พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ณ  การแปล - พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ณ  ไทย วิธีการพูด

พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบ

พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2541
“เศรษฐกิจพอเพียง... จะทำความเจริญให้แก่ประเทศได้
แต่ต้องมีความเพียร แล้วต้องอดทน
ต้องไม่ใจร้อน ต้องไม่พูดมาก ต้องไม่ทะเลาะกัน
ถ้าทำโดยเข้าใจกัน เชื่อว่าทุกคนจะมีความพอใจได้...”

พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากวารสารชัยพัฒนา
"เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง
สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม
แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป"

ความเข้าใจของคนส่วนมากต่อเศรษฐกิจพอเพียง
คนส่วนมากมักเข้าใจว่า เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของเกษตรกรเท่านั้น ซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่น ก็สามารถนำเอาแนวพระราชดำรัสไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งสิ้น

"ผู้ที่เป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรม ก็สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยเน้นการผลิตด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่อง และไม้ควรทำอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกินไป เพราะหากขนาดใหญ่เกินไป ก็จะต้องพึ่งพิงสินค้าวัตถุดิบและเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามาผลิตสินค้า ต้องคำนึงถึงสิ่งที่อยู่ในประเทศไทยก่อน เพื่อให้ไม่ต้องพึ่งพิงต่างชาติ

อย่างเช่นปัจจุบันผู้ที่เป็นเกษตรกร หากมีความพอประมาณในใจตน ไม่นึกแต่จะซื้อรถคันใหม่ หรือเครื่องมืออำนวยความสะดวกอยู่ร่ำไป ก็จะมีความสุข"

เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นพระราชดำรัสที่พระราชทานให้ประชาชนดำเนินตามวิถีชีวิตแห่งการดำรงชีพที่สมบูรณ์ โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกำกับ และมีใจตนเป็นสำคัญ ซึ่งก็คือวิถีชีวิตไทย ที่ยึด ทางสายกลาง ของความพอดี


0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานณวันที่ 4 ธันวาคม 2541"เศรษฐกิจพอเพียง... จะทำความเจริญให้แก่ประเทศได้แต่ต้องมีความเพียรแล้วต้องอดทน ต้องไม่ใจร้อนต้องไม่พูดมากต้องไม่ทะเลาะกัน ถ้าทำโดยเข้าใจกันเชื่อว่าทุกคนจะมีความพอใจได้..."พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจากวารสารชัยพัฒนา "เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิตรากฐานความมั่นคงของแผ่นดินเปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็ม แต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป"ความเข้าใจของคนส่วนมากต่อเศรษฐกิจพอเพียงคนส่วนมากมักเข้าใจว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของเกษตรกรเท่านั้นซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่นก็สามารถนำเอาแนวพระราชดำรัสไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งสิ้น"ผู้ที่เป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมก็สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยเน้นการผลิตด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่องและไม้ควรทำอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกินไปเพราะหากขนาดใหญ่เกินไปก็จะต้องพึ่งพิงสินค้าวัตถุดิบและเทคโนโลยีจากต่างประเทศเข้ามาผลิตสินค้าต้องคำนึงถึงสิ่งที่อยู่ในประเทศไทยก่อนเพื่อให้ไม่ต้องพึ่งพิงต่างชาติอย่างเช่นปัจจุบันผู้ที่เป็นเกษตรกรหากมีความพอประมาณในใจตนไม่นึกแต่จะซื้อรถคันใหม่หรือเครื่องมืออำนวยความสะดวกอยู่ร่ำไปก็จะมีความสุข"เศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นพระราชดำรัสที่พระราชทานให้ประชาชนดำเนินตามวิถีชีวิตแห่งการดำรงชีพที่สมบูรณ์โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกำกับและมีใจตนเป็นสำคัญซึ่งก็คือวิถีชีวิตไทยที่ยึดทางสายกลางของความพอดี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทาน ณ วันที่ 4 ธันวาคม 2541
"เศรษฐกิจพอเพียง ...
แล้วของคุณต้องอดทน
ของคุณต้องไม่ใจร้อนของคุณต้องไม่พูดมากของคุณต้องไม่ทะเลาะกัน
ถ้าทำโดยเข้าใจกัน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่น เพราะหากขนาดใหญ่เกินไป หากมีความพอประมาณในใจตนไม่นึก แต่จะซื้อรถคันใหม่ ก็จะมีความสุข " เศรษฐกิจพอเพียง โดยมีธรรมะเป็นเครื่องกำกับและมีใจตนเป็นสำคัญซึ่งก็คือวิถีชีวิตไทยที่ยึดทางสายกลางของความพอดี

















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานณวันที่ 4 ธันวาคม 2541 เศรษฐกิจพอเพียง
" . . . . . . . จะทำความเจริญให้แก่ประเทศได้แล้วต้องอดทน

แต่ต้องมีความเพียรต้องไม่ใจร้อนต้องไม่พูดมากต้องไม่ทะเลาะกัน
ถ้าทำโดยเข้าใจกันเชื่อว่าทุกคนจะมีความพอใจได้ . . . . . . . "

พระราชดํารัสเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจากวารสารชัยพัฒนา
" เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเสมือนรากฐานของชีวิตรากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน


เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเองสิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ก็อยู่ที่เสาเข็มแต่คนส่วนมากมองไม่เห็นเสาเข็มและลืมเสาเข็มเสียด้วยซ้ำไป "


ความเข้าใจของคนส่วนมากต่อเศรษฐกิจพอเพียงคนส่วนมากมักเข้าใจว่าเศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องของเกษตรกรเท่านั้นซึ่งแท้จริงผู้ประกอบอาชีพอื่นก็สามารถนำเอาแนวพระราชดำรัสไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งสิ้น

" ผู้ที่เป็นเจ้าของโรงงานอุตสาหกรรมก็สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยเน้นการผลิตด้านการเกษตรอย่างต่อเนื่องและไม้ควรทำอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เกินไปเพราะหากขนาดใหญ่เกินไปต้องคำนึงถึงสิ่งที่อยู่ในประเทศไทยก่อนเพื่อให้ไม่ต้องพึ่งพิงต่างชาติ

อย่างเช่นปัจจุบันผู้ที่เป็นเกษตรกรหากมีความพอประมาณในใจตนไม่นึกแต่จะซื้อรถคันใหม่หรือเครื่องมืออำนวยความสะดวกอยู่ร่ำไปก็จะมีความสุข "

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: