การวิจัยนี้ศึกษาแบบ Cross - sectional analytical study design เพื่อศึก การแปล - การวิจัยนี้ศึกษาแบบ Cross - sectional analytical study design เพื่อศึก ไทย วิธีการพูด

การวิจัยนี้ศึกษาแบบ Cross - section

การวิจัยนี้ศึกษาแบบ Cross - sectional analytical study design เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อต่อคุณภาพการรายงานการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติของสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบล จังหวัดศรีสะเกษ ประชากร คือ สมาชิก SRRT ระดับตำบล อำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ ที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการเฝ้าระวังเหตุการณ์ตามมาตรฐานหลักสูตรสำนักระบาดวิทยา และ ขึ้นทะเบียนฐานข้อมูลเครือข่าย SRRT ตำบล สำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยวิธี AIPE ได้ขนาดตัวอย่าง ๒๐๗ คน หาตัวอย่างด้วยวิธี Proportional stratified random sampling และ Systematic random sampling เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินคุณภาพของเครื่องมือทั้งความตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่น
ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง (ร้อยละ 60.7) อายุระหว่าง 33 - 47 ปี (ร้อยละ 58.0) สถานภาพสมรส (ร้อยละ 82.2) จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 44.4) รายได้น้อยกว่า 5,000 บาท/เดือน (ร้อยละ 55.6) มีประสบการณ์ทำงานด้านสาธารณสุข 5 - 10 ปี (ร้อยละ 32.3) และส่วนใหญ่มีบทบาททางสังคม คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ร้อยละ 78.6 มีระดับความรู้เรื่องการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ ระดับแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับการรับรู้การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ และ ระดับการปฏิบัติเรื่องการรับแจ้งข่าวรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ มากกว่าร้อยละ ๘๐.๐ คิดเป็นร้อยละ ๘๙.๗, ๖๙.๙ และ ๘๔.๘ เมื่อประเมินผลคุณภาพของจำนวนการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติ มีความถูกต้อง ร้อยละ ๖๖.๗ ทันเวลา ร้อยละ๕๘.๓ ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพด้านความถูกต้อง พบว่า เพศและระดับการศึกษา ด้านความทันเวลา พบว่า เพศ เท่านั้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติ สำหรับการวิเคราะห์ Multivariable logistic regression พบว่า ความถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่ เพศ (OR=0.4, 95%CI=0.23-0.89,p-value=0.021)ระดับการศึกษามัธยมศึกษา(OR=2.26,95%CI=1.16-4.40,p-value=0.017) มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob>chi2=0.0091 ความทันเวลามากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่ รายได้ 5,001-10,000บาท/เดือน (OR=0.24, 95%CI=0.09-0.62,p-value=0.004) มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob>chi=0.0032
ดังนั้น สมาชิกทีม SRRT ระดับตำบล ยังมีการรับรู้เรื่องการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติระดับต่ำกว่าร้อยละ ๘๐.๐ หากต้องการให้มีความถูกต้องและทันเวลา ควรคำนึง เพศ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน ซึ่งเป็นปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพการรายงานการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติของสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบล จังหวัดศรีสะเกษ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยนี้ศึกษาแบบครอส - ตัดการศึกษาวิเคราะห์ออกแบบเพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อต่อคุณภาพการรายงานการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติของสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบลจังหวัดศรีสะเกษประชากรคือสมาชิก SRRT ระดับตำบลอำเภอห้วยทับทันจังหวัดศรีสะเกษที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการเฝ้าระวังเหตุการณ์ตามมาตรฐานหลักสูตรสำนักระบาดวิทยาและขึ้นทะเบียนฐานข้อมูลเครือข่าย SRRT ตำบลสำนักระบาดวิทยากระทรวงสาธารณสุขคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยวิธี AIPE ได้ขนาดตัวอย่าง ๒๐๗ คนหาตัวอย่างด้วยวิธีสัดส่วน stratified สุ่มสุ่มตัวอย่างและระบบสุ่มสุ่มเก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินคุณภาพของเครื่องมือทั้งความตรงเชิงเนื้อหาและความเชื่อมั่นผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง (ร้อยละ 60.7) อายุระหว่าง 33-47 ปี (ร้อยละ 58.0) สถานภาพสมรส (ร้อยละ 82.2) จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 44.4) รายได้น้อยกว่า 5000 บาท/เดือน (ร้อยละ 55.6) มีประสบการณ์ทำงานด้านสาธารณสุขและส่วนใหญ่มีบทบาททางสังคม 5-10 ปี (ร้อยละ 32.3) คืออาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ร้อยละ 78.6 มีระดับความรู้เรื่องการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติระดับแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพเกี่ยวกับการรับรู้การรายงานเหตุการณ์ผิดปกติและระดับการปฏิบัติเรื่องการรับแจ้งข่าวรายงานเหตุการณ์ผิดปกติมากกว่าร้อยละ๘๐.๐คิดเป็นร้อยละ๘๙.๗ ๖๙.๙และ๘๔.๘เมื่อประเมินผลคุณภาพของจำนวนการรายงานเหตุการณ์ผิดปกติมีความถูกต้องร้อยละ๖๖.๗ทันเวลาร้อยละ๕๘.๓ส่วนการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพด้านความถูกต้องพบว่าเพศและระดับการศึกษาด้านความทันเวลาพบว่าเพศเท่านั้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก Multivariable พบว่าความถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่เพศ (หรือ = 0.4, 95%CI=0.23-0.89,p-value=0.021)ระดับการศึกษามัธยมศึกษา(OR=2.26,95%CI=1.16-4.40,p-value=0.017) มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob > chi2 = 0.0091 ความทันเวลามากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่รายได้ 5,001-10, 000บาท/เดือน (หรือ = 0.24, 95%CI=0.09-0.62,p-value=0.004) มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob > ชี = 0.0032ดังนั้นสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบลยังมีการรับรู้เรื่องการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติระดับต่ำกว่าร้อยละ๘๐.๐หากต้องการให้มีความถูกต้องและทันเวลาควรคำนึงเพศระดับการศึกษารายได้ต่อเดือนซึ่งเป็นปัจจัยส่งผลต่อคุณภาพการรายงานการเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติของสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบลจังหวัดศรีสะเกษ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การวิจัยนี้ศึกษาแบบครอส - การออกแบบการศึกษาวิเคราะห์ขวาง SRRT ระดับตำบลจังหวัดศรีสะเกษประชากรคือสมาชิก SRRT ระดับตำบลอำเภอห้วยทับทันจังหวัดศรีสะเกษ และขึ้นทะเบียนฐานข้อมูลเครือข่าย SRRT ตำบลสำนักระบาดวิทยากระทรวงสาธารณสุขคำนวณขนาดตัวอย่างด้วยวิธี AIPE ได้ขนาดตัวอย่าง 207 คนหาตัวอย่างด้วยวิธีปกติสุ่มแบบแบ่งชั้นและระบบการสุ่ม
พบว่าส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างเพศหญิง (ร้อยละ 60.7) อายุระหว่าง 33-47 ปี (ร้อยละ 58.0) สถานภาพสมรส (ร้อยละ 82.2) จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 44.4) รายได้น้อยกว่า 5,000 บาท / เดือน (ร้อยละ 55.6) มีประสบการณ์ทำงานด้านสาธารณสุข 5 - 10 ปี (ร้อยละ 32.3) และส่วนใหญ่มีบทบาททางสังคมคือ ร้อยละ 78.6 และ มากกว่าร้อยละ 80.0 คิดเป็นร้อยละ 89.7, 69.9 และ 84.8 มีความถูกต้องร้อยละ 66.7 ทันเวลาร้อยละ 58.3 พบว่าเพศและระดับการศึกษาด้านความทันเวลาพบว่าเพศเท่านั้นที่มีนัยสำคัญทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์หลายตัวแปรถดถอยโลจิสติกพบว่าความถูกต้องมากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่ เพศ (OR = 0.4 มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob> chi2 = 0.0091 ความทันเวลามากกว่าร้อยละ 80.0 ได้แก่ รายได้ 5,001-10,000 บาท / เดือน (OR = 0.24, 95% CI = 0.09-0.62, p-value = 0.004) มีนัยสำคัญทางสถิติ Prob> ไค = 0.0032
ดังนั้นสมาชิกทีม SRRT ระดับตำบล 80.0 ควรคำนึงเพศระดับการศึกษารายได้ต่อเดือน SRRT ระดับตำบลจังหวัดศรีสะเกษ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: