ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวายบ้านถวาย เป็นหมู่บ้านที่มีประวัติการต การแปล - ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวายบ้านถวาย เป็นหมู่บ้านที่มีประวัติการต ไทย วิธีการพูด

ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวายบ้

ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวาย
บ้านถวาย เป็นหมู่บ้านที่มีประวัติการตั้งหมู่บ้านจากการบอกเล่าสืบต่อกันมายาวนานหลายชั่วอายุคน ว่า แต่เดิมนั้นมีชนกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเรียกว่า “เผ่าลัวะ” ได้อพยพมาจากจอมทอง มาตั้งหลักปักฐานอยู่บ้านถวาย แต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าได้อพยพมานานเท่าไร ไม่มีหลักฐานอะไรบอกได้นอกจากหลักฐานจากการสร้างวัดถวายเมื่อปี พ.ศ. 2248 (ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักรเล่มที่ 9, หน้า 159) ซึ่งเป็นช่วงที่เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระจากการยึดครองของพม่า จึงสันนิษฐานว่าบ้านถวายมีอายุไม่ต่ำกว่า 263 ปี เพราะการสร้างวัดมักเกิดจากความศรัทธาของชาวบ้าน ชุมชน หมู่บ้านจึงเกิดก่อนการมีวัดหรืออย่างน้อยที่สุดก็เกิดขึ้นในเวลาใกล้เคียงกัน ปัจจุบันสิ่งที่แสดงถึงความเก่าแก่ของบ้านถวายได้แก่ เจดีย์ที่สร้างครอบของเก่า ซุ้มพระพุทธรูปเคียงข้างเจดีย์และพระไตรปิฎกที่สร้างเมื่อ พ.ศ. 2497
ชุมชนบ้านถวายในอดีต ผู้อาวุโสในหมู่บ้าน ได้เล่าว่า ครั้งหนึ่งชาวบ้านได้ข่าวว่าพระนางจามเทวีจะเสด็จผ่าน ณ.ชุมชนแห่งนี้ เพื่อเสด็จไปสร้างวัดละโว้ชึ่งห่างไปอีกประมาญ 3 กิโลเมตร ชาวบ้านได้นัดแนะกันเพื่อจะถวายสิ่งของแก่พระนางเพื่อแสดงถึงการสักการะบูชา ณ.จุดนี้จึงได้ชื่อว่าจุดถวาย และได้เป็นชื่อของหมู่บ้านถวายต่อมาจนปัจจุบัน ตอนที่ยังเป็นเด็ก มีบ้านเรือนตั้งอยู่กันไม่กี่หลังคาเรือน แต่ละหลังคาเรือนจะมีพื้นที่มาก ส่วนใหญ่ไม่มีรั้วกั้น หากจะมีก็เป็นรั้วไม้ไผ่ที่มีลักษณะไม่คงทนถาวร ทุกครัวเรือนจะปลูกผักผลไม้ไว้ในบริเวณบ้าน และสามารถขอกันกินขอกันใช้โดยไม่ต้องซื้อขาย พ่ออุ้ยบอกว่า อาจเป็นเพราะว่า คนสมัยนั้นมีความซื่อสัตย์ เก็บเอาพอกินเท่านั้น ไม่มีการขโมยของกัน หากของเราไม่มีเราก็ไปขอเขาบ้าง เป็นการแลกเปลี่ยนกัน ฉะนั้นจึงอยู่กันแบบพี่แบบน้อง ชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่าย หน้าฝนก็ทำนาปลูกข้าว หลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว บ้างก็ออกไปรับจ้างนอกบ้าน คือที่ในเมืองเชียงใหม่ บ้างก็พักผ่อนอยู่กับบ้าน การคมนาคมลำบากต้องเดินเท้าตลอด ไม่มีรถ จะมีก็เพียงเกวียนเท่านั้น ถนนเป็นถนนดิน ต่อมาจึงมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆ จากถนนดิน เป็นถนนลูกรังบดอัด ปัจจุบันถนนภายในหมู่บ้านทุกสาย รวมทั้งถนนที่ติดต่อหมู่บ้านใกล้เคียงด้วยเป็นถนนลาดยาง ทำให้ การคมนาคมและชีวิตความเป็นอยู่ด้านอื่นๆ ของชุมชนบ้านถวายแตกต่างจากอดีตอย่างมาก
ความเป็นมาของหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP กับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
บ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลขุนคง อำเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม่ เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านเกษตรกรรม แต่เมื่อประสบภาวะการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งผลผลิตไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้ชาวบ้านมีฐานะยากจน ดังนั้นหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่วนใหญ่ก็จะออกไปรับจ้างทำงานก่อสร้างทั่วไปที่ในตัวเมือง และบางส่วนก็ออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพ อยู่กับถิ่นฐานของตนเอง
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 - พ.ศ.2505 ได้มีชาวบ้านจำนวน 3 คน คือ พ่อใจมา อิ่นแก้ว พ่อหนานแดง พันธุสา พ่อเฮือน พันธุศาสตร์ ไปรับจ้างทำงานก่อสร้างในเมืองที่ร้านน้อมศิลป์ บ้านวัวลาย ซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้น ทั้งสามคน เกิดความสนใจในการแกะสลักจึงได้เปลี่ยนอาชีพมารับจ้างแกะสลักไม้ดังกล่าว
เมื่อเกิดความชำนาญ ทางร้านก็ให้นำงานกลับมาทำที่บ้าน และเป็นจุดเริ่มต้นการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน โดยไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย งานที่นำมาถ่ายทอดครั้งแรกคือการแกะสลักไม้เป็นแผ่นลวดลายต่างๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ครุฑ สิงห์ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาก็ทำตัวพระและรับซ่อมแซมตกแต่งของเก่าประเภทไม้ และเริ่มลอกเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อมแซม พร้อมทั้งออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จากนั้นก็มีสตรีแม่บ้านของบ้านถวายออกไปรับจ้างทำแอนติค ทำสี ตกแต่งลวดลายเดินเส้น (ลายเส้นใช้วัสดุจากปูนขาว สีและชัน) ผสมให้เข้ากันตามส่วน นำมาทำเป็นเส้น เมื่อมีงานเพิ่มมากขึ้นทางร้านก็ให้นำกลับมาทำที่บ้านของตน คิดค่าจ้างเป็นรายชิ้นงานเสร็จก็นำไปส่งคืนให้กับทางร้าน ก็นับว่าเป็นโอกาสได้พบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่งลูกค้าได้ติดต่อขอที่อยู่ไว้และติดต่อเข้ามาซื้อโดยตรงทำให้เกิดธุรกิจในหมู่บ้านขึ้น โดยแต่ละบ้านจะปรับบริเวณของตนใช้หน้าบ้านเป็นร้านค้า ส่วนหลังบ้านก็ทำงานหัตถกรรมจนกลายเป็นหมู่บ้านหัตถกรรมไม้แกะสลักในครอบครัวตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวายบ้านถวายเป็นหมู่บ้านที่มีประวัติการตั้งหมู่บ้านจากการบอกเล่าสืบต่อกันมายาวนานหลายชั่วอายุคนว่าแต่เดิมนั้นมีชนกลุ่มหนึ่งซึ่งเรียกว่า "เผ่าลัวะ" ได้อพยพมาจากจอมทองมาตั้งหลักปักฐานอยู่บ้านถวายแต่ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าได้อพยพมานานเท่าไรไม่มีหลักฐานอะไรบอกได้นอกจากหลักฐานจากการสร้างวัดถวายเมื่อปีพ.ศ. 2248 (ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักรเล่มที่ 9 หน้า 159) ซึ่งเป็นช่วงที่เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระจากการยึดครองของพม่าจึงสันนิษฐานว่าบ้านถวายมีอายุไม่ต่ำกว่า 263 ปีเพราะการสร้างวัดมักเกิดจากความศรัทธาของชาวบ้านชุมชนหมู่บ้านจึงเกิดก่อนการมีวัดหรืออย่างน้อยที่สุดก็เกิดขึ้นในเวลาใกล้เคียงกันปัจจุบันสิ่งที่แสดงถึงความเก่าแก่ของบ้านถวายได้แก่เจดีย์ที่สร้างครอบของเก่าซุ้มพระพุทธรูปเคียงข้างเจดีย์และพระไตรปิฎกที่สร้างเมื่อพ.ศ. 2497ชุมชนบ้านถวายในอดีตผู้อาวุโสในหมู่บ้านได้เล่าว่าครั้งหนึ่งชาวบ้านได้ข่าวว่าพระนางจามเทวีจะเสด็จผ่านณ.ชุมชนแห่งนี้เพื่อเสด็จไปสร้างวัดละโว้ชึ่งห่างไปอีกประมาญ 3 กิโลเมตรชาวบ้านได้นัดแนะกันเพื่อจะถวายสิ่งของแก่พระนางเพื่อแสดงถึงการสักการะบูชาณ.จุดนี้จึงได้ชื่อว่าจุดถวายและได้เป็นชื่อของหมู่บ้านถวายต่อมาจนปัจจุบันตอนที่ยังเป็นเด็กมีบ้านเรือนตั้งอยู่กันไม่กี่หลังคาเรือนแต่ละหลังคาเรือนจะมีพื้นที่มากส่วนใหญ่ไม่มีรั้วกั้นหากจะมีก็เป็นรั้วไม้ไผ่ที่มีลักษณะไม่คงทนถาวรทุกครัวเรือนจะปลูกผักผลไม้ไว้ในบริเวณบ้านและสามารถขอกันกินขอกันใช้โดยไม่ต้องซื้อขายพ่ออุ้ยบอกว่าอาจเป็นเพราะว่าคนสมัยนั้นมีความซื่อสัตย์เก็บเอาพอกินเท่านั้นไม่มีการขโมยของกันหากของเราไม่มีเราก็ไปขอเขาบ้างเป็นการแลกเปลี่ยนกันฉะนั้นจึงอยู่กันแบบพี่แบบน้องชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่ายหน้าฝนก็ทำนาปลูกข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้วบ้างก็ออกไปรับจ้างนอกบ้านคือที่ในเมืองเชียงใหม่บ้างก็พักผ่อนอยู่กับบ้านการคมนาคมลำบากต้องเดินเท้าตลอดไม่มีรถจะมีก็เพียงเกวียนเท่านั้นถนนเป็นถนนดินต่อมาจึงมีการพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จากถนนดินเป็นถนนลูกรังบดอัดปัจจุบันถนนภายในหมู่บ้านทุกสายรวมทั้งถนนที่ติดต่อหมู่บ้านใกล้เคียงด้วยเป็นถนนลาดยางทำให้การคมนาคมและชีวิตความเป็นอยู่ด้านอื่น ๆ ของชุมชนบ้านถวายแตกต่างจากอดีตอย่างมากความเป็นมาของหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP กับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นบ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลขุนคงอำเภอหางดงจังหวัดเชียงใหม่เดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านเกษตรกรรมแต่เมื่อประสบภาวะการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งผลผลิตไม่ดีเท่าที่ควรทำให้ชาวบ้านมีฐานะยากจนดังนั้นหลังจากฤดูกาลเก็บเกี่ยวชาวบ้านส่วนใหญ่ก็จะออกไปรับจ้างทำงานก่อสร้างทั่วไปที่ในตัวเมืองและบางส่วนก็ออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยู่กับถิ่นฐานของตนเองจนกระทั่งปีพ.ศ. 2500 - พ.ศ.2505 ได้มีชาวบ้านจำนวน 3 คนคือพ่อใจมาอิ่นแก้วพ่อหนานแดงพันธุสาพ่อเฮือนพันธุศาสตร์ไปรับจ้างทำงานก่อสร้างในเมืองที่ร้านน้อมศิลป์บ้านวัวลายซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้นทั้งสามคนเกิดความสนใจในการแกะสลักจึงได้เปลี่ยนอาชีพมารับจ้างแกะสลักไม้ดังกล่าวเมื่อเกิดความชำนาญ ทางร้านก็ให้นำงานกลับมาทำที่บ้าน และเป็นจุดเริ่มต้นการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลาน ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน โดยไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย งานที่นำมาถ่ายทอดครั้งแรกคือการแกะสลักไม้เป็นแผ่นลวดลายต่างๆ เช่น ลายรามเกียรติ์ ครุฑ สิงห์ ตุ๊กตาดนตรี ต่อมาก็ทำตัวพระและรับซ่อมแซมตกแต่งของเก่าประเภทไม้ และเริ่มลอกเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อมแซม พร้อมทั้งออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง จากนั้นก็มีสตรีแม่บ้านของบ้านถวายออกไปรับจ้างทำแอนติค ทำสี ตกแต่งลวดลายเดินเส้น (ลายเส้นใช้วัสดุจากปูนขาว สีและชัน) ผสมให้เข้ากันตามส่วน นำมาทำเป็นเส้น เมื่อมีงานเพิ่มมากขึ้นทางร้านก็ให้นำกลับมาทำที่บ้านของตน คิดค่าจ้างเป็นรายชิ้นงานเสร็จก็นำไปส่งคืนให้กับทางร้าน ก็นับว่าเป็นโอกาสได้พบปะกับลูกค้าของทางร้าน ซึ่งลูกค้าได้ติดต่อขอที่อยู่ไว้และติดต่อเข้ามาซื้อโดยตรงทำให้เกิดธุรกิจในหมู่บ้านขึ้น โดยแต่ละบ้านจะปรับบริเวณของตนใช้หน้าบ้านเป็นร้านค้า ส่วนหลังบ้านก็ทำงานหัตถกรรมจนกลายเป็นหมู่บ้านหัตถกรรมไม้แกะสลักในครอบครัวตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

ว่า แต่เดิมนั้นมีชนกลุ่มหนึ่งซึ่งเรียกว่า "เผ่าลัวะ" ได้อพยพมาจากจอมทองมาตั้งหลักปักฐานอยู่บ้านถวาย พ.ศ. 2248 (ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักรเล่มที่ 9, หน้า 159) 263 ปี ชุมชน เจดีย์ที่สร้างครอบของเก่า พ.ศ. 2497
ชุมชนบ้านถวายในอดีตผู้อาวุโสในหมู่บ้านได้เล่าว่า ณ . ชุมชนแห่งนี้ 3 กิโลเมตร ณ . จุดนี้จึงได้ชื่อว่าจุดถวาย ตอนที่ยังเป็นเด็ก แต่ละหลังคาเรือนจะมีพื้นที่มากส่วนใหญ่ไม่มีรั้วกั้น พ่ออุ้ยบอกว่าอาจเป็นเพราะว่าคนสมัยนั้นมีความซื่อสัตย์เก็บเอาพอกินเท่านั้นไม่มีการขโมยของกันหากของเราไม่มีเราก็ไปขอเขาบ้างเป็นการแลกเปลี่ยนกันฉะนั้นจึงอยู่กันแบบพี่แบบน้องชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่าย หน้าฝนก็ทำนาปลูกข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้วบ้างก็ออกไปรับจ้างนอกบ้านคือที่ในเมืองเชียงใหม่บ้างก็พักผ่อนอยู่กับบ้านการคมนาคมลำบากต้องเดินเท้าตลอดไม่มีรถจะมีก็เพียงเกวียนเท่านั้นถนนเป็นถนนดินต่อ มาจึงมีการพัฒนาขึ้นเรื่อย ๆ จากถนนดินเป็นถนนลูกรังบดอัดปัจจุบันถนนภายในหมู่บ้านทุกสาย ทำให้
โอทอป
อำเภอหางดงจังหวัดเชียงใหม่ ทำให้ชาวบ้านมีฐานะยากจน อยู่กับถิ่นฐานของตนเอง
จนกระทั่งปี พ.ศ. 2500 - พ.ศ. 2505 ได้มีชาวบ้านจำนวน 3 คนคือพ่อใจมาอิ่นแก้วพ่อหนานแดงพันธุสาพ่อเฮือนพันธุศาสตร์ บ้านวัวลาย ทั้งสามคน
ทางร้านก็ให้นำงานกลับมาทำที่บ้าน ญาติพี่น้องเพื่อนบ้านโดยไม่หวงความรู้แม้แต่น้อย เช่นลายรามเกียรติ์ครุฑสิงห์ตุ๊กตาดนตรี ทำสีตกแต่งลวดลายเดินเส้น (ลายเส้นใช้วัสดุจากปูนขาวสีและชัน) ผสมให้เข้ากันตามส่วนนำมาทำเป็นเส้น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาของชุมชนบ้านถวาย
บ้านถวายเป็นหมู่บ้านที่มีประวัติการตั้งหมู่บ้านจากการบอกเล่าสืบต่อกันมายาวนานหลายชั่วอายุคนว่าแต่เดิมนั้นมีชนกลุ่มหนึ่งซึ่งเรียกว่า " เผ่าลัวะ " ได้อพยพมาจากจอมทองมาตั้งหลักปักฐานอยู่บ้านถวายไม่มีหลักฐานอะไรบอกได้นอกจากหลักฐานจากการสร้างวัดถวายเมื่อปีพ .ศ . 2248 ( ประวัติวัดทั่วราชอาณาจักรเล่มที่ 9หน้า 159 ) ซึ่งเป็นช่วงที่เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระจากการยึดครองของพม่าจึงสันนิษฐานว่าบ้านถวายมีอายุไม่ต่ำกว่า 263 เพราะการสร้างวัดมักเกิดจากความศรัทธาของชาวบ้านชุมชน .ปัจจุบันสิ่งที่แสดงถึงความเก่าแก่ของบ้านถวายได้แก่เจดีย์ที่สร้างครอบของเก่าซุ้มพระพุทธรูปเคียงข้างเจดีย์และพระไตรปิฎกที่สร้างเมื่อพ .ศ . 2497
ชุมชนบ้านถวายในอดีตผู้อาวุโสในหมู่บ้านได้เล่าว่าครั้งหนึ่งชาวบ้านได้ข่าวว่าพระนางจามเทวีจะเสด็จผ่านณ .ชุมชนแห่งนี้เพื่อเสด็จไปสร้างวัดละโว้ชึ่งห่างไปอีกประมาญ 3 กิโลเมตรชาวบ้านได้นัดแนะกันเพื่อจะถวายสิ่งของแก่พระนางเพื่อแสดงถึงการสักการะบูชาณ .จุดนี้จึงได้ชื่อว่าจุดถวายและได้เป็นชื่อของหมู่บ้านถวายต่อมาจนปัจจุบันตอนที่ยังเป็นเด็กมีบ้านเรือนตั้งอยู่กันไม่กี่หลังคาเรือนแต่ละหลังคาเรือนจะมีพื้นที่มากส่วนใหญ่ไม่มีรั้วกั้นทุกครัวเรือนจะปลูกผักผลไม้ไว้ในบริเวณบ้านและสามารถขอกันกินขอกันใช้โดยไม่ต้องซื้อขายพ่ออุ้ยบอกว่าอาจเป็นเพราะว่าคนสมัยนั้นมีความซื่อสัตย์เก็บเอาพอกินเท่านั้นไม่มีการขโมยของกันเป็นการแลกเปลี่ยนกันฉะนั้นจึงอยู่กันแบบพี่แบบน้องชีวิตอยู่กันอย่างเรียบง่ายหน้าฝนก็ทำนาปลูกข้าวหลังฤดูเก็บเกี่ยวข้าวแล้วบ้างก็ออกไปรับจ้างนอกบ้านคือที่ในเมืองเชียงใหม่บ้างก็พักผ่อนอยู่กับบ้านไม่มีรถจะมีก็เพียงเกวียนเท่านั้นถนนเป็นถนนดินต่อมาจึงมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆจากถนนดินเป็นถนนลูกรังบดอัดปัจจุบันถนนภายในหมู่บ้านทุกสายรวมทั้งถนนที่ติดต่อหมู่บ้านใกล้เคียงด้วยเป็นถนนลาดยางทำให้ของชุมชนบ้านถวายแตกต่างจากอดีตอย่างมาก
ความเป็นมาของหมู่บ้านท่องเที่ยว OTOP กับการสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
บ้านถวายเป็นหมู่บ้านหนึ่งในตำบลขุนคงอำเภอหางดงเดิมชาวบ้านประกอบอาชีพหลักทางด้านเกษตรกรรมแต่เมื่อประสบภาวะการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้งผลผลิตไม่ดีเท่าที่ควรทำให้ชาวบ้านมีฐานะยากจน Thanawat Thongtanและบางส่วนก็ออกไปค้าขายไม่ได้ประกอบอาชีพอยู่กับถิ่นฐานของตนเอง
จนกระทั่งปีพ . ศ . 2500 - พ . ศ .2505 ได้มีชาวบ้านจำนวน 3 คนความพ่อใจมาอิ่นแก้วพ่อหนานแดงพันธุสาพ่อเฮือนพันธุศาสตร์ไปรับจ้างทำงานก่อสร้างในเมืองที่ร้านน้อมศิลป์บ้านวัวลายซึ่งเป็นร้านจำหน่ายไม้แกะสลักที่โด่งดังในช่วงนั้นทั้งสามคนเมื่อเกิดความชำนาญทางร้านก็ให้นำงานกลับมาทำที่บ้านและเป็นจุดเริ่มต้นการถ่ายทอดงานแกะสลักไม้ให้แก่ลูกหลานญาติพี่น้องเพื่อนบ้านโดยไม่หวงความรู้แม้แต่น้อยเช่นลายรามเกียรติ์ครุฑสิงห์ตุ๊กตาดนตรีต่อมาก็ทำตัวพระและรับซ่อมแซมตกแต่งของเก่าประเภทไม้และเริ่มลอกเลียนแบบของเก่าที่มีผู้นำมาซ่อมแซมพร้อมทั้งออกแบบที่เป็นเอกลักษณ์ของตนเองทำสีตกแต่งลวดลายเดินเส้น ( ลายเส้นใช้วัสดุจากปูนขาวสีและชัน ) ผสมให้เข้ากันตามส่วนนำมาทำเป็นเส้นเมื่อมีงานเพิ่มมากขึ้นทางร้านก็ให้นำกลับมาทำที่บ้านของตนก็นับว่าเป็นโอกาสได้พบปะกับลูกค้าของทางร้านซึ่งลูกค้าได้ติดต่อขอที่อยู่ไว้และติดต่อเข้ามาซื้อโดยตรงทำให้เกิดธุรกิจในหมู่บ้านขึ้นโดยแต่ละบ้านจะปรับบริเวณของตนใช้หน้าบ้านเป็นร้านค้า
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: