หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของความเจริญร่งเรืองในอดีตของปัตตานีที การแปล - หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของความเจริญร่งเรืองในอดีตของปัตตานีที ไทย วิธีการพูด

หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของ

หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของความเจริญร่งเรืองในอดีตของปัตตานีที่ บริเวณอำเภอยะรังเป็นซากร่องรอยของเมืองโบราณขนาดใหญ่ซ้อนทับกันถึง 3 เมือง มีซากเป็นโบราณสถานปรากฏอยู่ไม่น้อยกว่า 40 แห่ง ซากเนินโบราณสถานบางแห่งได้รับการขุดแต่งและอนุรักษ์ไว้ เช่น โบราณสถานบ้านจาเละ 3 แห่ง ซึ่งเป็นซากอาคารศาสนสถานก่ออิฐที่มีการขัดแต่งประดับฐานชั้นล่าง ๆ และยังค้นพบโบราณวัตถุจำนวนมาก เช่น สถูปจำลองดินเผ่า พระพิมพ์ดินดิบ และดินเผาบางชิ้นมีตัวอักษรซึ่งนักภาษาโบราณอ่านและแปลว่าเป็นอักษรปัลลวะ (อินเดียใต้) ภาษาสันสกฤตเขียนเป็นคาถาเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน พระโพธิสัตว์สัมฤทธิ์และเศษภาชนะดินเผาประเภทต่าง ๆ โบราณวัตถุเหล่านี้มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 (กรมศิลปากร, 2535)

สอดคล้องกับจดหมายเหตุจีนที่ได้กล่าวถึงไว้ นอกจากนั้นหลักฐานที่ได้ขุดค้นพบยังแสดงให้เห็นด้วยว่าบริเวณที่เป็นที่ตั้ง อำเภอยะรังในปัจจุบัน เป็นชุมชนที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาพุทธที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดียไว้อย่างเต็มที่ มีความสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียง เช่น บริเวณดินแดนภาคกลางของประเทศไทย และบริเวณคาบสมุทรอินโดจีนด้วย และคงจะเป็นชุมชนที่มีกิจกรรมสืบต่อเรื่อยมาจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 15 ก่อนที่อาณาจักรศรีวิชัยจะมีอำนาจรุ่งเรืองครอบคลุมคาบสมุทรมลายูในที่สุด (ภัคพดี อยู่คงดี,มปป.:2)

นักภูมิศาสตร์เชื่อว่า เมืองโบราณขนาดใหญ่ที่บริเวณอำเภอยะรังนั้นหมดความสำคัญลงน่าจะมีเหตุผล ประการหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลช่วงระยะเวลา 1,000 ปีที่ผ่านมา โดยลดลงไประดับหนึ่งมีผลทำให้ชายฝั่งทะเลถอยห่างออกไปจากเดิม ดังนั้น ที่ตั้งของชุมชนจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นทำเลของการเป็นเมืองท่าค้าขายอีกต่อ ไป และนำมาซึ่งการย้ายที่ตั้งของเมืองในระยะเวลาต่อมา ซึ่งสัมพันธ์กับตำนานการสร้างเมืองปัตตานีที่กล่าวไว้ในหนังสือหลายเล่ม เช่น Hikayat Patani:Story of Patani ของ A.Teeuw และ D.K.Wyatt:Sajaraj Kerajaan Melaya Patani หรือตำนานเมืองปัตตานีของ lbrahim Syukri เป็นต้น แม้ว่าจะไม่สามารถระบุระยะเวลากำเนิดของเมืองปัตตานีได้อย่างแน่ชัด แต่เมืองปัตตานีก็ได้ปรากฏชื่อและเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาเป็นลำดับ

ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 เป็นอย่างน้อย เมืองปัตตานี ได้ชื่อว่าเป็นหัวเมืองฝ่ายใต้ปลายแหลมมาลายู มีฐานะเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) และอยู่ภายใต้อำนาจของกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาเรื่อยมา ในปี พ.ศ.2054 โปรตุเกสสามารถยึดครองมะละกาได้สำเร็จ และพยายามขยายอิทธิพลทางการค้าขึ้นมาทางตอนเหนือของคาบสมุทรมาลายู ประกอบกับพระราชาธิบดีที่ 2 (พ.ศ.2034-2072) ทรงยินยอมให้โปรตุเกสเข้ามาตั้งสถานีการค้าในเมืองชายฝั่งทะเล เช่น นครศรีธรรมราช มะริด ตะนาวศรี รวมทั้งปัตตานีด้วย ทำให้ปัตตานีกลายเป็นเมืองท่าหลักเมืองหนึ่ง เป็นที่ตั้งของสถานีการค้าของพ่อค้าทั้งชาวตะวันตกและชาวตะวันออก ทั้งชาวอินเดีย จีน และญี่ปุ่น สินค้าที่สำคัญของเมืองปัตตานียุคนั้น ได้แก่ ไม้กฤษณา ไม้ฝาง เครื่องเทศ ของป่า งาช้าง และนอแรด นอกจากนี้ปัตตานียังเป็นจุดรับส่งสินค้าของนานาชาติ เช่น เครื่องถ้วยชาม อาวุธ ดินปืน ดีบุก และผ้าไหม (สถาบันทักษิณคดีศึกษา: 2529)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของความเจริญร่งเรืองในอดีตของปัตตานีที่บริเวณอำเภอยะรังเป็นซากร่องรอยของเมืองโบราณขนาดใหญ่ซ้อนทับกันถึง 3 เมืองมีซากเป็นโบราณสถานปรากฏอยู่ไม่น้อยกว่า 40 แห่งซากเนินโบราณสถานบางแห่งได้รับการขุดแต่งและอนุรักษ์ไวโทเช่นโบราณสถานบ้านจาเละ 3 แห่งซึ่งเป็นซากอาคารศาสนสถานก่ออิฐที่มีการขัดแต่งประดับฐานชั้นล่างๆ และยังค้นพบโบราณวัตถุจำนวนมากเช่นสถูปจำลองดินเผ่าพระพิมพ์ดินดิบและดินเผาบางชิ้นมีตัวอักษรซึ่งนักภาษาโบราณอ่านและแปลว่าเป็นอักษรปัลลวะ (อินเดียใต้) ภาษาสันสกฤตเขียนเป็นคาถาเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายานพระโพธิสัตว์สัมฤทธิ์และเศษภาชนะดินเผาประเภทต่างๆ โบราณวัตถุเหล่านี้มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 (กรมศิลปากร 2535) สอดคล้องกับจดหมายเหตุจีนที่ได้กล่าวถึงไว้นอกจากนั้นหลักฐานที่ได้ขุดค้นพบยังแสดงให้เห็นด้วยว่าบริเวณที่เป็นที่ตั้งอำเภอยะรังในปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมสูงโดยเฉพาะอย่างยิ่งศาสนาพุทธที่ได้รับอิทธิพลจากอินเดียไว้อย่างเต็มที่มีความสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียงเช่นบริเวณดินแดนภาคกลางของประเทศไทยและบริเวณคาบสมุทรอินโดจีนด้วยและคงจะเป็นชุมชนที่มีกิจกรรมสืบต่อเรื่อยมาจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 15 ก่อนที่อาณาจักรศรีวิชัยจะมีอำนาจรุ่งเรืองครอบคลุมคาบสมุทรมลายูในที่สุด (ภัคพดีอยู่คงดี มปป.:2) นักภูมิศาสตร์เชื่อว่าเมืองโบราณขนาดใหญ่ที่บริเวณอำเภอยะรังนั้นหมดความสำคัญลงน่าจะมีเหตุผลประการหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลช่วงระยะเวลา 1000 ปีที่ผ่านมาโดยลดลงไประดับหนึ่งมีผลทำให้ชายฝั่งทะเลถอยห่างออกไปจากเดิมดังนั้นที่ตั้งของชุมชนจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นทำเลของการเป็นเมืองท่าค้าขายอีกต่อไปและนำมาซึ่งการย้ายที่ตั้งของเมืองในระยะเวลาต่อมาซึ่งสัมพันธ์กับตำนานการสร้างเมืองปัตตานีที่กล่าวไว้ในหนังสือหลายเล่มเช่น Hikayat Patani:Story ของปัตตานีนั้น ๆ A.Teeuw และ D.K.Wyatt:Sajaraj Kerajaan Melaya ปัตตานีหรือตำนานเมืองปัตตานีของ lbrahim Syukri เป็นต้นแม้ว่าจะไม่สามารถระบุระยะเวลากำเนิดของเมืองปัตตานีได้อย่างแน่ชัดแต่เมืองปัตตานีก็ได้ปรากฏชื่อและเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาเป็นลำดับ ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 เป็นอย่างน้อยเมืองปัตตานีได้ชื่อว่าเป็นหัวเมืองฝ่ายใต้ปลายแหลมมาลายูมีฐานะเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.1991-2031) และอยู่ภายใต้อำนาจของกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาเรื่อยมาในปี พ.ศ.2054 โปรตุเกสสามารถยึดครองมะละกาได้สำเร็จและพยายามขยายอิทธิพลทางการค้าขึ้นมาทางตอนเหนือของคาบสมุทรมาลายูประกอบกับพระราชาธิบดีที่ 2 ทรงยินยอมให้โปรตุเกสเข้ามาตั้งสถานีการค้าในเมืองชายฝั่งทะเล (พ.ศ.2034-2072) เช่นนครศรีธรรมราชมะริดตะนาวศรีรวมทั้งปัตตานีด้วยทำให้ปัตตานีกลายเป็นเมืองท่าหลักเมืองหนึ่งเป็นที่ตั้งของสถานีการค้าของพ่อค้าทั้งชาวตะวันตกและชาวตะวันออกทั้งชาวอินเดียจีนและญี่ปุ่นสินค้าที่สำคัญของเมืองปัตตานียุคนั้นได้แก่ไม้กฤษณาไม้ฝางเครื่องเทศของป่างาช้างและนอแรดนอกจากนี้ปัตตานียังเป็นจุดรับส่งสินค้าของนานาชาติเช่นเครื่องถ้วยชามอาวุธดินปืนดีบุกและผ้าไหม (สถาบันทักษิณคดีศึกษา: 2529)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
3 เมือง 40 แห่ง เช่นโบราณสถานบ้านจาเละ 3 แห่ง ๆ และยังค้นพบโบราณวัตถุจำนวนมากเช่นสถูปจำลองดินเผ่าพระพิมพ์ดินดิบ (อินเดียใต้) ๆ 12-13 (กรมศิลปากร, อำเภอยะรังในปัจจุบัน มีความสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียงเช่นบริเวณดินแดนภาคกลางของประเทศไทยและบริเวณคาบสมุทรอินโดจีนด้วย 15 (ภัคพดี 1,000 ปีที่ผ่านมา ดังนั้น ไป เช่น Hikayat Patani: เรื่องราวของ Patani ของ A.Teeuw และ DKWyatt: Sajaraj ราชการ Melaya Patani หรือตำนานเมืองปัตตานีของ lbrahim Syukri เป็นต้น 19 เป็นอย่างน้อยเมืองปัตตานี ไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) ในปี พ.ศ. 2054 ประกอบกับพระราชาธิบดีที่ 2 (พ.ศ. 2034-2072) เช่นนครศรีธรรมราชมะริดตะนาวศรีรวมทั้งปัตตานีด้วย ทั้งชาวอินเดียจีนและญี่ปุ่น ได้แก่ ไม้กฤษณาไม้ฝางเครื่องเทศของป่างาช้างและนอแรด เช่นเครื่องถ้วยชามอาวุธดินปืนดีบุกและผ้าไหม (สถาบันทักษิณคดีศึกษา: 2529)





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
หลักฐานทางโบราณคดีที่แสดงร่องรอยของความเจริญร่งเรืองในอดีตของปัตตานีที่บริเวณอำเภอยะรังเป็นซากร่องรอยของเมืองโบราณขนาดใหญ่ซ้อนทับกันถึง 3 เมืองมีซากเป็นโบราณสถานปรากฏอยู่ไม่น้อยกว่า 40 แห่งเช่นโบราณสถานบ้านจาเละ 3 แห่งซึ่งเป็นซากอาคารศาสนสถานก่ออิฐที่มีการขัดแต่งประดับฐานชั้นล่างจะและยังค้นพบโบราณวัตถุจำนวนมากเช่นสถูปจำลองดินเผ่าพระพิมพ์ดินดิบ( อินเดียใต้ ) ภาษาสันสกฤตเขียนเป็นคาถาเนื่องในพุทธศาสนาลัทธิมหายานพระโพธิสัตว์สัมฤทธิ์และเศษภาชนะดินเผาประเภทต่างโบราณวัตถุเหล่านี้มีอายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษที่ 12-13 ( กรมศิลปากรไม่มี ,2535 )

สอดคล้องกับจดหมายเหตุจีนที่ได้กล่าวถึงไว้นอกจากนั้นหลักฐานที่ได้ขุดค้นพบยังแสดงให้เห็นด้วยว่าบริเวณที่เป็นที่ตั้งอำเภอยะรังในปัจจุบันเป็นชุมชนที่มีความเจริญทางวัฒนธรรมสูงมีความสัมพันธ์กับดินแดนใกล้เคียงเช่นบริเวณดินแดนภาคกลางของประเทศไทยและบริเวณคาบสมุทรอินโดจีนด้วยและคงจะเป็นชุมชนที่มีกิจกรรมสืบต่อเรื่อยมาจนถึงราวพุทธศตวรรษที่ 15( อยู่คงดีภัคพดี ,มปป . : 2 )

นักภูมิศาสตร์เชื่อว่าเมืองโบราณขนาดใหญ่ที่บริเวณอำเภอยะรังนั้นหมดความสำคัญลงน่าจะมีเหตุผลประการหนึ่งมาจากการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลช่วงระยะเวลา 1000 ปีที่ผ่านมาโดยลดลงไประดับหนึ่งมีผลทำให้ชายฝั่งทะเลถอยห่างออกไปจากเดิมดังนั้นที่ตั้งของชุมชนจึงไม่เหมาะสมที่จะเป็นทำเลของการเป็นเมืองท่าค้าขายอีกต่อไปซึ่งสัมพันธ์กับตำนานการสร้างเมืองปัตตานีที่กล่าวไว้ในหนังสือหลายเล่มเช่น hikayat ปัตตานี :เรื่องราวของเมืองปัตตานีของ . teeuw และ d.k.wyatt :sajaraj รัฐบาล melaya ปัตตานีหรือตำนานเมืองปัตตานีของกับ syukri เป็นต้นแม้ว่าจะไม่สามารถระบุระยะเวลากำเนิดของเมืองปัตตานีได้อย่างแน่ชัดแต่เมืองปัตตานีก็ได้ปรากฏชื่อและเจริญรุ่งเรืองขึ้นมาเป็นลำดับ

ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19 เป็นอย่างน้อยเมืองปัตตานีได้ชื่อว่าเป็นหัวเมืองฝ่ายใต้ปลายแหลมมาลายูมีฐานะเป็นเมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยามาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ( พ . ศ .1991-2031 ) และอยู่ภายใต้อำนาจของกษัตริย์กรุงศรีอยุธยาเรื่อยมาสามารถพ . ศ . 2588 โปรตุเกสสามารถยึดครองมะละกาได้สำเร็จและพยายามขยายอิทธิพลทางการค้าขึ้นมาทางตอนเหนือของคาบสมุทรมาลายูประกอบกับพระราชาธิบดีที่ 2 ( พ . ศ .2034-2072 ) ทรงยินยอมให้โปรตุเกสเข้ามาตั้งสถานีการค้าในเมืองชายฝั่งทะเลเช่นนครศรีธรรมราชมะริดตะนาวศรีรวมทั้งปัตตานีด้วยทำให้ปัตตานีกลายเป็นเมืองท่าหลักเมืองหนึ่งทั้งชาวอินเดียจีนและญี่ปุ่นสินค้าที่สำคัญของเมืองปัตตานียุคนั้นได้แก่ไม้กฤษณาไม้ฝางเครื่องเทศของป่างาช้างและนอแรดนอกจากนี้ปัตตานียังเป็นจุดรับส่งสินค้าของนานาชาติเช่นเครื่องถ้วยชามอาวุธดินปืนและผ้าไหม ( สถาบันทักษิณคดีศึกษา :2529 )
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: