ที่ วสล.019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2559เรื่อง ชี้แจงรายละเอียดการจ การแปล - ที่ วสล.019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2559เรื่อง ชี้แจงรายละเอียดการจ ไทย วิธีการพูด

ที่ วสล.019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม

ที่ วสล.019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2559

เรื่อง ชี้แจงรายละเอียดการจัดการน้ำเสียบริษัท ไทยฮอนด้า แมนูเฟคเจอริ่ง จำกัด และโครงการหน่วยผลิตพลังงานและสาธารณูปโภค
เรียน ผู้อำนวยการสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง
สิ่งที่แนบมาด้วย มาตรการและแผนปฏิบัติการลดการใช้น้ำประปา และการระบายน้ำเสีย บริษัท ไทยฮอนด้าฯ
จากมติคณะกรรมการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น มีมติไม่ให้ความเห็นชอบรายงานของโครงการผลิตหน่วยพลังงานและสาธารณูปโภคสำหรับบริษัท ไทยฮอนด้า แมนูเฟคเจอริ่ง จำกัด โดยบริษัท เอ็นเอส-โอจี เอนเนอร์จี โซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559 นั้น เนื่องด้วยปัญหาเกี่ยวกับระบบรวบรวมน้ำเสียบริเวณหน้าบริษัท ไทยฮอนด้าฯ ไม่สามารถรองรับปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเพิ่มเติมจากโครงการได้
ทางบริษัท ไทยฮอนด้าฯ และบริษัท เอ็นเอส-โอจี เอนเนอร์จี โซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ประชุมร่วมกัน ในการกำหนดมาตรการ และแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการระบายน้ำเสีย เพื่อรองรับโครงการฯ ที่เกิดขึ้น รวมถึงมาตรการในการกำกับ ดูแล และควบคุมไม่ให้มีการระบายน้ำเสียเพิ่มขึ้นจากปริมาณที่ใช้ในปัจจุบัน โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
1. มาตรการติดตามมาตรวัดปริมาณและอัตราการไหลของน้ำเสีย จากบ่อสูงส่งน้ำเสีย
2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการเดินระบบผลิตน้ำรีไซเคิลจากน้ำทิ้งของระบบบำบัดน้ำเสีย
3. มาตรการติดตั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำฝน เพื่อนำกลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (Cooling tower)
4. มาตรการติดตั้งระบบรวบรวม และสูบส่งน้ำคอนเดนเสทจากเครื่องทำความเย็นของระบบปรับอากาศ (Chiller) กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (Cooling tower)
5. มาตรการติดตั้งระบบรวบรวม และสูบส่งน้ำคอนเดนเสทจากระบบจ่ายไอน้ำ (Stream trap) กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (Cooling tower)
โดยผู้แทนบริษัท ไทยฮอนด้าฯ และบริษัท เอ็นเอส-โอจี เอนเนอร์จี โซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ประชุม/รายงานให้ผู้แทนสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง และบริษัท โกลบอล ยูทิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด รับทราบในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2559 ที่ผ่านมา เพื่อให้เกิดความมั่นใจใน มาตรการต่างๆ สำหรับรองรับโครงการผลิตพลังงานฯ สามารถควบคุมปริมาณการใช้น้ำประปา และการทิ้งน้ำเสียให้มีอัตราคงที่ไม่เพิ่มขึ้นจากปริมาณการใช้และระบายทิ้งในปัจจุบัน
จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณา

ขอแสดงความนับถือ

(นายโยชิโนริ โคดะ)
ประธานบริษัท


ผู้ประสานงานโครงการ
นายวันชัย ผ่องภักตร์
หัวหน้างานระบบสาธารณูปโภค
โทร. 02 326 6041-9 ต่อ 2610
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วสล.019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.2559เรื่องชี้แจงรายละเอียดการจัดการน้ำเสียบริษัทไทยฮอนด้าแมนูเฟคเจอริ่งจำกัดและโครงการหน่วยผลิตพลังงานและสาธารณูปโภคเรียนผู้อำนวยการสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังสิ่งที่แนบมาด้วยมาตรการและแผนปฏิบัติการลดการใช้น้ำประปาและการระบายน้ำเสียบริษัทไทยฮอนด้าฯจากมติคณะกรรมการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมเบื้องต้นมีมติไม่ให้ความเห็นชอบรายงานของโครงการผลิตหน่วยพลังงานและสาธารณูปโภคสำหรับบริษัทไทยฮอนด้าแมนูเฟคเจอริ่งจำกัดโดยบริษัทเอ็นเอสโอจีเอนเนอร์จี (ไทยแลนด์) โซลูชั่นจำกัดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559 นั้นเนื่องด้วยปัญหาเกี่ยวกับระบบรวบรวมน้ำเสียบริเวณหน้าบริษัทไทยฮอนด้าฯ ไม่สามารถรองรับปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้นเพิ่มเติมจากโครงการได้ ทางบริษัทไทยฮอนด้าฯ และบริษัทเอ็นเอสโอจีเอนเนอร์จีโซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัดได้ประชุมร่วมกันในการกำหนดมาตรการและแผนปฏิบัติการเกี่ยวกับการระบายน้ำเสียเพื่อรองรับโครงการฯ ที่เกิดขึ้นรวมถึงมาตรการในการกำกับดูแลและควบคุมไม่ให้มีการระบายน้ำเสียเพิ่มขึ้นจากปริมาณที่ใช้ในปัจจุบันโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1. มาตรการติดตามมาตรวัดปริมาณและอัตราการไหลของน้ำเสียจากบ่อสูงส่งน้ำเสีย2. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการเดินระบบผลิตน้ำรีไซเคิลจากน้ำทิ้งของระบบบำบัดน้ำเสีย 3. มาตรการติดตั้งระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำฝนเพื่อนำกลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (คูลลิ่งทาวเวอร์) 4. กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็นและสูบส่งน้ำคอนเดนเสทจากเครื่องทำความเย็นของระบบปรับอากาศ (เย็น) มาตรการติดตั้งระบบรวบรวม (คูลลิ่งทาวเวอร์)5. มาตรการติดตั้งระบบรวบรวมและสูบส่งน้ำคอนเดนเสทจากระบบจ่ายไอน้ำ (Stream trap) กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (คูลลิ่งทาวเวอร์) โดยผู้แทนบริษัทไทยฮอนด้าฯ และบริษัทเอ็นเอสโอจีเอนเนอร์จีโซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัดได้ประชุม/รายงานให้ผู้แทนสำนักงานนิคมอุตสาหกรรมลาดกระบังและบริษัทโกลบอลยูทิลิตี้เซอร์วิสจำกัดรับทราบในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ.2559 ที่ผ่านมาเพื่อให้เกิดความมั่นใจในมาตรการต่าง ๆ สำหรับรองรับโครงการผลิตพลังงานฯ สามารถควบคุมปริมาณการใช้น้ำประปาและการทิ้งน้ำเสียให้มีอัตราคงที่ไม่เพิ่มขึ้นจากปริมาณการใช้และระบายทิ้งในปัจจุบัน จึงเรียนมาเพื่อทราบและพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นายโยชิโนริโคดะ) ประธานบริษัท ผู้ประสานงานโครงการนายวันชัยผ่องภักตร์หัวหน้างานระบบสาธารณูปโภคเบอร์ 02 326 6041-9 ต่อ 2610
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ที่วสล. 019/2559 วันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เรื่อง ไทยฮอนด้าแมนูเฟค เจอริ่ง จำกัด และการระบายน้ำเสีย บริษัท ไทยฮอนด้าแมนูเฟค เจอริ่ง จำกัด โดย บริษัท เอ็นเอส - โอจีเอนเนอร์จีโซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559 นั้น ไทยฮอนด้าฯ ไทยฮอนด้าฯ และ บริษัท เอ็น เอส - โอจีเอนเนอร์จีโซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด ได้ประชุมร่วมกันในการกำหนด มาตรการ เพื่อรองรับโครงการฯ ที่เกิดขึ้นรวม ถึงมาตรการในการกำกับดูแล โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้1 จากบ่อสูงส่งน้ำเสีย2 เพื่อนำกลับมาใช้เติมในหอ ผึ่งเย็น (หอหล่อเย็น) 4 มาตรการติดตั้งระบบรวบรวม (Chiller) กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (Cooling Tower) 5 มาตรการติดตั้งระบบรวบรวม (กับดักสตรีม) กลับมาใช้เติมในหอผึ่งเย็น (Cooling Tower) โดยผู้แทน บริษัท ไทยฮอนด้า ฯ และ บริษัท เอ็นเอส - โอจีเอนเนอร์จีโซลูชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด และ บริษัท โกลบอลยูทิลิตี้เซอร์วิส จำกัด รับทราบในวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ที่ผ่านมาเพื่อให้เกิดความมั่นใจ ในมาตรการต่างๆสำหรับรองรับโครงการผลิตพลังงานฯ สามารถควบคุมปริมาณการใช้น้ำประปา 02 326 6041-9 ต่อ 2610
























การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: