มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทาย เวลาพบปะกันหรือลาจากกัน “การไหว้” เป การแปล - มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทาย เวลาพบปะกันหรือลาจากกัน “การไหว้” เป ไทย วิธีการพูด

มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทาย เ

มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทาย เวลาพบปะกันหรือลาจากกัน “การไหว้” เป็นการแสดงถึงความมีสัมมาคารวะ และการให้เกียรติซึ่งกันและกัน นอกเหนือจากการกล่าวคำว่า “สวัสดี” แล้วยังแสดงออกถึงความหมาย “การขอบคุณ” และ “การขอโทษ” การ ไหว้เป็นการแสดงมิตรภาพ มิตรไมตรี ที่เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ซึ่งนับวันจะค่อย ๆ เลือนลางออกไปจากสังคมไทย ด้วยเยาวชนไทยส่วนใหญ่ รับเอาวัฒนธรรมต่างชาติมายึดถือปฏิบัติ เช่น การทักทายกันด้วยการจับมือ ด้วยการผงกหัวหรือพยักหน้าต้อนรับกัน โดยปกติความอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นวัฒนธรรมไทยที่แสดงความเคารพด้วยการไหว้ผู้อาวุโส หรือการรับไหว้ผู้อาวุโสน้อย ปัจจุบันกลายเป็นวัฒนธรรมที่เกิดเฉพาะกลุ่ม แทนที่จะเป็นวัฒนธรรมในสังคมของคนทุกชนชั้น
วยสาเหตุที่เยาวชนไทย มองข้ามวัฒนธรรมไทยที่ดีงามถูกต้อง มารยาทในสังคมไทยจึงผิดเพี้ยนไป สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้จัดการเผยแพร่ความรู้เรื่องมารยาทไทยอย่างต่อเนื่อง และได้หยิบยกมารยาทในการพบปะสมาคม ในสังคมที่สำคัญมีดังนี้

1. การรู้จักวางตน ต้อง เป็นคนมีความอดทน มีความสงบเสงี่ยม ไม่แสดงกิริยาก้าวร้าว อวดรู้ อวดฉลาด อวดมั่งมี และไม่ควรตีตัวเสมอผู้ใหญ่ แม้ว่าจะสนิทสนมหรือคุ้นเคยกันสักปานใดก็ตาม

2. การรู้จักประมาณตน มี ธรรมของคนดี 7 ได้แก่ รู้จัก เหตุผล ตน ประมาณ กาล ชุมชน และบุคคล โดยไม่ทำตัวเองให้เด่น เรียกร้องให้คนอื่นสนใจ หรือสร้างจุดสนใจในตัวเรามากเกินไป ตัวอย่าง คำเตือนของหลวงวิจิตรวาทการที่กล่าวไว้ว่า “จงทำดีแต่อย่าเด่นจะเป็นภัย ไม่มีใครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน”

3. การรู้จักการพูดจา ต้อง ไม่ทักทายปราศรัยกับคนด้วยคำพูด ที่จะทำให้คนเขาเกิดความอับอายในสังคม และไม่คุยเสียงดัง หรือยักคิ้วหลิ่วตาทำท่าทางประกอบจนทำให้เสียบุคลิกภาพได้

4. การรู้จักควบคุมอารมณ์ คือ รู้จักข่มจิตของตน ไม่ใช่อารมณ์รุนแรง เพื่อไม่ให้ล่วงสิ่งที่ไม่ควรล่วง ได้แก่ การข่มราคะ โทสะ โมหะ ไม่ให้กำเริบเป็นคุณลักษณะที่สำคัญ อย่างหนึ่ง คือ รู้จักข่มอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ทำลายข้าวของ ไม่พูด และแสดงกิริยาประชดประชัน หรือส่อเสียด

5. การสำรวมกิริยาเมื่อเดินผ่านผู้ใหญ่ ขณะ ที่เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มตัวพองาม หรือหากผู้ใหญ่กำลังเดินไม่ควรวิ่งตัดหน้า ควรหยุดให้ผู้ใหญ่เดินไปก่อน หรือไม่ควรเดินผ่านกลางขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดกัน

6. การรู้จักควบคุมอิริยาบถ ถือเป็นคุณสมบัติที่ดี เช่น เมื่อเราได้ยินเสียงเพลงก็ไม่ควรเขย่าตัว กระดิกเท้า หรือเคาะจังหวะโดยไม่เลือกสถานที่ ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นอาการของคนที่ไม่ควบคุมอิริยาบถ และไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ

7. ความมีน้ำใจไมตรีอันดีต่อกัน การ อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขด้วยความรักและเข้าใจกัน ควรมีความเอื้ออาทร มีน้ำใจไมตรีต่อกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน มีความเห็นอกเห็นใจ เอาใจใส่ทุกข์สุขของผู้เกี่ยวข้อง มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน ที่สำคัญคือมีน้ำใจในการช่วยเหลือ หรือช่วยทำประโยชน์ให้แก่สังคม

8. การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นคุณธรรมชั้นสูงของการอยู่ร่วมกันในสังคม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์มีอุดมการณ์สำคัญคือ “การช่วยเหลือผู้อื่น” พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเป็นปัจฉิมโอวาท ความว่า “จงยังประโยชน์ตน และประโยชน์ผู้อื่นด้วยความไม่ประมาทเถิด” การ ยังประโยชน์แก่ผู้อื่น ก็คือ การช่วยเหลือผู้อื่น หรือการปฏิบัติเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น เพื่อประโยชน์ส่วนรวม สังคมจะมีสันติสุข คือ มีความสงบสุข ถ้าบุคคลในสังคมรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม


ลักษณะการแสดงความเคารพด้วยการไหว้ ที่เป็นมารยาทในสังคมที่ควรปฏิบัติกัน คือ

- การประนมมือ (อัญชลี) เป็น การแสดงความเคารพ โดยการประนมมือให้นิ้วมือทั้งสองข้างชิดกัน ฝ่ามือทั้งสองประกบเสมอกันแนบหว่างอก ปลายนิ้วเฉียงขึ้นพอประมาณ แขนแนบตัวไม่กางศอก ทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การประนมมือนี้ ใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา ขณะสนทนากับพระสงฆ์ รับพรจากผู้ใหญ่ แสดงความเคารพผู้เสมอกัน และรับความเคารพจากผู้อ่อนอาวุโสกว่า เป็นต้น

- การไหว้ (วันทนา) เป็นการแสดงความเคารพ โดยการประนมมือ แล้วยกมือทั้งสองขึ้นจรดใบหน้าให้เห็นว่า เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูง การไหว้แบบไทย แบ่งออกเป็น 3 แบบ ตามระดับของบุคคล

- ระดับที่ 1 การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมทั้งปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ในกรณีที่ไม่สามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ได้ โดยประนมมือแล้วยกขึ้น พร้อมกับค้อมศีรษะลง ให้หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว ปลายนิ้วแนบส่วนบนของหน้าผาก

- ระดับที่ 2 การไหว้ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพนับถือ โดยประนมมือ แล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลง ให้หัวแม่มือจรดปลายจมูก ปลายนิ้วแนบระหว่างคิ้ว

- ระดับที่ 3 การไหว้บุคคลทั่ว ๆ ไป ที่เคารพนับถือหรือผู้มีอาวุโสสูงกว่าเล็กน้อย โดยประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดปลายคาง ปลายนิ้วแนบปลายจมูก
อนึ่ง สำหรับ หญิงการไหว้ทั้ง 3 ระดับ อาจจะถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งตามถนัดไปข้างหลังครึ่งก้าว แล้วย่อเข่าลงพอสมควรพร้อมกับยกมือขึ้นไหว้ก็ได้

โดยปกติวัฒนธรรมการไหว้เป็นวิถี ชีวิต ที่ถูกปลูกฝังให้รู้จักกาลเทศะ รู้จักการเคารพผู้อาวุโส กตัญญูรู้บุญคุณ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีมารยาทในสังคมดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะในเรื่องการเคารพผู้อาวุโส ต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตน การแสดงความเคารพในโอกาสต่าง ๆ การรู้จักจัดลำดับการวางตนที่ถูกต้อง ตามประเพณีที่วางเอาไว้ ทำให้เกิดความสงบสุขในสังคม เพราะการปฏิบัติขัดกับประเพณีที่วางไว้ จะทำให้เกิดความขัดแย้ง ขัดเคืองความรู้สึกซึ่งกันและกัน การมีกฎเกณฑ์มารยาทในสังคม เป็นบรรทัดฐานให้บุคคลดำเนินชีวิตได้อย่างสันติสุข
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทายเวลาพบปะกันหรือลาจากกัน "การไหว้" เป็นการแสดงถึงความมีสัมมาคารวะและการให้เกียรติซึ่งกันและกันนอกเหนือจากการกล่าวคำว่า "สวัสดี" แล้วยังแสดงออกถึงความหมาย "การขอบคุณ" และ "การขอโทษ" ตามหลักไหว้เป็นการแสดงมิตรภาพมิตรไมตรีที่เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามซึ่งนับวันจะค่อยๆ เลือนลางออกไปจากสังคมไทยด้วยเยาวชนไทยส่วนใหญ่รับเอาวัฒนธรรมต่างชาติมายึดถือปฏิบัติเช่นการทักทายกันด้วยการจับมือด้วยการผงกหัวหรือพยักหน้าต้อนรับกันโดยปกติความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นวัฒนธรรมไทยที่แสดงความเคารพด้วยการไหว้ผู้อาวุโสหรือการรับไหว้ผู้อาวุโสน้อยปัจจุบันกลายเป็นวัฒนธรรมที่เกิดเฉพาะกลุ่มแทนที่จะเป็นวัฒนธรรมในสังคมของคนทุกชนชั้นวยสาเหตุที่เยาวชนไทยมองข้ามวัฒนธรรมไทยที่ดีงามถูกต้องมารยาทในสังคมไทยจึงผิดเพี้ยนไปสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้จัดการเผยแพร่ความรู้เรื่องมารยาทไทยอย่างต่อเนื่องและได้หยิบยกมารยาทในการพบปะสมาคมในสังคมที่สำคัญมีดังนี้ 1. การรู้จักวางตนต้องเป็นคนมีความอดทนมีความสงบเสงี่ยมไม่แสดงกิริยาก้าวร้าวอวดรู้อวดฉลาดอวดมั่งมีและไม่ควรตีตัวเสมอผู้ใหญ่แม้ว่าจะสนิทสนมหรือคุ้นเคยกันสักปานใดก็ตาม2. การรู้จักประมาณตนมีธรรมของคนดี 7 ได้แก่รู้จักเหตุผลตนประมาณกาลชุมชนและบุคคลโดยไม่ทำตัวเองให้เด่นเรียกร้องให้คนอื่นสนใจหรือสร้างจุดสนใจในตัวเรามากเกินไปตัวอย่างคำเตือนของหลวงวิจิตรวาทการที่กล่าวไว้ว่า "จงทำดีแต่อย่าเด่นจะเป็นภัยไม่มีใครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน" 3. การรู้จักการพูดจาต้องไม่ทักทายปราศรัยกับคนด้วยคำพูดที่จะทำให้คนเขาเกิดความอับอายในสังคมและไม่คุยเสียงดังหรือยักคิ้วหลิ่วตาทำท่าทางประกอบจนทำให้เสียบุคลิกภาพได้4. การรู้จักควบคุมอารมณ์คือรู้จักข่มจิตของตนไม่ใช่อารมณ์รุนแรงเพื่อไม่ให้ล่วงสิ่งที่ไม่ควรล่วงได้แก่การข่มราคะโทสะโมหะไม่ให้กำเริบเป็นคุณลักษณะที่สำคัญอย่างหนึ่งคือรู้จักข่มอารมณ์ต่างๆ ไม่ทำลายข้าวของไม่พูดและแสดงกิริยาประชดประชันหรือส่อเสียด5. การสำรวมกิริยาเมื่อเดินผ่านผู้ใหญ่ขณะที่เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มตัวพองามหรือหากผู้ใหญ่กำลังเดินไม่ควรวิ่งตัดหน้าควรหยุดให้ผู้ใหญ่เดินไปก่อนหรือไม่ควรเดินผ่านกลางขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดกัน6. การรู้จักควบคุมอิริยาบถ ถือเป็นคุณสมบัติที่ดี เช่น เมื่อเราได้ยินเสียงเพลงก็ไม่ควรเขย่าตัว กระดิกเท้า หรือเคาะจังหวะโดยไม่เลือกสถานที่ ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้ ถือว่าเป็นอาการของคนที่ไม่ควบคุมอิริยาบถ และไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ7. ความมีน้ำใจไมตรีอันดีต่อกัน การ อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุขด้วยความรักและเข้าใจกัน ควรมีความเอื้ออาทร มีน้ำใจไมตรีต่อกัน มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กัน มีความเห็นอกเห็นใจ เอาใจใส่ทุกข์สุขของผู้เกี่ยวข้อง มุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน ที่สำคัญคือมีน้ำใจในการช่วยเหลือ หรือช่วยทำประโยชน์ให้แก่สังคม8. การช่วยเหลือผู้อื่น เป็นคุณธรรมชั้นสูงของการอยู่ร่วมกันในสังคม ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์มีอุดมการณ์สำคัญคือ “การช่วยเหลือผู้อื่น” พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเป็นปัจฉิมโอวาท ความว่า “จงยังประโยชน์ตน และประโยชน์ผู้อื่นด้วยความไม่ประมาทเถิด” การ ยังประโยชน์แก่ผู้อื่น ก็คือ การช่วยเหลือผู้อื่น หรือการปฏิบัติเพื่อประโยชน์แก่ผู้อื่น เพื่อประโยชน์ส่วนรวม สังคมจะมีสันติสุข คือ มีความสงบสุข ถ้าบุคคลในสังคมรู้จักการช่วยเหลือผู้อื่น มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวมลักษณะการแสดงความเคารพด้วยการไหว้ ที่เป็นมารยาทในสังคมที่ควรปฏิบัติกัน คือ- การประนมมือ (อัญชลี) เป็น การแสดงความเคารพ โดยการประนมมือให้นิ้วมือทั้งสองข้างชิดกัน ฝ่ามือทั้งสองประกบเสมอกันแนบหว่างอก ปลายนิ้วเฉียงขึ้นพอประมาณ แขนแนบตัวไม่กางศอก ทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกัน การประนมมือนี้ ใช้ในการสวดมนต์ ฟังพระสวดมนต์ ฟังพระธรรมเทศนา ขณะสนทนากับพระสงฆ์ รับพรจากผู้ใหญ่ แสดงความเคารพผู้เสมอกัน และรับความเคารพจากผู้อ่อนอาวุโสกว่า เป็นต้น- การไหว้ (วันทนา) เป็นการแสดงความเคารพ โดยการประนมมือ แล้วยกมือทั้งสองขึ้นจรดใบหน้าให้เห็นว่า เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูง การไหว้แบบไทย แบ่งออกเป็น 3 แบบ ตามระดับของบุคคล - ระดับที่ 1 การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ รวมทั้งปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ในกรณีที่ไม่สามารถกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ได้ โดยประนมมือแล้วยกขึ้น พร้อมกับค้อมศีรษะลง ให้หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้ว ปลายนิ้วแนบส่วนบนของหน้าผาก - ระดับที่ 2 การไหว้ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส ได้แก่ ปู่ ย่า ตา ยาย พ่อ แม่ ครู อาจารย์ และผู้ที่เราเคารพนับถือ โดยประนมมือ แล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลง ให้หัวแม่มือจรดปลายจมูก ปลายนิ้วแนบระหว่างคิ้ว- ระดับที่ 3 การไหว้บุคคลทั่ว ๆ ไป ที่เคารพนับถือหรือผู้มีอาวุโสสูงกว่าเล็กน้อย โดยประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดปลายคาง ปลายนิ้วแนบปลายจมูก อนึ่ง สำหรับ หญิงการไหว้ทั้ง 3 ระดับ อาจจะถอยเท้าข้างใดข้างหนึ่งตามถนัดไปข้างหลังครึ่งก้าว แล้วย่อเข่าลงพอสมควรพร้อมกับยกมือขึ้นไหว้ก็ได้ โดยปกติวัฒนธรรมการไหว้เป็นวิถี ชีวิต ที่ถูกปลูกฝังให้รู้จักกาลเทศะ รู้จักการเคารพผู้อาวุโส กตัญญูรู้บุญคุณ มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ การมีมารยาทในสังคมดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะในเรื่องการเคารพผู้อาวุโส ต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตน การแสดงความเคารพในโอกาสต่าง ๆ การรู้จักจัดลำดับการวางตนที่ถูกต้อง ตามประเพณีที่วางเอาไว้ ทำให้เกิดความสงบสุขในสังคม เพราะการปฏิบัติขัดกับประเพณีที่วางไว้ จะทำให้เกิดความขัดแย้ง ขัดเคืองความรู้สึกซึ่งกันและกัน การมีกฎเกณฑ์มารยาทในสังคม เป็นบรรทัดฐานให้บุคคลดำเนินชีวิตได้อย่างสันติสุข
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทายเวลาพบปะกันหรือลาจากกัน "การไหว้" เป็นการแสดงถึงความมีสัมมาคารวะและการให้เกียรติซึ่งกันและกันนอกเหนือจากการกล่าวคำว่า "สวัสดี" แล้วยังแสดงออกถึงความหมาย "การขอบคุณ" และ "การขอโทษ" การไหว้เป็นการแสดงมิตรภาพมิตรไมตรี ซึ่งนับวันจะค่อย ๆ เลือนลางออกไปจากสังคมไทยด้วยเยาวชนไทยส่วนใหญ่ เช่นการทักทายกันด้วยการจับมือ โดยปกติความอ่อนน้อมถ่อมตน หรือการรับไหว้ผู้อาวุโสน้อย
มองข้ามวัฒนธรรมไทยที่ดีงามถูกต้องมารยาทในสังคมไทยจึงผิดเพี้ยนไป และได้หยิบยกมารยาทในการพบปะสมาคมในสังคมที่สำคัญมีดังนี้1 การรู้จักวางตนต้องเป็นคนมีความอดทนมีความสงบเสงี่ยมไม่แสดงกิริยาก้าวร้าวอวดรู้อวดฉลาดอวดมั่งมีและไม่ควรตีตัวเสมอผู้ใหญ่ การรู้จักประมาณตนมีธรรมของคนดี 7 ได้แก่ รู้จักเหตุผลตนประมาณกาลชุมชนและบุคคลโดยไม่ทำตัวเองให้เด่นเรียกร้องให้คนอื่นสนใจหรือสร้างจุดสนใจในตัวเรามากเกินไปตัวอย่าง "จงทำดี แต่อย่าเด่นจะเป็นภัยไม่มีใครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน" 3 การรู้จักการพูดจาต้องไม่ทักทายปราศรัยกับคนด้วยคำพูด และไม่คุยเสียงดัง การรู้จักควบคุมอารมณ์คือรู้จักข่มจิตของตนไม่ใช่อารมณ์รุนแรงเพื่อไม่ให้ล่วงสิ่งที่ไม่ควรล่วง ได้แก่ การข่มราคะโทสะโมหะไม่ให้กำเริบเป็นคุณลักษณะที่สำคัญอย่างหนึ่งคือรู้จักข่มอารมณ์ต่าง ๆ ไม่ทำลายข้าวของไม่พูดและแสดง กิริยาประชดประชันหรือส่อเสียด5 ขณะที่เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มตัวพองาม ควรหยุดให้ผู้ใหญ่เดินไปก่อน การรู้จักควบคุมอิริยาบถถือเป็นคุณสมบัติที่ดีเช่น กระดิกเท้าหรือเคาะจังหวะโดยไม่เลือกสถานที่ซึ่งการกระทำดังกล่าวนี้ และไม่เหมาะสมกับกาลเทศะ7 ความมีน้ำใจไมตรีอันดีต่อกันการ ควรมีความเอื้ออาทรมีน้ำใจไมตรีต่อกันมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่กันมีความเห็นอกเห็นใจเอาใจใส่ทุกข์สุขของผู้เกี่ยวข้องมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกันที่สำคัญคือมีน้ำใจในการช่วยเหลือหรือช่วยทำประโยชน์ให้แก่สังคม8 การช่วยเหลือผู้อื่น ลูกเสือเนตรนารียุวกาชาด "การช่วยเหลือผู้อื่น" ความว่า "จงยังประโยชน์ตน การยังประโยชน์แก่ผู้อื่นก็คือการช่วยเหลือผู้อื่น เพื่อประโยชน์ส่วนรวมสังคมจะมีสันติสุขคือมีความสงบสุข คือ- การประนมมือ (อัญชลี) เป็นการแสดงความเคารพ ปลายนิ้วเฉียงขึ้นพอประมาณแขนแนบตัวไม่กางศอกทั้งชายและหญิงปฏิบัติเหมือนกันการประนมมือนี้ใช้ในการสวดมนต์ฟังพระสวดมนต์ฟังพระธรรมเทศนาขณะสนทนากับพระสงฆ์รับพรจากผู้ใหญ่แสดงความเคารพผู้เสมอกัน เป็นต้น- การไหว้ (วันทนา) เป็นการแสดงความเคารพโดยการประนมมือ เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงการไหว้แบบไทยแบ่งออกเป็น 3 แบบตามระดับของบุคคล- ระดับที่ 1 การไหว้พระ ได้แก่ การไหว้พระพุทธพระธรรมพระสงฆ์รวมทั้งปูชนียวัตถุปูชนียสถานที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา โดยประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดระหว่างคิ้วปลายนิ้วแนบส่วนบนของหน้าผาก- ระดับที่ 2 การไหว้ผู้มีพระคุณและผู้อาวุโส ได้แก่ ปู่ย่าตายายพ่อแม่ครูอาจารย์และผู้ที่เราเคารพนับถือโดย ประนมมือแล้วยกขึ้นพร้อมกับค้อมศีรษะลงให้หัวแม่มือจรดปลายจมูกปลายนิ้วแนบระหว่างคิ้ว- ระดับที่ 3 การไหว้บุคคลทั่ว ๆ ไป แนบนิ้วปลายปลายจมูกอนึ่งสำหรับหญิงหัวเรื่อง: การไหว้ทั้ง 3 ระดับ ชีวิตที่ถูกปลูกฝังให้รู้จักกาลเทศะรู้จักการเคารพผู้อาวุโสกตัญญูรู้บุญคุณมีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่การมีมารยาทในสังคมดังกล่าวข้างต้นโดยเฉพาะในเรื่องการเคารพผู้อาวุโสต้องมีความอ่อนน้อมถ่อมตนการแสดงความเคารพในโอกาสต่าง ๆ ตามประเพณีที่วางเอาไว้ทำให้เกิดความสงบสุขในสังคม จะทำให้เกิดความขัดแย้งขัดเคืองความรู้สึกซึ่งกันและกันการมีกฎเกณฑ์มารยาทในสังคม































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
มารยาทไทยที่เป็นวัฒนธรรมการทักทายเวลาพบปะกันหรือลาจากกัน " การไหว้ " เป็นการแสดงถึงความมีสัมมาคารวะและการให้เกียรติซึ่งกันและกันนอกเหนือจากการกล่าวคำว่า " สวัสดี " แล้วยังแสดงออกถึงความหมาย " การขอบคุณ "" การขอโทษ " การไหว้เป็นการแสดงมิตรภาพมิตรไมตรีที่เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามซึ่งนับวันจะค่อยจะเลือนลางออกไปจากสังคมไทยด้วยเยาวชนไทยส่วนใหญ่รับเอาวัฒนธรรมต่างชาติมายึดถือปฏิบัติเช่นด้วยการผงกหัวหรือพยักหน้าต้อนรับกันโดยปกติความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นวัฒนธรรมไทยที่แสดงความเคารพด้วยการไหว้ผู้อาวุโสหรือการรับไหว้ผู้อาวุโสน้อยปัจจุบันกลายเป็นวัฒนธรรมที่เกิดเฉพาะกลุ่มวยสาเหตุที่เยาวชนไทยมองข้ามวัฒนธรรมไทยที่ดีงามถูกต้องมารยาทในสังคมไทยจึงผิดเพี้ยนไปสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติได้จัดการเผยแพร่ความรู้เรื่องมารยาทไทยอย่างต่อเนื่องในสังคมที่สำคัญมีดังนี้

1 การรู้จักวางตนต้องเป็นคนมีความอดทนมีความสงบเสงี่ยมไม่แสดงกิริยาก้าวร้าวอวดรู้อวดฉลาดอวดมั่งมีและไม่ควรตีตัวเสมอผู้ใหญ่แม้ว่าจะสนิทสนมหรือคุ้นเคยกันสักปานใดก็ตาม

2การรู้จักประมาณตนคอนโดธรรมของคนดี 7 ได้แก่รู้จักเหตุผลสภาพจิตใจประมาณกาลชุมชนและบุคคลโดยไม่ทำตัวเองให้เด่นเรียกร้องให้คนอื่นสนใจหรือสร้างจุดสนใจในตัวเรามากเกินไปตัวอย่าง" จงทำดีแต่อย่าเด่นจะเป็นภัยไม่มีใครเขาอยากเห็นเราเด่นเกิน "

3 การรู้จักการพูดจาต้องไม่ทักทายปราศรัยกับคนด้วยคำพูดที่จะทำให้คนเขาเกิดความอับอายในสังคมและไม่คุยเสียงดังหรือยักคิ้วหลิ่วตาทำท่าทางประกอบจนทำให้เสียบุคลิกภาพได้

4 .การรู้จักควบคุมอารมณ์ความรู้จักข่มจิตของตนไม่ใช่อารมณ์รุนแรงเพื่อไม่ให้ล่วงสิ่งที่ไม่ควรล่วงได้แก่การข่มราคะโทสะโมหะไม่ให้กำเริบเป็นคุณลักษณะที่สำคัญอย่างหนึ่งความไม่มีรู้จักข่มอารมณ์ต่างไม่พูดและแสดงกิริยาประชดประชันหรือส่อเสียด

5 การสำรวมกิริยาเมื่อเดินผ่านผู้ใหญ่ขณะที่เดินผ่านผู้ใหญ่ให้ก้มตัวพองามหรือหากผู้ใหญ่กำลังเดินไม่ควรวิ่งตัดหน้าควรหยุดให้ผู้ใหญ่เดินไปก่อนหรือไม่ควรเดินผ่านกลางขณะที่ผู้ใหญ่กำลังพูดกัน

6
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: