ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็นคุณสมบัติที่มีควบคู่มากับมนุษย์ทุกค การแปล - ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็นคุณสมบัติที่มีควบคู่มากับมนุษย์ทุกค ไทย วิธีการพูด

ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็น

ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็นคุณสมบัติที่มีควบคู่มากับมนุษย์ทุกคน เราทุกคนสามารถใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ทัศนะคติ และประสบการณ์ต่างๆ ได้ แต่น้อยคนนักที่จะตั้งคำถามและตระหนักถึงความสามารถนี้ นักภาษาศาสตร์เป็นบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ตระหนักถึงความสามารถในการใช้ภาษาของมนุษย์ และพยายามที่จะศึกษาคุณสมบัติของภาษาในฐานะที่เป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ในสังคมใช้เพื่อสื่อสารกัน

ภาษาศาสตร์ไม่ใช่วิชาที่มุ่งศึกษาทักษะการใช้ภาษาต่างๆ แต่เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาลักษณะของภาษาโดยอาศัยหลักทฤษฎีและวิธีการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์ ภาษาศาสตร์มองว่าภาษาคือกิจกรรมทางสังคมที่มนุษย์มีร่วมกัน ถึงแม้ว่าภาษาไทยกับภาษาอังกฤษจะดูแตกต่างกันในสายตาของคนทั่วไป แต่สำหรับนักภาษาศาสตร์แล้ว ทั้งสองภาษานี้มีทั้งความเหมือนและความต่าง เช่นเดียวกับภาษาอื่นๆ ในโลก
การศึกษาภาษาศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 แขนงหลัก กล่าวคือ ภาษาศาสตร์ทั่วไป (Pure Linguistics) และภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)
1. ภาษาศาสตร์ทั่วไป (Pure Linguistics) เป็นการศึกษาลักษณะทั่วไปของภาษาในมิติที่ไม่ได้ถูกเชื่อมโยงไปสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้ นักภาษาศาสตร์แบ่งการศึกษาภาษาออกเป็นระดับต่างๆ ได้แก่ ระดับเสียง ระดับคำ ระดับวากยสัมพันธ์ ระดับความหมาย นอกจากนี้ภาษาศาสตร์ยังแบ่งการศึกษาภาษาเป็น 2 กลุ่มในมุมมองที่สัมพันธ์กับกาลเวลาคือ การศึกษาลักษณะของภาษา ณ จุดของเวลาใดเวลาหนึ่ง (Synchronic) และการศึกษาลักษณะของภาษาตามการเปลี่ยนแปลงของเวลา (Diachronic)
2. ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics) เป็นการศึกษาภาษาในมุมมองที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้ สามารถนำมาผนวกเข้ากับการศึกษาภาษาศาสตร์ ซึ่งนำไปสู่การศึกษาภาษาศาสตร์ประยุกต์มีมากมายเช่น สังคมวิทยา มานุษยวิทยา จิตวิทยา ครุศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ประสาทวิทยา เป็นต้น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็นคุณสมบัติที่มีควบคู่มากับมนุษย์ทุกคนเราทุกคนสามารถใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้ความคิดทัศนะคติและประสบการณ์ต่าง ๆ ได้แต่น้อยคนนักที่จะตั้งคำถามและตระหนักถึงความสามารถนี้นักภาษาศาสตร์เป็นบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ตระหนักถึงความสามารถในการใช้ภาษาของมนุษย์และพยายามที่จะศึกษาคุณสมบัติของภาษาในฐานะที่เป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ในสังคมใช้เพื่อสื่อสารกัน ภาษาศาสตร์ไม่ใช่วิชาที่มุ่งศึกษาทักษะการใช้ภาษาต่าง ๆ แต่เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาลักษณะของภาษาโดยอาศัยหลักทฤษฎีและวิธีการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์ภาษาศาสตร์มองว่าภาษาคือกิจกรรมทางสังคมที่มนุษย์มีร่วมกันถึงแม้ว่าภาษาไทยกับภาษาอังกฤษจะดูแตกต่างกันในสายตาของคนทั่วไปแต่สำหรับนักภาษาศาสตร์แล้วทั้งสองภาษานี้มีทั้งความเหมือนและความต่างเช่นเดียวกับภาษาอื่น ๆ ในโลก การศึกษาภาษาศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 แขนงหลักกล่าวคือและภาษาศาสตร์ประยุกต์ภาษาศาสตร์ทั่วไป (ภาษาศาสตร์บริสุทธิ์) (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) 1. ภาษาศาสตร์ทั่วไป (ภาษาศาสตร์บริสุทธิ์) เป็นการศึกษาลักษณะทั่วไปของภาษาในมิติที่ไม่ได้ถูกเชื่อมโยงไปสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้นักภาษาศาสตร์แบ่งการศึกษาภาษาออกเป็นระดับต่าง ๆ ได้แก่ระดับเสียงระดับคำระดับวากยสัมพันธ์ระดับความหมายนอกจากนี้ภาษาศาสตร์ยังแบ่งการศึกษาภาษาเป็น 2 กลุ่มในมุมมองที่สัมพันธ์กับกาลเวลาคือการศึกษาลักษณะของภาษาณจุดของเวลาใดเวลาหนึ่ง (Synchronic) และการศึกษาลักษณะของภาษาตามการเปลี่ยนแปลงของเวลา (Diachronic) 2. ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) เป็นการศึกษาภาษาในมุมมองที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้สามารถนำมาผนวกเข้ากับการศึกษาภาษาศาสตร์ซึ่งนำไปสู่การศึกษาภาษาศาสตร์ประยุกต์มีมากมายเช่นสังคมวิทยามานุษยวิทยาจิตวิทยาครุศาสตร์คอมพิวเตอร์ประสาทวิทยาเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ความคิดทัศนะคติและประสบการณ์ต่างๆได้ แต่สำหรับนักภาษาศาสตร์แล้ว เช่นเดียวกับภาษาอื่น ๆ 2 แขนงหลักกล่าวคือภาษาศาสตร์ทั่วไป (ภาษาศาสตร์บริสุทธิ์) และภาษาศาสตร์ประยุกต์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) 1 ภาษาศาสตร์ทั่วไป (Pure ภาษาศาสตร์) ได้แก่ ระดับเสียงระดับคำระดับวากยสัมพันธ์ระดับความหมาย 2 การศึกษาลักษณะของภาษา ณ จุดของเวลาใดเวลาหนึ่ง (ซิงโคร) (ประวัติศาสตร์) 2 ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (ภาษาศาสตร์ประยุกต์) สังคมวิทยามานุษยวิทยาจิตวิทยาครุศาสตร์คอมพิวเตอร์ประสาทวิทยาเป็นต้น




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ความสามารถในการพูดและเข้าใจภาษาเป็นคุณสมบัติที่มีควบคู่มากับมนุษย์ทุกคนเราทุกคนสามารถใช้ภาษาในการถ่ายทอดความรู้ความคิดทัศนะคติและประสบการณ์ต่างๆได้นักภาษาศาสตร์เป็นบุคคลกลุ่มหนึ่งที่ตระหนักถึงความสามารถในการใช้ภาษาของมนุษย์และพยายามที่จะศึกษาคุณสมบัติของภาษาในฐานะที่เป็นระบบสัญลักษณ์ที่มนุษย์ในสังคมใช้เพื่อสื่อสารกัน

ภาษาศาสตร์ไม่ใช่วิชาที่มุ่งศึกษาทักษะการใช้ภาษาต่างๆแต่เป็นวิชาที่ว่าด้วยการศึกษาลักษณะของภาษาโดยอาศัยหลักทฤษฎีและวิธีการวิจัยที่เป็นวิทยาศาสตร์ถึงแม้ว่าภาษาไทยกับภาษาอังกฤษจะดูแตกต่างกันในสายตาของคนทั่วไปแต่สำหรับนักภาษาศาสตร์แล้วทั้งสองภาษานี้มีทั้งความเหมือนและความต่างเช่นเดียวกับภาษาอื่นๆในโลก
การศึกษาภาษาศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 แขนงหลักกล่าวคือภาษาศาสตร์ทั่วไป ( ภาษาศาสตร์บริสุทธิ์ ) และภาษาศาสตร์ประยุกต์ ( ภาษาศาสตร์ประยุกต์ )
1ภาษาศาสตร์ทั่วไป ( ภาษาศาสตร์บริสุทธิ์ ) เป็นการศึกษาลักษณะทั่วไปของภาษาในมิติที่ไม่ได้ถูกเชื่อมโยงไปสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้นักภาษาศาสตร์แบ่งการศึกษาภาษาออกเป็นระดับต่างๆได้แก่ระดับคำระดับวากยสัมพันธ์ระดับความหมายนอกจากนี้ภาษาศาสตร์ยังแบ่งการศึกษาภาษาเป็น 2 กลุ่มในมุมมองที่สัมพันธ์กับกาลเวลาคือการศึกษาลักษณะของภาษาณจุดของเวลาใดเวลาหนึ่ง ( synchronic )( จุดมุ่งหมาย )
2 .ภาษาศาสตร์ประยุกต์ ( ภาษาศาสตร์ประยุกต์ ) เป็นการศึกษาภาษาในมุมมองที่สัมพันธ์กับสาขาวิชาอื่นเพื่อวัตถุประสงค์ในการประยุกต์ใช้สามารถนำมาผนวกเข้ากับการศึกษาภาษาศาสตร์สังคมวิทยามานุษยวิทยาจิตวิทยาครุศาสตร์คอมพิวเตอร์ประสาทวิทยาเป็นต้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: