พาเปิดรายการเลือกหลัก
Last edited 22 days ago by Kuruni
พลังงานลมเฝ้าดูหน้านี้
This page has some issues
กังหันลมแห่งหนึ่งในเยอรมนี สำหรับเปลี่ยนพลังงานลมมาเป็นพลังงานไฟฟ้า
พลังงานทดแทน
เชื้อเพลิงชีวภาพ
มวลชีวภาพ
พลังงานความร้อนใต้พิภพ
พลังงานน้ำ
พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานน้ำขึ้นน้ำลง
พลังงานคลื่น
พลังงานลม
กังหันโรงสีใน Greetsiel, Germany
กังหันสูบน้ำที่ Oak Park Farm, Shedd, Oregon
ใบเรือ มนุษย์ใช้ประโยชน์จากพลังงานลมมาแต่โบราณ
พลังงานลม เป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ ความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลก สิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลมและกำลังลม เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเอง ซึ่งในบางครั้งแรงที่เกิดจากลมอาจทำให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพังทลายต้นไม้ หักโค่นลง สิ่งของวัตถุต่าง ๆ ล้มหรือปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำคัญและนำพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้น เนื่องจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไป ไม่ต้องซื้อหา เป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อม และสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิ้น พลังงานลมก็เหมือนกับพลังงานแสงอาทิตย์คือไม่ต้องซื้อ ซึ่งปัจจุบันได้มีการนำเอาพลังงานลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้น พื้นที่ยังมีปัญหาในการวิจัยพัฒนานำเอาพลังงานลมมาใช้งานเนื่องจากปริมาณของลมไม่สม่ำเสมอตลอดปี แต่ก็ยังคงมีพื้นที่บางพื้นที่สามารถนำเอาพลังงานลมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เช่น พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นต้น ซึ่งอุปกรณ์ที่ช่วยในการเปลี่ยนจากพลังงานลมออกมาเป็นพลังงานในรูปอื่น ๆ เช่น ใชั กังหันลม ( windturbine) เพื่อเปลี่ยนให้เป็น พลังงานไฟฟ้า, กังหันโรงสี (หรือwindmill) เพื่อเปลี่ยนให้เป็น พลังงานกล คือเมื่อต่อเข้ากับระหัดวิดน้ำเพื่อระบายน้ำหรือต่อเข้ากับจักรกลก็สามารถใช้สีข้าวหรือนวดแป้งได้, กังหันสูบน้ำ (หรือ windpump,sails หรือใบเรือ เพื่อขับเคลื่อนเรือ เป็นต้น
windfarm จะประกอบด้วยกังหันลมเป็นจำนวนมาก และต่อเข้ากับสายส่งกลางเพื่อผลิตไฟฟ้าให้กับผู้ผลิตไฟฟ้าหลัก (ในไทยคือ กฟผ) ลมในทะเลจะมีความแรงและแน่นอนกว่าลมบนบก แต่การสร้างในทะเลถึงจะไม่ทำให้รกหูรกตามากนักแต่ค่าใช้จ่ายและการบำรุงรักษาจะแพงกว่าการสร้างบนบกมากเลยทีเดียว แต่ก็ไม่แพงไปกว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วไป
พลังงานลมถูกนำมาใช้เป็นพลังงานทางเลือกเพื่อมาแทนทีพลังงานฟอสซิล มีปริมาณมาก มีอยู่ทั่วไป สะอาด หมุนเวียนได้ และมีผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมน้อยมาก พลังงานลมมีความสม่ำเสมอในแต่ละปี อาจมีบางช่วงที่ขาดหายไปบ้างแต่ก็จะไม่สร้างปัญหาในการผลิตไฟฟ้าถ้าออกแบบให้มีประสิทธิภาพเพียง 20% ของปริมาณความต้องการไฟฟ้าทั้งหมด การติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิดจะสามารถลดปัญหาลงได้
พลังงานลมในปัจจุบัน
2 ทศวรรษแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก่อให้เกิดกังหันลมที่ทันสมัยที่มีอุปกรณ์ทำงานร่วมกันได้และติดตั้งได้รวดเร็ว ในปัจจุบัน กังหันลมสมัยใหม่เพียงตัวเดียวมีพลังมากกว่ากังหันลมขนาดเท่ากันเมื่อ 2 ทศวรรษที่แล้ว 100 เท่า และปัจจุบันฟาร์มกังหันลมให้พลังงานมากเท่ากับโรงไฟฟ้าทั่วไป
ปี 2012 ประเทศจีนเป็นผู้นำในการติดตั้งพลังงานลม โดยมีการติดตั้งไปแล้ว 75,564 MW ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา 60,007 MW และเยอรมนี 31,332 MW รวมทั้งโลก 282,482 MW[1]
ในขณะที่ตลาดพลังงานลมเติบโต พลังงานลมมีค่าใช้จ่ายในการผลิตลดลง 50% ใน 15 ปีที่ผ่านมา ปัจจุบันกังหันลมในสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสามารถแข่งขันกับโรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหิน และในบางสถานที่สามารถเป็นคู่แข่งกับก๊าซได้
พลังงานลมภายใน พ.ศ. 2563
เนื่องจากพลังงานลมที่ติดตั้งแล้วมีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น 30% ใน 2-3 ปีที่ผ่านมา จึงเป็นไปได้อย่างแท้จริงที่จะตั้งเป้าหมายให้ลมผลิตพลังงาน 12% ของพลังงานทั้งโลก ภายในพ.ศ. 2563 ในช่วงที่พลังงานลมผลิตพลังงาน จะสร้างงานให้คน 2 ล้านคน และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 10,700 ล้านตัน
ขนาดและกำลังการผลิตของกังหันลมโดยทั่วไปที่ได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องทำให้ภายในพ.ศ. 2563 ราคาของพลังงานลมที่ตั้งอยู่ในสถานที่เหมาะสมคาดว่าจะตกลงไปอยู่ที่ 86 สตางค์ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ซึ่งน้อยกว่า 1.33 บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ในพ.ศ. 2546 หรือลดลง 36% ค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวมการเชื่อมต่อกับสายส่งไฟฟ้า แต่มันเป็นปัจจัยหนึ่งสำหรับสถานีพลังงานเกือบทุกชนิด ไม่ใช่เพียงพลังงานลม
พลังงานลมหลัง พ.ศ. 2563
ทรัพยากรพลังงานลมของโลกมีจำนวนมากมายมหาศาลและกระจายไปเกือบทุกภูมิภาคและประเทศต่าง ๆ การใช้เทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้พลังงานลมสามารถผลิตพลังงานได้ประมาณ 53,000 เทราวัตต์ชั่วโมง (TWh) ต่อปี ซึ่งมากกว่าความต้องการพลังงานของโลกที่คาดการณ์ไว้ในพ.ศ. 2563 มากกว่า 2 เท่า ทำให้อุตสาหกรรมพลังงานลมมีโอกาสเติบโตสูงแม้ในหลายทศวรรษจากปัจจุบัน สหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวมีศักยภาพการผลิตพลังงานลมเพื่อตอบสนองความต้องการพลังงานในประเทศได้มากกว่า 3 เท่า
ข้อดีของพลังงานลมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยลดระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน นี่เป็นประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดของการผลิตพลังงานลม นอกจากนี้พลังงานลมยังปราศจากสารก่อมลพิษอื่น ๆ ที่เกิดจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อีกด้วยมีความสมดุลด้านพลังงานที่ดีเยี่ยม การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ที่เกิดจากการผลิต ติดตั้ง และให้บริการของกังหันลมที่มีช่วงอายุโดยเฉลี่ย 20 ปีถูก "ทดแทน" หลังดำเนินการผลิต 3-6 เดือน ซึ่งเท่ากับการผลิตพลังงานมากกว่า 19 ปีโดยแทบไม่มีค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมเลยดำเนินงานได้รวดเร็ว ฟาร์มกังหันลมสามารถสร้างเสร็จสิ้นภายในไม่กี่สัปดาห์ โดยใช้รถเครนติดตั้งหอคอยของกังหันลม ส่วนเชื่อมต่อกับปีกหมุน (โครงยึด) และ ใบพัดเหนือฐานคอนกรีตเสริมกำลัง ด้วยเงินลงทุนที่เท่ากัน พลังงานลมสร้างงานมากกว่าเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 5 เท่า และผลิตพลังงานได้มากกว่า 2.3 เท่าเป็นแหล่งพลังงานที่น่าเชื่อถือและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เนื่องจากลมที่ใช้ขับเคลื่อนกังหันลมไม่มีค่าใช้จ่ายตลอดกาล และไม่ถูกกระทบโดยราคาของเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ขึ้น ๆ ลง ๆ นอกจากนี้ยังไม่ต้องอาศัยการทำเหมือง ขุดเจาะ หรือ ขนส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟ้า ในขณะที่ราคาเชื้อเ
พาเปิดรายการเลือกหลักแก้ไขครั้งล่าสุด 22 เดือน โดย Kuruniพลังงานลมเฝ้าดูหน้านี้หน้านี้มีปัญหาบางอย่างกังหันลมแห่งหนึ่งในเยอรมนีสำหรับเปลี่ยนพลังงานลมมาเป็นพลังงานไฟฟ้าพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงชีวภาพมวลชีวภาพพลังงานความร้อนใต้พิภพพลังงานน้ำพลังงานแสงอาทิตย์พลังงานน้ำขึ้นน้ำลงพลังงานคลื่นพลังงานลมกังหันโรงสีใน Greetsiel เยอรมนีฟาร์มกังหันสูบน้ำที่ Oak Park, Shedd ออริกอนใบเรือมนุษย์ใช้ประโยชน์จากพลังงานลมมาแต่โบราณพลังงานลมเป็นพลังงานตามธรรมชาติที่เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิความกดดันของบรรยากาศและแรงจากการหมุนของโลกสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเร็วลมและกำลังลมเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่าลมเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่มีอยู่ในตัวเองซึ่งในบางครั้งแรงที่เกิดจากลมอาจทำให้บ้านเรือนที่อยู่อาศัยพังทลายต้นไม้หักโค่นลงสิ่งของวัตถุต่างๆ ล้มหรือปลิวลอยไปตามลมฯลฯ ในปัจจุบันมนุษย์จึงได้ให้ความสำคัญและนำพลังงานจากลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้นเนื่องจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไปไม่ต้องซื้อหาเป็นพลังงานที่สะอาดไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสภาพแวดล้อมและสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่รู้จักหมดสิ้นพลังงานลมก็เหมือนกับพลังงานแสงอาทิตย์คือไม่ต้องซื้อซึ่งปัจจุบันได้มีการนำเอาพลังงานลมมาใช้ประโยชน์มากขึ้นพื้นที่ยังมีปัญหาในการวิจัยพัฒนานำเอาพลังงานลมมาใช้งานเนื่องจากปริมาณของลมไม่สม่ำเสมอตลอดปีแต่ก็ยังคงมีพื้นที่บางพื้นที่สามารถนำเอาพลังงานลมมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้เช่นพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นต้นซึ่งอุปกรณ์ที่ช่วยในการเปลี่ยนจากพลังงานลมออกมาเป็นพลังงานในรูปอื่นๆ เช่นใชักังหันลม (windturbine) เพื่อเปลี่ยนให้เป็นพลังงานไฟฟ้า คือเมื่อต่อเข้ากับระหัดวิดน้ำเพื่อระบายน้ำหรือต่อเข้ากับจักรกลก็สามารถใช้สีข้าวหรือนวดแป้งได้พลังงานกลเพื่อเปลี่ยนให้เป็นกังหันโรงสี (หรือwindmill) กังหันสูบน้ำ (หรือ windpump เป็นต้นเพื่อขับเคลื่อนเรือหรือใบเรือเซลส์windfarm จะประกอบด้วยกังหันลมเป็นจำนวนมากและต่อเข้ากับสายส่งกลางเพื่อผลิตไฟฟ้าให้กับผู้ผลิตไฟฟ้าหลัก (ในไทยคือกฟผ) ลมในทะเลจะมีความแรงและแน่นอนกว่าลมบนบกแต่การสร้างในทะเลถึงจะไม่ทำให้รกหูรกตามากนักแต่ค่าใช้จ่ายและการบำรุงรักษาจะแพงกว่าการสร้างบนบกมากเลยทีเดียวแต่ก็ไม่แพงไปกว่าการก่อสร้างโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิลทั่วไปพลังงานลมถูกนำมาใช้เป็นพลังงานทางเลือกเพื่อมาแทนทีพลังงานฟอสซิลมีปริมาณมากมีอยู่ทั่วไปสะอาดหมุนเวียนได้และมีผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมน้อยมากพลังงานลมมีความสม่ำเสมอในแต่ละปีอาจมีบางช่วงที่ขาดหายไปบ้างแต่ก็จะไม่สร้างปัญหาในการผลิตไฟฟ้าถ้าออกแบบให้มีประสิทธิภาพเพียง 20% ของปริมาณความต้องการไฟฟ้าทั้งหมดการติดตามสภาพอากาศอย่างใกล้ชิดจะสามารถลดปัญหาลงได้พลังงานลมในปัจจุบัน2 ทศวรรษแห่งความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีก่อให้เกิดกังหันลมที่ทันสมัยที่มีอุปกรณ์ทำงานร่วมกันได้และติดตั้งได้รวดเร็วในปัจจุบันกังหันลมสมัยใหม่เพียงตัวเดียวมีพลังมากกว่ากังหันลมขนาดเท่ากันเมื่อ 2 ทศวรรษที่แล้ว 100 เท่าและปัจจุบันฟาร์มกังหันลมให้พลังงานมากเท่ากับโรงไฟฟ้าทั่วไปปี 2012 ประเทศจีนเป็นผู้นำในการติดตั้งพลังงานลมโดยมีการติดตั้งไปแล้ว 75,564 MW ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา 60,007 MW และเยอรมนี 31,332 MW รวมทั้งโลก 282,482 MW [1]ในขณะที่ตลาดพลังงานลมเติบโตพลังงานลมมีค่าใช้จ่ายในการผลิตลดลง 50% ใน 15 ปีที่ผ่านมาปัจจุบันกังหันลมในสถานที่ที่เหมาะสมที่สุดสามารถแข่งขันกับโรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินและในบางสถานที่สามารถเป็นคู่แข่งกับก๊าซได้พลังงานลมภายในพ.ศ. 2563เนื่องจากพลังงานลมที่ติดตั้งแล้วมีกำลังการผลิตเพิ่มขึ้น 30% ใน 2-3 ปีที่ผ่านมาจึงเป็นไปได้อย่างแท้จริงที่จะตั้งเป้าหมายให้ลมผลิตพลังงาน 12% ของพลังงานทั้งโลกภายในพ.ศ 2563 ในช่วงที่พลังงานลมผลิตพลังงานจะสร้างงานให้คน 2 ล้านคนและลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกได้มากกว่า 10,700 ล้านตันขนาดและกำลังการผลิตของกังหันลมโดยทั่วไปที่ได้รับการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องทำให้ภายในพ.ศ. 2563 ราคาของพลังงานลมที่ตั้งอยู่ในสถานที่เหมาะสมคาดว่าจะตกลงไปอยู่ที่ 86 สตางค์ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมงซึ่งน้อยกว่า 1.33 บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมงในพ.ศ ๒๕๔๖ หรือลดลง 36% ค่าใช้จ่ายนี้ไม่รวมการเชื่อมต่อกับสายส่งไฟฟ้าแต่มันเป็นปัจจัยหนึ่งสำหรับสถานีพลังงานเกือบทุกชนิดไม่ใช่เพียงพลังงานลมพลังงานลมหลังพ.ศ. 2563ทรัพยากรพลังงานลมของโลกมีจำนวนมากมายมหาศาลและกระจายไปเกือบทุกภูมิภาคและประเทศต่างๆ การใช้เทคโนโลยีในปัจจุบันทำให้พลังงานลมสามารถผลิตพลังงานได้ประมาณ 53,000 ต่อปีเทราวัตต์ชั่วโมง (ตวาไต้หว่าน) ซึ่งมากกว่าความต้องการพลังงานของโลกที่คาดการณ์ไว้ในพ.ศ 2563 มากกว่า 2 เท่าทำให้อุตสาหกรรมพลังงานลมมีโอกาสเติบโตสูงแม้ในหลายทศวรรษจากปัจจุบันสหรัฐอเมริกาเพียงประเทศเดียวมีศักยภาพการผลิตพลังงานลมเพื่อตอบสนองความต้องการพลังงานในประเทศได้มากกว่า 3 เท่าข้อดีของพลังงานลมเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยลดระดับการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ที่ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน นี่เป็นประโยชน์ด้านสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดของการผลิตพลังงานลม นอกจากนี้พลังงานลมยังปราศจากสารก่อมลพิษอื่น ๆ ที่เกิดจากเชื้อเพลิงฟอสซิลและโรงไฟฟ้านิวเคลียร์อีกด้วยมีความสมดุลด้านพลังงานที่ดีเยี่ยม การปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์ที่เกิดจากการผลิต ติดตั้ง และให้บริการของกังหันลมที่มีช่วงอายุโดยเฉลี่ย 20 ปีถูก "ทดแทน" หลังดำเนินการผลิต 3-6 เดือน ซึ่งเท่ากับการผลิตพลังงานมากกว่า 19 ปีโดยแทบไม่มีค่าใช้จ่ายด้านสิ่งแวดล้อมเลยดำเนินงานได้รวดเร็ว ฟาร์มกังหันลมสามารถสร้างเสร็จสิ้นภายในไม่กี่สัปดาห์ โดยใช้รถเครนติดตั้งหอคอยของกังหันลม ส่วนเชื่อมต่อกับปีกหมุน (โครงยึด) และ ใบพัดเหนือฐานคอนกรีตเสริมกำลัง ด้วยเงินลงทุนที่เท่ากัน พลังงานลมสร้างงานมากกว่าเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ 5 เท่า และผลิตพลังงานได้มากกว่า 2.3 เท่าเป็นแหล่งพลังงานที่น่าเชื่อถือและนำกลับมาใช้ใหม่ได้ เนื่องจากลมที่ใช้ขับเคลื่อนกังหันลมไม่มีค่าใช้จ่ายตลอดกาล และไม่ถูกกระทบโดยราคาของเชื้อเพลิงฟอสซิลที่ขึ้น ๆ ลง ๆ นอกจากนี้ยังไม่ต้องอาศัยการทำเหมือง ขุดเจาะ หรือ ขนส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟ้า ในขณะที่ราคาเชื้อเ
การแปล กรุณารอสักครู่..

พาเปิดรายการเลือกหลักแก้ไขครั้งล่าสุด 22 วันที่ผ่านมาโดย Kuruni พลังงานลมเฝ้าดูหน้านี้หน้านี้มีปัญหาบางอย่างกังหันลมแห่งหนึ่งในเยอรมนี เกรทไซล์เยอรมนีกังหันสูบน้ำที่โอ๊คพาร์คฟาร์ม, ดด์, โอเรกอนใบเรือ หักโค่นลงสิ่งของวัตถุต่าง ๆ ล้มหรือปลิวลอยไปตามลม ฯลฯ เนื่องจากพลังงานลมมีอยู่โดยทั่วไปไม่ต้องซื้อหา เช่นพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลเป็นต้น ๆ เช่นใชักังหันลม (กังหันลมขนาด) เพื่อเปลี่ยนให้เป็นพลังงานไฟฟ้า, กังหันโรงสี (หรือกังหันลม) เพื่อเปลี่ยนให้เป็นพลังงานกล กังหันสูบน้ำ (หรือ windpump ใบเรือหรือใบเรือเพื่อขับเคลื่อนเรือเป็นต้นwindfarm จะประกอบด้วยกังหันลมเป็นจำนวนมาก (ในไทยคือกฟผ) มีปริมาณมากมีอยู่ทั่วไปสะอาดหมุนเวียนได้ พลังงานลมมีความสม่ำเสมอในแต่ละปี 20% ของปริมาณความต้องการไฟฟ้าทั้งหมด ในปัจจุบัน 2 ทศวรรษที่แล้ว 100 เท่า 2012 โดยมีการติดตั้งไปแล้ว 75,564 เมกะวัตต์ตามมาด้วยสหรัฐอเมริกา 60,007 เมกะวัตต์และเยอรมนี 31,332 เมกะวัตต์รวมทั้งโลก 282,482 เมกะวัตต์ [1] ในขณะที่ตลาดพลังงานลมเติบโต 50% ใน 15 ปีที่ผ่านมา พ.ศ. 30% ใน 2-3 ปีที่ผ่านมา 12% ของพลังงานทั้งโลกภายในพ. ศ. 2563 ในช่วงที่พลังงานลมผลิตพลังงานจะสร้างงานให้คน 2 ล้านคน 10,700 2563 86 สตางค์ต่อกิโลวัตต์ชั่วโมงซึ่งน้อยกว่า 1.33 บาทต่อกิโลวัตต์ชั่วโมง ในพ.ศ. 2546 หรือลดลง 36% ไม่ใช่เพียงพลังงานลมพลังงานลมหน้า พ.ศ. ๆ 53,000 เทราวัตต์ชั่วโมง (TWh) ต่อปี 2563 มากกว่า 2 เท่า 3 ๆ ติดตั้ง 20 ปีถูก "ทดแทน" หลังดำเนินการผลิต 3-6 เดือนซึ่งเท่ากับการผลิตพลังงานมากกว่า 19 ส่วนเชื่อมต่อกับปีกหมุน (โครงยึด) และใบพัดเหนือฐานคอนกรีตเสริมกำลังด้วยเงินลงทุนที่เท่ากัน 5 เท่าและผลิตพลังงานได้มากกว่า 2.3 ๆ ลง ๆ ขุดเจาะหรือขนส่งไปยังสถานีจ่ายไฟฟ้าในขณะที่ราคาเชื้อเ
การแปล กรุณารอสักครู่..
