเรื่อง " รามเกียรติ์ "จึงโปรดให้สุนทรภู่ทดลองแต่งปรากฏว่าแต่งได้ดีเป็นที่พอพระทัยจึงทรงพระกรุณาฯเลื่อนให้เป็นขุนสุนทรโวหารการต่อกลอนของสุนทรภู่คราว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: