ดร.การดี

ดร.การดี" ฉายภาพความสุขของคนเอเชียผ

ดร.การดี" ฉายภาพความสุขของคนเอเชียผ่านค่าดัชนีความสุข ทั้งยังวิเคราะห์เชื่อมโยงถึงตัวเลข GDP พบว่าชาวสิงคโปร์มีค่าดัชนีความสุขต่ำสุดในอาเซียน
ถ้าพูดถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วันเศรษฐกิจที่สำคัญ เรามักก็จะอ้างอิงถึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ GDP (Gross Domestic Product) อัตราการเติบโตของมูลค่า GDP บอกถึงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ คนในประเทศน่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น การจ้างงานมากขึ้นกว่าปีที่แล้ว
GDP มักถูกใช้เป็นค่าบ่งชี้ถึงความมั่งคั่งและมาตรฐานการครองชีพของคนในประเทศนั้นๆนั่นเอง เนื่องจากสามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้ และมีการนำมูลค่าต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งในแต่ละปีจะมีสถาบันและองค์กรระหว่างประเทศชั้นนำต่างๆ ออกมาจัดทำรายงานและแสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดต่างๆ พร้อมทั้งจัดอันดับศักยภาพทางเศรษฐกิจจนกลายเป็นมาตรฐานการชี้วัดเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับโลก
แต่ต้องอย่าลืมว่าตัวเลขที่เรามักพูดถึงกันอย่างแพร่หลายในการรายงานข่าวเศรษฐกิจนี้ ไม่ได้มีการคำนึงการใช้ทรัพยากรว่าให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใด ไม่บ่งบอกถึงการสูญเสียจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ได้คำนึงถึงคุณภาพของสินค้าและบริการ ไม่ได้ใส่ใจว่าผู้คนทำงานหนักขึ้นหรือไม่ ไม่ได้สนใจว่าคนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ และที่สำคัญไม่ได้บ่งบอกว่าคนในประเทศนั้นๆมี “ความสุข” หรือไม่
เมื่อ GDP และความมั่งคั่งไม่ได้บ่งบอกถึงความสุข ในขณะที่อีกด้านหนึ่ง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีความพยายามในการพัฒนาดัชนีความสุขของประชาชนในประเทศ โดยใช้ทฤษฎีความสุขมวลรวมประชาชาติ Gross National Happiness (GNH) ซึ่งดัชนีดังกล่าวได้ให้ความสำคัญต่อความสุขของคนในชาติมากกว่าการวัดด้วยตัวเลขหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP)
รวยกว่าไม่ได้แปลว่ามีความสุขกว่าเสมอไป สำหรับประเทศในอาเซียนเป็นที่ทราบกันดีกว่าหากวัดความสำเร็จทางด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ สิงคโปร์จัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในอาเซียน มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 1.53 ล้านบาทต่อปี ในขณะที่ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 1.7 แสนบาทต่อคนต่อปี
เวียดนามมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 49,000 บาทต่อคนต่อปี และสหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต่ำที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 25,000 บาทต่อคนต่อปี ซึ่งถ้าหากวัดจากรายได้ของประชากรในประเทศแล้วสิงคโปร์จะเป็นประเทศที่ประชากรมีความสุขที่สุดในอาเซียน เพราะชาวสิงคโปร์มีรายได้สูงหรือมากกว่าชาวไทย 9 เท่าตัว และมีรายได้มากกว่าชาวเมียนมาร์ถึง 61 เท่าตัว
การวัดดัชนีความสุข (Happy Planet Index: HPI) ซึ่งเป็นการวัดความสุขของมูลนิธิเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economics Foundation) เป็นการสะท้อนความสมดุลทั้งความสุขทางกายและทางใจไปพร้อมๆ กัน รวมถึงการสร้างความสุขให้กับสังคมด้วย ซึ่งประกอบไปด้วยหลักที่สำคัญ 3 ประการ คือ
(1) ความพึงพอใจในการมีชีวิต (Life satisfaction) ประชาชนมีความพึงพอใจกับเทคโนโลยีการศึกษา การบริหารงานของรัฐบาลที่โปร่งใส สภาพความเป็นอยู่ฯลฯ
(2) ชีวิตอายุยืนยาว (Life expectancy) การใช้ชีวิตให้ยืนยาว และมีความสุขได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอยู่ และ
(3) การรักษาระบบนิเวศ (Ecology Footprint) ดูแลควบคุมอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์และสัตว์
จากผลการจัดอันดับดัชนีโลกมีสุขในปี 2012 พบว่า เวียดนามเป็นประเทศที่มีความสุขมากที่สุดในอาเซียน และเป็นประเทศที่มีความสุขมากเป็นอันดับ 2 ของโลก (จาก 151 ประเทศทั่วโลก) รองลงมาในกลุ่มอาเซียน คือ อินโดนีเซียและประเทศไทย และประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความสุขมากน้อยที่สุดในอาเซียน
ในขณะที่หลายคนรู้สึกอิจฉา “ชาวสิงคโปร์” ที่ทุกดัชนีชี้วัดศักยภาพของประเทศของสิงค์โปร์อยู่ในอันดับต้นๆของภูมิภาคและของโลกทั้งสิ้น แต่ดัชนีความสุขของชาวสิงคโปร์กลับมีค่าต่ำสุดในอาเซียน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พบว่าชาวสิงคโปร์มีค่าดัชนีความสุขต่ำสุดในอาเซียนดร.การดี"ฉายภาพความสุขของคนเอเชียผ่านค่าดัชนีความสุขทั้งยังวิเคราะห์เชื่อมโยงถึงตัวเลข GDPถ้าพูดถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วันเศรษฐกิจที่สำคัญเรามักก็จะอ้างอิงถึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศหรือ GDP (ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ) อัตราการเติบโตของมูลค่า GDP บอกถึงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจคนในประเทศน่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้นการจ้างงานมากขึ้นกว่าปีที่แล้วGDP มักถูกใช้เป็นค่าบ่งชี้ถึงความมั่งคั่งและมาตรฐานการครองชีพของคนในประเทศนั้นๆนั่นเองเนื่องจากสามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้และมีการนำมูลค่าต่าง ๆ มาอ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรมซึ่งในแต่ละปีจะมีสถาบันและองค์กรระหว่างประเทศชั้นนำต่าง ๆ ออกมาจัดทำรายงานและแสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดต่าง ๆ พร้อมทั้งจัดอันดับศักยภาพทางเศรษฐกิจจนกลายเป็นมาตรฐานการชี้วัดเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับโลกแต่ต้องอย่าลืมว่าตัวเลขที่เรามักพูดถึงกันอย่างแพร่หลายในการรายงานข่าวเศรษฐกิจนี้ไม่ได้มีการคำนึงการใช้ทรัพยากรว่าให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใดไม่บ่งบอกถึงการสูญเสียจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติไม่ได้คำนึงถึงคุณภาพของสินค้าและบริการไม่ได้ใส่ใจว่าผู้คนทำงานหนักขึ้นหรือไม่ไม่ได้สนใจว่าคนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่และที่สำคัญไม่ได้บ่งบอกว่าคนในประเทศนั้นๆมี "ความสุข"เมื่อ GDP และความมั่งคั่งไม่ได้บ่งบอกถึงความสุขในขณะที่อีกด้านหนึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีความพยายามในการพัฒนาดัชนีความสุขของประชาชนในประเทศโดยใช้ทฤษฎีความสุขมวลรวมประชาชาติรวมสุขชาติ (GNH) ซึ่งดัชนีดังกล่าวได้ให้ความสำคัญต่อความสุขของคนในชาติมากกว่าการวัดด้วยตัวเลขหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP)รวยกว่าไม่ได้แปลว่ามีความสุขกว่าเสมอไปสำหรับประเทศในอาเซียนเป็นที่ทราบกันดีกว่าหากวัดความสำเร็จทางด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศสิงคโปร์จัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในอาเซียนมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 1.53 ล้านบาทต่อปีในขณะที่ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 1.7 แสนบาทต่อคนต่อปีเวียดนามมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 49,000 บาทต่อคนต่อปีและสหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต่ำที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 25000 บาทต่อคนต่อปีซึ่งถ้าหากวัดจากรายได้ของประชากรในประเทศแล้วสิงคโปร์จะเป็นประเทศที่ประชากรมีความสุขที่สุดในอาเซียนเพราะชาวสิงคโปร์มีรายได้สูงหรือมากกว่าชาวไทย 9 เท่าตัวและมีรายได้มากกว่าชาวเมียนมาร์ถึง 61 เท่าตัวการวัดดัชนีความสุข (ดัชนีความสุขโลก: HPI) ซึ่งเป็นการวัดความสุขของมูลนิธิเศรษฐศาสตร์ใหม่ (มูลนิธิเศรษฐศาสตร์ใหม่) เป็นการสะท้อนความสมดุลทั้งความสุขทางกายและทางใจไปพร้อม ๆ กันรวมถึงการสร้างความสุขให้กับสังคมด้วยซึ่งประกอบไปด้วยหลักที่สำคัญ 3 ประการคือ(1) ความพึงพอใจในการมีชีวิต (ความพึงพอใจชีวิต) ประชาชนมีความพึงพอใจกับเทคโนโลยีการศึกษาการบริหารงานของรัฐบาลที่โปร่งใสสภาพความเป็นอยู่ฯลฯ(2) และชีวิตอายุยืนยาว (อายุขัย) การใช้ชีวิตให้ยืนยาวและมีความสุขได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอยู่(3) ดูแลควบคุมอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์และสัตว์การรักษาระบบนิเวศ (รอยเท้านิเวศ)จากผลการจัดอันดับดัชนีโลกมีสุขในปี 2012 พบว่าเวียดนามเป็นประเทศที่มีความสุขมากที่สุดในอาเซียนและเป็นประเทศที่มีความสุขมากเป็นอันดับ 2 ของโลก (จาก 151 ประเทศทั่วโลก) รองลงมาในกลุ่มอาเซียนคืออินโดนีเซียและประเทศไทยและประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความสุขมากน้อยที่สุดในอาเซียนในขณะที่หลายคนรู้สึกอิจฉา "ชาวสิงคโปร์" ที่ทุกดัชนีชี้วัดศักยภาพของประเทศของสิงค์โปร์อยู่ในอันดับต้นๆของภูมิภาคและของโลกทั้งสิ้นแต่ดัชนีความสุขของชาวสิงคโปร์กลับมีค่าต่ำสุดในอาเซียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ดร.การดี" ฉายภาพความสุขของคนเอเชียผ่านค่าดัชนีความสุข ทั้งยังวิเคราะห์เชื่อมโยงถึงตัวเลข GDP พบว่าชาวสิงคโปร์มีค่าดัชนีความสุขต่ำสุดในอาเซียน
ถ้าพูดถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วันเศรษฐกิจที่สำคัญ เรามักก็จะอ้างอิงถึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ หรือ GDP (Gross Domestic Product) อัตราการเติบโตของมูลค่า GDP บอกถึงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ คนในประเทศน่าจะมีรายได้เพิ่มขึ้น การจ้างงานมากขึ้นกว่าปีที่แล้ว
GDP มักถูกใช้เป็นค่าบ่งชี้ถึงความมั่งคั่งและมาตรฐานการครองชีพของคนในประเทศนั้นๆนั่นเอง เนื่องจากสามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้ และมีการนำมูลค่าต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งในแต่ละปีจะมีสถาบันและองค์กรระหว่างประเทศชั้นนำต่างๆ ออกมาจัดทำรายงานและแสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดต่างๆ พร้อมทั้งจัดอันดับศักยภาพทางเศรษฐกิจจนกลายเป็นมาตรฐานการชี้วัดเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับโลก
แต่ต้องอย่าลืมว่าตัวเลขที่เรามักพูดถึงกันอย่างแพร่หลายในการรายงานข่าวเศรษฐกิจนี้ ไม่ได้มีการคำนึงการใช้ทรัพยากรว่าให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใด ไม่บ่งบอกถึงการสูญเสียจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ ไม่ได้คำนึงถึงคุณภาพของสินค้าและบริการ ไม่ได้ใส่ใจว่าผู้คนทำงานหนักขึ้นหรือไม่ ไม่ได้สนใจว่าคนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่ และที่สำคัญไม่ได้บ่งบอกว่าคนในประเทศนั้นๆมี “ความสุข” หรือไม่
เมื่อ GDP และความมั่งคั่งไม่ได้บ่งบอกถึงความสุข ในขณะที่อีกด้านหนึ่ง ในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีความพยายามในการพัฒนาดัชนีความสุขของประชาชนในประเทศ โดยใช้ทฤษฎีความสุขมวลรวมประชาชาติ Gross National Happiness (GNH) ซึ่งดัชนีดังกล่าวได้ให้ความสำคัญต่อความสุขของคนในชาติมากกว่าการวัดด้วยตัวเลขหรือผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP)
รวยกว่าไม่ได้แปลว่ามีความสุขกว่าเสมอไป สำหรับประเทศในอาเซียนเป็นที่ทราบกันดีกว่าหากวัดความสำเร็จทางด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ สิงคโปร์จัดได้ว่าเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจที่เจริญรุ่งเรืองมากที่สุดในอาเซียน มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 1.53 ล้านบาทต่อปี ในขณะที่ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 1.7 แสนบาทต่อคนต่อปี
เวียดนามมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 49,000 บาทต่อคนต่อปี และสหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต่ำที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 25,000 บาทต่อคนต่อปี ซึ่งถ้าหากวัดจากรายได้ของประชากรในประเทศแล้วสิงคโปร์จะเป็นประเทศที่ประชากรมีความสุขที่สุดในอาเซียน เพราะชาวสิงคโปร์มีรายได้สูงหรือมากกว่าชาวไทย 9 เท่าตัว และมีรายได้มากกว่าชาวเมียนมาร์ถึง 61 เท่าตัว
การวัดดัชนีความสุข (Happy Planet Index: HPI) ซึ่งเป็นการวัดความสุขของมูลนิธิเศรษฐศาสตร์ใหม่ (New Economics Foundation) เป็นการสะท้อนความสมดุลทั้งความสุขทางกายและทางใจไปพร้อมๆ กัน รวมถึงการสร้างความสุขให้กับสังคมด้วย ซึ่งประกอบไปด้วยหลักที่สำคัญ 3 ประการ คือ
(1) ความพึงพอใจในการมีชีวิต (Life satisfaction) ประชาชนมีความพึงพอใจกับเทคโนโลยีการศึกษา การบริหารงานของรัฐบาลที่โปร่งใส สภาพความเป็นอยู่ฯลฯ
(2) ชีวิตอายุยืนยาว (Life expectancy) การใช้ชีวิตให้ยืนยาว และมีความสุขได้ภายใต้สภาพแวดล้อมที่มีอยู่ และ
(3) การรักษาระบบนิเวศ (Ecology Footprint) ดูแลควบคุมอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์และสัตว์
จากผลการจัดอันดับดัชนีโลกมีสุขในปี 2012 พบว่า เวียดนามเป็นประเทศที่มีความสุขมากที่สุดในอาเซียน และเป็นประเทศที่มีความสุขมากเป็นอันดับ 2 ของโลก (จาก 151 ประเทศทั่วโลก) รองลงมาในกลุ่มอาเซียน คือ อินโดนีเซียและประเทศไทย และประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีความสุขมากน้อยที่สุดในอาเซียน
ในขณะที่หลายคนรู้สึกอิจฉา “ชาวสิงคโปร์” ที่ทุกดัชนีชี้วัดศักยภาพของประเทศของสิงค์โปร์อยู่ในอันดับต้นๆของภูมิภาคและของโลกทั้งสิ้น แต่ดัชนีความสุขของชาวสิงคโปร์กลับมีค่าต่ำสุดในอาเซียน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ดร . การดี " ฉายภาพความสุขของคนเอเชียผ่านค่าดัชนีความสุขทั้งยังวิเคราะห์เชื่อมโยงถึงตัวเลข GDP พบว่าชาวสิงคโปร์มีค่าดัชนีความสุขต่ำสุดในอาเซียน
ถ้าพูดถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและตัวชี้วันเศรษฐกิจที่สำคัญเรามักก็จะอ้างอิงถึงมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศค็อค GDP ( ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ) อัตราการเติบโตของมูลค่า GDP บอกถึงอัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจการจ้างงานมากขึ้นกว่าปีที่แล้ว
GDP มักถูกใช้เป็นค่าบ่งชี้ถึงความมั่งคั่งและมาตรฐานการครองชีพของคนในประเทศนั้นๆนั่นเองเนื่องจากสามารถวัดค่าเป็นตัวเลขได้และมีการนำมูลค่าต่างๆมาอ้างอิงได้อย่างเป็นรูปธรรมออกมาจัดทำรายงานและแสดงมูลค่าทางเศรษฐกิจและตัวชี้วัดต่างๆพร้อมทั้งจัดอันดับศักยภาพทางเศรษฐกิจจนกลายเป็นมาตรฐานการชี้วัดเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคและระดับโลก
แต่ต้องอย่าลืมว่าตัวเลขที่เรามักพูดถึงกันอย่างแพร่หลายในการรายงานข่าวเศรษฐกิจนี้ไม่ได้มีการคำนึงการใช้ทรัพยากรว่าให้เกิดประโยชน์มากน้อยเพียงใดไม่บ่งบอกถึงการสูญเสียจากการทำลายทรัพยากรธรรมชาติไม่ได้ใส่ใจว่าผู้คนทำงานหนักขึ้นหรือไม่ไม่ได้สนใจว่าคนจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นหรือไม่และที่สำคัญไม่ได้บ่งบอกว่าคนในประเทศนั้นๆมี " ความสุข " หรือไม่
เมื่อ GDP และความมั่งคั่งไม่ได้บ่งบอกถึงความสุขในขณะที่อีกด้านหนึ่งในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีความพยายามในการพัฒนาดัชนีความสุขของประชาชนในประเทศโดยใช้ทฤษฎีความสุขมวลรวมประชาชาติความสุขมวลรวมประชาชาติ ( จีเอ็นเอช )( GDP )
รวยกว่าไม่ได้แปลว่ามีความสุขกว่าเสมอไปสำหรับประเทศในอาเซียนเป็นที่ทราบกันดีกว่าหากวัดความสำเร็จทางด้านการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศมีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีสูงที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 153 ล้านบาทต่อปีในขณะที่ประเทศไทยมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 1.7 แสนบาทต่อคนต่อปี
เวียดนามมีรายได้เฉลี่ยต่อคนประมาณ 49000 บาทต่อคนต่อปีและสหภาพเมียนมาร์เป็นประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีต่ำที่สุดในอาเซียนหรือประมาณ 25000 บาทต่อคนต่อปีซึ่งถ้าหากวัดจากรายได้ของประชากรในประเทศแล้วสิงคโปร์จะเป็นประเทศที่ประชากรมีความสุขที่สุดในอาเซียนเพราะชาวสิงคโปร์มีรายได้สูงหรือมากกว่าชาวไทย 9 เท่าตัว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: