สมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์ พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่ ๕ และเป็นพระองค์สุดท้าย ได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้าง และเป็นที่รู้จักในนามพระมหากษัตริย์ผู้พยายามกู้เอกราชชาติลาวจากการเป็นประเทศราชของประเทศสยาม จากเอกสารเพ็ชรพื้นเมืองเวียงจันทน์กล่าวว่า ญวณได้แต่งตั้งให้เจ้าราชวงษ์เป็นเจ้าองค์ครองนครเวียงจันทน์ต่อจากพระองค์ พร้อมทั้งมอบราชธิดาพระเจ้ากรุงญวณให้เป็นพระมหาเทวีแด่เจ้าราชวงษ์ด้วย ดังนั้นพระองค์จึงไม่ใช่กษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งนครเวียงจันทน์ นักประวัติศาสตร์ลาวและไทยนิยมออกพระนามพระองค์ว่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๓ แต่นักประวัติศาสตร์บางคนตรวจสอบพระนามจากจารึกต่าง ๆ แล้วได้นับพระองค์เป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๕ เนื่องจากพระเจ้าสิริบุญสาร ผู้เป็นพระราชบิดา และเจ้าอินทวงศ์ผู้เป็นพระเชษฐาได้ออกพระนามของพระองค์ว่า พระเจ้าไชยเชษฐาธิราช ด้วยเช่นกัน จึงนับเป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่ ๓ และที่ ๔ ตามลำดับ สมเด็จเจ้าอนุวงศ์หรือเจ้าอนุรุธราช เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ ๓ ของสมเด็จพระเจ้าสิริบุญสาร (เจ้าองค์บุญ) หรือสมเด็จพระเจ้าไชยเสฏฐาธิราชที่ ๓ พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ลำดับที่ ๔ และพระมหากษัตริย์เอกราชแห่งนครเวียงจันทน์พระองค์สุดท้ายก่อนการยกทัพขึ้นไปตีของเจ้าพระยาจักรีในรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าตากสิน กับพระอัครมเหษีฝ่ายขวา เจ้าอนุวงศ์ทรงได้รับการเฉลิมพระนามเต็มในจารึกประวัติศาสตร์ว่า "สมเด็จบรมบพิตรพระมหาขัติยธิเบศไชยเชษฐา ชาติสุริยวงศ์องค์เอกอัครธิบดินทรบรมมหาธิปติราชาธิราช มหาจักรพรรดิ์ภูมินทรมหาธิปตนสากลไตรภูวนาถ ชาติพะโตวิสุทธิมกุตสาพาราทิปุลอตุลยโพธิสัตว์ขัติย พุทธัง กุโลตรนมหาโสพัสสันโต คัดชลักขรัตถ ราชบุรีสีทัมมาธิราช บรมนาถบรมบพิตร" จากการสถาปนาพระนามนี้สื่อให้เห็นว่า นครเวียงจันทน์มีเจ้าผู้ปกครองแผ่นดินในฐานะพระเจ้าแผ่นดินแห่งกรุงเอกราชมากกว่าที่จะอยู่ในฐานะเมืองขึ้นหรือเมืองส่วยอย่างที่หลายคนเข้าใจ การเฉลิมพระนามต่างๆ ของพระองค์ตามที่ปรากฏในจารึกต่างๆ นั้นพอประมวลได้คือ พระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราช, พระศรีหะตะนุ, พระมหาขัติยธิเบศไชยเชษฐา, พระราชเชษฐา, พระโพธิสาลราชาธิราชเจ้าจักรพรรดิธรรมิกราชาธิราช, พระไชยเชษฐาธิราชชาติสุริยวงศ์องค์อัครธิบดินทร์, พระภูมินทราธิปัติธรรมิกราชาธิราช, พระมหาธรรมิกราชไชยมหาจักรพรรดิ์ เป็นต้น[2]
เจ้าอนุวงศ์มีพระยศเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอกโดยกำเนิด และมีลำดับศักดิ์ในการสืบราชสันตติวงศ์ตามระบบเจ้ายั้งขะหม่อมทั้ง ๔ ของลาวเป็นลำดับที่ ๓ ลำดับพระยศของพระองค์ต่างจากรัชกาลที่ ๓ แห่งกรุงเทพพระมหานคร ซึ่งมีพระยศเป็นพระองค์เจ้าโดยกำเนิด ความสัมพันธ์ของพระองค์กับรัชกาลที่ ๑ และรัชกาลที่ ๒ เป็นไปอย่างสนิทแนบแน่นและเป็นความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติเสมอสถานะของสมเด็จพระนเรศวรเมื่อครั้งประทับในกรุงหงสาวดี ในเอกสารฝ่ายสยามนั้น พระองค์ได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะพระเจ้าแผ่นดินประเทศราชผู้ก่อการขบถต่อแผ่นดินแห่งข้าขอบขัณฑเสมาสยาม [3] ในประชุมพงศาวดารของไทยดูหมิ่นพระเกียรติยศของพระองค์ด้วยการออกนามของพระองค์ว่า "อ้ายอนุ" ส่วนเอกสารฝ่ายลาวและอีสานนั้น พระองค์ได้รับการกล่าวขวัญถึงในฐานะสมเด็จพระมหากษัตริย์มหาราชผู้พยายามปลดแอกชนชาติลาวสู่เอกราช ผู้ประกอบมหคุณูปการด้านการปกครองแก่ประเทศลาวและแผ่นดินภาคอีสานของสยาม[4] ผู้ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในแผ่นดินลาวและอีสาน ทรงเป็นพระหน่อพุทธเจ้า เป็นพระมหากษัตริย์ผู้เปี่ยมด้วยพระราชอำนาจพระราชบารมีอันเป็นที่ครั่นคร้ามและเป็นที่นิยมนับถือต่อบรรดาเจ้านายหัวเมืองลาวต่างๆ ทรงเป็นใหญ่เหนือแผ่นดินลาวใต้อย่างนครจำปาสักและอัตตะปือ ทรงเป็นใหญ่เหนืออีสานกลางอย่างร้อยเอ็ด สุวรรณภูมิ กาฬสินธุ์ ทรงเป็นใหญ่เหนือลาวลุ่มน้ำโขงอย่างนครพนมและมุกดาหาร ทรงเป็นใหญ่เหนือลาวตอนกลางอย่างเมืองวัง ตะโปน ชุมพร และกะปอง และทรงเป็นใหญ่เหนือลาวเหนืออย่างเชียงขวางและหัวเมืองพวน ความสัมพันธ์ของพระองค์กับเจ้าเมืองเหล่านี้เป็นไปในเชิงเครือญาติ ในสมัยของพระองค์ทรงมีเมืองขึ้นจำนวนมากกว่าร้อยหัวเมือง จนเกินกว่าที่จะเรียกนครเวียงจันทน์ว่าเป็นเมืองประเทศราช นอกจากนี้ยังเป็นที่น่าเกรงขามต่อหัวเมืองลาวประเทศราชสยามอย่างนครหลวงพระบาง อุบลราชธานี เขมราฐธานี และหัวเมืองชั้นเอกอย่างนครราชสีมา และพระราชบารมียังเป็นที่ครั่นคร้ามเข้าไปจนถึงหัวเมืองลาวชั้นในของภาคกลางอย่างเมืองสระบุรีด้วยเช่นกัน
หลังเหตุการณ์เผานครเวียงจันทน์ ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางสำคัญของการปกครองหัวเมืองลาว และหลังความพยายามทำลายราชวงศ์เวียงจันทน์ให้สิ้นซากของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) ของสยามนั้น ได้ก่อให้เกิดเหตุการณ์กบฏหัวเมืองลาวอีสานตามมาอีกหลายครั้งสืบเนื่องมาจนปัจจุบัน บ่อยครั้งชาวลาวและชาวอีสานต่างก็นิยมอ้างถึงเหตุการณ์เผาเวียงจันทน์ในอดีต มาเป็นเหตุผลในการต่อสู้กับอำนาจสยามและอำนาจรัฐ เรื่องราวของเจ้าอนุวงศ์ไม่เพียงแต่เป็นฉนวนเหตุความขัดแย้งของประชาชนชาวลาวกับชาวไทยเท่านั้น แต่ยังเป็นฉนวนเหตุให้ชาวไทยอีสานขัดแย้งกับชาวไทยสยาม เป็นฉนวนเหตุให้ชาวอีสานที่นิยมสยามกับชาวอีสานที่นิยมลาวขัดแย้งกันเอง และเป็นฉนวนเหตุให้เกิดการปลุกระดมการแบ่งแยกดินแดนของชาวไทยอีสาน [5] ไม่เพียงเท่านี้ เหตุการณ์เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ยังสามารถถือเป็นทั้งจุดเปราะบางและจุดแตกหักของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศลาวและประเทศไทยอีกด้วย
สมเด็จพระเจ้าอนุวงศ์พระมหากษัตริย์แห่งอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์พระองค์ที่๕และเป็นพระองค์สุดท้ายได้รับการยกย่องว่าเป็นพระมหาวีรกษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างจากเอกสารเพ็ชรพื้นเมืองเวียงจันทน์กล่าวว่าญวณได้แต่งตั้งให้เจ้าราชวงษ์เป็นเจ้าองค์ครองนครเวียงจันทน์ต่อจากพระองค์พร้อมทั้งมอบราชธิดาพระเจ้ากรุงญวณให้เป็นพระมหาเทวีแด่เจ้าราชวงษ์ด้วยนักประวัติศาสตร์ลาวและไทยนิยมออกพระนามพระองค์ว่าพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่แต่นักประวัติศาสตร์บางคนตรวจสอบพระนามจากจารึกต่างแล้วได้นับพระองค์เป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่๕เนื่องจากพระเจ้าสิริบุญสารไม่มีกันและเจ้าอินทวงศ์ผู้เป็นพระเชษฐาได้ออกพระนามของพระองค์ว่าพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชด้วยเช่นกันจึงนับเป็นพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชที่และที่ตามลำดับสมเด็จเจ้าอนุวงศ์หรือเจ้าอนุรุธราชเป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ไปโตเกียวกัน( เจ้าองค์บุญ ) หรือสมเด็จพระเจ้าไชยเสฏฐาธิราชที่พระมหากษัตริย์แห่งราชอาณาจักรล้านช้างเวียงจันทน์ลำดับที่โตเกียวกันกับพระอัครมเหษีฝ่ายขวาเจ้าอนุวงศ์ทรงได้รับการเฉลิมพระนามเต็มในจารึกประวัติศาสตร์ว่า " สมเด็จบรมบพิตรพระมหาขัติยธิเบศไชยเชษฐาชาติสุริยวงศ์องค์เอกอัครธิบดินทรบรมมหาธิปติราชาธิราชชาติพะโตวิสุทธิมกุตสาพาราทิปุลอตุลยโพธิสัตว์ขัติยพุทธังกุโลตรนมหาโสพัสสันโตคัดชลักขรัตถราชบุรีสีทัมมาธิราชบรมนาถบรมบพิตร " จากการสถาปนาพระนามนี้สื่อให้เห็นว่าการเฉลิมพระนามต่างๆของพระองค์ตามที่ปรากฏในจารึกต่างๆพระมหาธรรมิกสีหตบูรราชาธิราชนั้นพอประมวลได้คือ ,พระศรีหะตะนุพระมหาขัติยธิเบศไชยเชษฐาพระราชเชษฐา , , พระโพธิสาลราชาธิราชเจ้าจักรพรรดิธรรมิกราชาธิราชพระไชยเชษฐาธิราชชาติสุริยวงศ์องค์อัครธิบดินทร์พระภูมินทราธิปัติธรรมิกราชาธิราช , , , ,พระมหาธรรมิกราชไชยมหาจักรพรรดิ์เป็นต้น [ 2 ]
เจ้าอนุวงศ์มีพระยศเป็นเจ้าฟ้าชั้นเอกโดยกำเนิดและมีลำดับศักดิ์ในการสืบราชสันตติวงศ์ตามระบบเจ้ายั้งขะหม่อมทั้งโตเกียวของลาวเป็นลำดับที่ลำดับพระยศของพระองค์ต่างจากรัชกาลที่แห่งกรุงเทพพระมหานครล่ะกันความสัมพันธ์ของพระองค์กับรัชกาลที่๑และรัชกาลที่๒เป็นไปอย่างสนิทแนบแน่นและเป็นความสัมพันธ์ในเชิงเครือญาติเสมอสถานะของสมเด็จพระนเรศวรเมื่อครั้งประทับในกรุงหงสาวดีในเอกสารฝ่ายสยามนั้น[ 3 ] ในประชุมพงศาวดารของไทยดูหมิ่นพระเกียรติยศของพระองค์ด้วยการออกนามของพระองค์ว่า " อ้ายอนุ " ส่วนเอกสารฝ่ายลาวและอีสานนั้นผู้ประกอบมหคุณูปการด้านการปกครองแก่ประเทศลาวและแผ่นดินภาคอีสานของสยาม [ 4 ] ผู้ทรงทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในแผ่นดินลาวและอีสานทรงเป็นพระหน่อพุทธเจ้าทรงเป็นใหญ่เหนือแผ่นดินลาวใต้อย่างนครจำปาสักและอัตตะปือทรงเป็นใหญ่เหนืออีสานกลางอย่างร้อยเอ็ดสุวรรณภูมิกาฬสินธุ์ทรงเป็นใหญ่เหนือลาวลุ่มน้ำโขงอย่างนครพนมและมุกดาหารตะโปนชุมพรและกะปองและทรงเป็นใหญ่เหนือลาวเหนืออย่างเชียงขวางและหัวเมืองพวนความสัมพันธ์ของพระองค์กับเจ้าเมืองเหล่านี้เป็นไปในเชิงเครือญาติในสมัยของพระองค์ทรงมีเมืองขึ้นจำนวนมากกว่าร้อยหัวเมืองนอกจากนี้ยังเป็นที่น่าเกรงขามต่อหัวเมืองลาวประเทศราชสยามอย่างนครหลวงพระบางอุบลราชธานีเขมราฐธานีและหัวเมืองชั้นเอกอย่างนครราชสีมา
หลังเหตุการณ์เผานครเวียงจันทน์ซึ่งถือเป็นศูนย์กลางสำคัญของการปกครองหัวเมืองลาวและหลังความพยายามทำลายราชวงศ์เวียงจันทน์ให้สิ้นซากของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ( รัชกาลที่ล่ะ ) ของสยามนั้นบ่อยครั้งชาวลาวและชาวอีสานต่างก็นิยมอ้างถึงเหตุการณ์เผาเวียงจันทน์ในอดีตมาเป็นเหตุผลในการต่อสู้กับอำนาจสยามและอำนาจรัฐแต่ยังเป็นฉนวนเหตุให้ชาวไทยอีสานขัดแย้งกับชาวไทยสยามเป็นฉนวนเหตุให้ชาวอีสานที่นิยมสยามกับชาวอีสานที่นิยมลาวขัดแย้งกันเองและเป็นฉนวนเหตุให้เกิดการปลุกระดมการแบ่งแยกดินแดนของชาวไทยอีสาน [ 5 ]เหตุการณ์เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทน์ยังสามารถถือเป็นทั้งจุดเปราะบางและจุดแตกหักของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศลาวและประเทศไทยอีกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
