เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำ ไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 เราจะเห็นธงสีเหลือ การแปล - เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำ ไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 เราจะเห็นธงสีเหลือ ไทย วิธีการพูด

เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำ ไปจนกระทั่งขึ

เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำ ไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำ เดือน 9 เราจะเห็นธงสีเหลืองมีตัวหนังสือสีแดง ปรากฏให้เห็นอยู่ทั่วไปตามร้านอาหาร 2 ข้างถนน นั่นบ่งบอกให้รู้ว่า เป็นช่วงเวลาของเทศกาลกินเจ

คำว่า "เจ" ในภาษาจีนมีความหมายทางพุทธศาสนาฝ่ายมหายานว่า "อุโบสถ" คำว่า "กินเจ" ตามความหมายที่แท้จริงคือการรับประทานอาหารก่อนเที่ยงวัน ดังเช่นที่ชาวพุทธในประเทศไทยถือ "อุโบสถศีล" หรือ "รักษาศีล 8" จะไม่รับประทานอาหารหลังจากเที่ยงวันไปแล้ว แต่เนื่องจากการถืออุโบสถศีล ของชาวพุทธฝ่ายมหายานไม่กินเนื้อสัตว์ จึงนิยมเรียก "การไม่กินเนื้อสัตว์" ไปรวมกันคำว่า "กินเจ" ซึ่งเป็นการถือศีลไปด้วย ในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง 3 มื้อ แต่ไม่กินเนื้อสัตว์ก็ยังคงเรียกว่า "กินเจ" ฉะนั้นความหมายก็คือ "คนกินเจ" มิใช่เพียงแต่ไม่กินเนื้อสัตว์ แต่คนที่กินเจ ยังต้องดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงาม มีความบริสุทธิ์สะอาด งดงามทั้งกาย วาจา ใจ เป็นการถือศีลบำเพ็ญธรรมไปด้วยพร้อมกัน เช่นนี้แล้วจึงจะเรียกว่า "กินเจที่แท้จริง" ดังนั้น คำคล้องจองที่เราได้ยินอยู่เสมอ คือ "ถือศีลกินเจ" จึงนับว่ามีความหมายสมบูรณ์ครบถ้วนอยู่ในตัวเองแล้ว

ตามร้านขาย "อาหารเจ" เราจะพบเห็นตัวอักษร คำนี้อ่าน "ไจ" (เจ) แปลว่า "ไม่มีของคาว" เขียนด้วยสีแดงบนพื้นสีเหลืองเสมอ ในช่วงเทศกาลกินเจเดือน 9 จะเห็นตัวอักษรนี้เขียนบนธงสีเหลือง ปักอยู่ตามแผงขายอาหารเจมองเห็นเป็นที่สะดุดตาแก่คนทั่วไป ชาวจีนถือว่าสีแดงเป็นสีแห่งสิริมงคลแก่ชีวิต สีเหลืองเป็นสีของผู้ทรงศีล ดังนั้นผู้ตั้งใจถือศีลบำเพ็ญตนให้บริสุทธิ์ ตัวอักษรนี้ย่อมเป็นเครื่องหมายเตือนสติให้ระลึกไว้เสอมว่า "การกินเจงดเว้นเนื้อสัตว์ของคาวคือ การปฏิบัติธรรม รักษาศีลของความเป็นมนุษย์ เป็นการเจริญมหาเมตตากรุณาธรรมโดยแท้ อันจะนำมาซึ่งความเป็นสิริมงคลแก่ตนเอง และก่อให้เกิดสันติสุขแก่ทุกชีวิตบนโลก"

- ตำราทำอาหารเจ
- หลักในการทำอาหารเจ
- ถือศีลกินผักจังหวัดภูเก็ต
- ถือศีลกินผักจังหวัดตรัง
ที่มาของเทศกาลกินเจ

เทศกาลเจ เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีมาแล้ว ตามตำนานเล่าว่า เกิดมาในสมัยที่ชาวจีนถูกรุกรานโดยชนชาติแมนจู ซึ่งเข้าปกครองประเทศจีน และบังคับให้ชนชาติจีนยอมรับวัฒนธรรมของตน อาทิ การไว้ทรงผมเยี่ยงแมนจู คือ โกนศีรษะโล้นทางด้านหน้าและไว้ผมยาวทางด้านหลัง ซึ่งหลายคนคงจะชินตาในภาพยนตร์จีนที่นำมาฉายทางทีวี

ในสมัยนั้น มีคนจีนกลุ่มหนึ่งรวมตัวกันต่อต้านชาวแมนจู โดยใช้หลักทางธรรมเข้ามาร่วมด้วย ชาวจีนกลุ่มนี้ นุ่งขาว ห่มขาวและไม่รับประทานเนื้อสัตว์ ซึ่งมีความเชื่อว่า การประพฤติปฏิบัติตามแนวทางนี้จะช่วยสร้างความเข้มแข็ง ให้กับกลุ่มของตนจนสามารถต้านทานชาวแมนจูได้ คนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "หงี่หั่วท้วง" ซึ่งแม้จะได้ต่อสู้อย่างอาจหาญ แต่ท้ายที่สุดก็ไม่สามารถต้านทานการรุกรานของชาวแมนจูได้

เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 9 ชาวจีนที่ยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของชาวแมนจู จึงพากันถือศีลกินเจ เพื่อรำลึกถึงเหล่านักสู้ "หงี่หั่วท้วง" ที่ได้ต่อสู้พลีชีพในครั้งนั้น

ความเชื่อถืออีกกระแสหนึ่งของตำนานการกินเจนั้น เชื่อกันว่าเป็นการสักการะพระพุทธเจ้าในอดีต 7 พระองค์ และพระมหาโพธิสัตว์อีก 2 พระองค์ รวมเป็น 9 พระองค์ หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่า ดาวนพเคราะห์ทั้ง 9 ในพิธีกรรมนี้ สาธุชนจึงงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ ตัดชีวิต หันมาบำเพ็ญศีล โดยการตั้งปณิธานในการกินเจ งดเว้นอาหารคาว เพื่อเป็นการสมาทานศีล 2 ประการ คือ

1. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาบำรุงชีวิตของตน
2. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาเพิ่มเลือดของตน
3. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาเพิ่มเนื้อของตน

สำหรับเมืองไทยความเชื่อเรื่องการกินเจ เป็นไปในแนวทางของการละเว้นการเอาชีวิตของสัตว์ เพื่อเป็นสักการะบูชาแก่ พระพุทธเจ้า และมหาโพธิสัตว์กวนอิม อาจเนื่องจากการแพร่หลายของกการละเว้นการกินเนื้อวัว ในกลุ่มคนที่นับถือ "เจ้าแม่กวนอิม" การกินเจ จึงเป็นอีกหนึ่งพิธีกรรมเพื่อสักการะ

ความหมายของธงเจ

อักษรแดง บนพื้นเหลือง เขียนว่า "ไจ" หรือ "เจ" มีความหมายว่า "ของไม่มีคาว" สีแดงเป็นตัวแทนของความเป็นสิริมงคลในชีวิต ส่วนสีเหลืองเป็นสีของพุทธศาสนา หรือผู้ทรงศีล ธงเจนอกจากจะเป็นสัญลักษณ์ของอาหารเจแล้ว ยังเป็นการเตือนให้พุทธศาสนิกชนที่ปฏิบัติตน "ถือศีล-กินเจ" ได้ตระหนักถึงการไม่เบียดเบียนชีวิตสัตว์และการตั้งอยู่ในศีลตลอดช่วงระยะเวลา 9 วัน 9 คืน

การปฏิบัติตัวในช่วงเทศกาลกินเจ

เมื่อตั้งมั่นที่จะปฏิบัติศีลและกินเจ ในช่วงเทศกาลกินเจ 9 วัน 9 คืนนี้แล้ว ก็ควรจะศึกษาข้อห้ามต่างๆ ที่บัญญัติไว้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตัว โดยทั่วไปแล้วจะมีข้อปฏิบัติดังนี้

งดเว้นเนื้อสัตว์ หรือทำอันตรายต่อสัตว์
งด นม เนย หรือน้ำมันที่มาจากสัตว์
งดอาหารรสจัด หมายถึง อาหารรสเผ็ดมาก เค็มมาก หวานมาก เปรี้ยวมาก
งดผักกลิ่นฉุน 5 ชนิด คือ กระเทียม หัวหอม หลักเกียว กุยช่าย ใบยาสูบ รวมทั้งเครื่องเทศที่มีกลิ่นฉุน
รักษาศีล 5
รักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ รักษาอารมณ์ให้คงที่
ทำบุญ ทำทาน บางคนที่เคร่งอาจนุ่งขาว ห่มขาว

สำหรับคนที่กินเจอย่างเคร่งครัด นอกจากจะ "ถือศีล-กินเจ" แล้วยังต้องเลือกผู้ปรุงอาหารเจที่กินเจด้วย เพื่อให้ "อาหารเจ" นั้นบริสุทธิ์จริงๆ บางคนจะมีการคัดแยกภาชนะที่บรรจุอาหารหรือใช้ปรุงอาหาร แยกจากที่ใช้ใส่อาหารที่มีเนื้อสัตว์อย่างเด็ดขาด และในบางแห่งอาจพบว่ามีการจุดตะเกียงเก้าดวง ไว้เป็นเวลา 9 วันตลอดระยะเวลาการกินเจ เพื่อเป็นการรำลึกถึงบุญคุณพ่อแม่ญาติพี่น้อง และเพื่อเป็นพุทธบูชา

อาหารเจ

ปัจจุบันมีการยอมรับกันโดยทั่วไปถึงคุณค่าของ "อาหารเจ" เนื่องจากการรับประทานพืชผักในปริมาณที่มากกว่าปกติ งดเว้นเนื้อสัตว์ ทำให้กระเพาะได้พักจากภารกิจการย่อยเนื้อสัตว์ที่ทำประจำอยู่ และได้รับวิตามินเข้าไปเสริมสร้าง ซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ รวมทั้งได้โปรตีนจากถั่วชนิดต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากโปรตีนที่เราได้รับจากเนื้อสัตว์ ช่วงเวลานี้จึงถือเป็นช่วงที่ร่างกายได้พักผ่อนจากการรับสารอาหารย่อยยากจากแหล่งอาหารต่างๆ รวมทั้งยังได้รับพลังใจจากการที่ปฏิบัติตัวอยู่ในศีล ทำให
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เราจะเห็นธงสีเหลืองมีตัวหนังสือสีแดงปรากฏให้เห็นอยู่ทั่วไปตามร้านอาหาร 2 ข้างถนนนั่นบ่งบอกให้รู้ว่าเป็นช่วงเวลาของเทศกาลกินเจ คำว่า "เจ" ในภาษาจีนมีความหมายทางพุทธศาสนาฝ่ายมหายานว่า "อุโบสถ" คำว่า "กินเจ" ตามความหมายที่แท้จริงคือการรับประทานอาหารก่อนเที่ยงวันดังเช่นที่ชาวพุทธในประเทศไทยถือ "อุโบสถศีล" หรือ "รักษาศีล 8" จะไม่รับประทานอาหารหลังจากเที่ยงวันไปแล้วแต่เนื่องจากการถืออุโบสถศีลของชาวพุทธฝ่ายมหายานไม่กินเนื้อสัตว์จึงนิยมเรียก "การไม่กินเนื้อสัตว์" ไปรวมกันคำว่า "กินเจ" ซึ่งเป็นการถือศีลไปด้วยในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง 3 มื้อแต่ไม่กินเนื้อสัตว์ก็ยังคงเรียกว่า "กินเจ" ฉะนั้นความหมายก็คือ "คนกินเจ"มิใช่เพียงแต่ไม่กินเนื้อสัตว์แต่คนที่กินเจยังต้องดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงามมีความบริสุทธิ์สะอาดงดงามทั้งกายวาจาใจเป็นการถือศีลบำเพ็ญธรรมไปด้วยพร้อมกันเช่นนี้แล้วจึงจะเรียกว่า"กินเจที่แท้จริง"ดังนั้นคำคล้องจองที่เราได้ยินอยู่เสมอคือ"ถือศีลกินเจ"จึงนับว่ามีความหมายสมบูรณ์ครบถ้วนอยู่ในตัวเองแล้ว ตามร้านขาย "อาหารเจ" เราจะพบเห็นตัวอักษรคำนี้อ่าน "ไจ" (เจ) แปลว่า "ไม่มีของคาว" เขียนด้วยสีแดงบนพื้นสีเหลืองเสมอในช่วงเทศกาลกินเจเดือน 9 จะเห็นตัวอักษรนี้เขียนบนธงสีเหลืองปักอยู่ตามแผงขายอาหารเจมองเห็นเป็นที่สะดุดตาแก่คนทั่วไปชาวจีนถือว่าสีแดงเป็นสีแห่งสิริมงคลแก่ชีวิตสีเหลืองเป็นสีของผู้ทรงศีลดังนั้นผู้ตั้งใจถือศีลบำเพ็ญตนให้บริสุทธิ์ตัวอักษรนี้ย่อมเป็นเครื่องหมายเตือนสติให้ระลึกไว้เสอมว่า "การกินเจงดเว้นเนื้อสัตว์ของคาวคือการปฏิบัติธรรมรักษาศีลของความเป็นมนุษย์เป็นการเจริญมหาเมตตากรุณาธรรมโดยแท้อันจะนำมาซึ่งความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและก่อให้เกิดสันติสุขแก่ทุกชีวิตบนโลก" -ตำราทำอาหารเจ -หลักในการทำอาหารเจ -ถือศีลกินผักจังหวัดภูเก็ต -ถือศีลกินผักจังหวัดตรังที่มาของเทศกาลกินเจ เทศกาลเจเริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีมาแล้วตามตำนานเล่าว่าเกิดมาในสมัยที่ชาวจีนถูกรุกรานโดยชนชาติแมนจูซึ่งเข้าปกครองประเทศจีนและบังคับให้ชนชาติจีนยอมรับวัฒนธรรมของตนอาทิการไว้ทรงผมเยี่ยงแมนจูคือโกนศีรษะโล้นทางด้านหน้าและไว้ผมยาวทางด้านหลังซึ่งหลายคนคงจะชินตาในภาพยนตร์จีนที่นำมาฉายทางทีวี ในสมัยนั้นมีคนจีนกลุ่มหนึ่งรวมตัวกันต่อต้านชาวแมนจูโดยใช้หลักทางธรรมเข้ามาร่วมด้วยชาวจีนกลุ่มนี้นุ่งขาวห่มขาวและไม่รับประทานเนื้อสัตว์ซึ่งมีความเชื่อว่าการประพฤติปฏิบัติตามแนวทางนี้จะช่วยสร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มของตนจนสามารถต้านทานชาวแมนจูได้คนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "หงี่หั่วท้วง" ซึ่งแม้จะได้ต่อสู้อย่างอาจหาญแต่ท้ายที่สุดก็ไม่สามารถต้านทานการรุกรานของชาวแมนจูได้ เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำเดือน 9 ชาวจีนที่ยังคงอยู่ภายใต้การปกครองของชาวแมนจูที่ได้ต่อสู้พลีชีพในครั้งนั้นจึงพากันถือศีลกินเจเพื่อรำลึกถึงเหล่านักสู้ "หงี่หั่วท้วง" ความเชื่อถืออีกกระแสหนึ่งของตำนานการกินเจนั้นเชื่อกันว่าเป็นการสักการะพระพุทธเจ้าในอดีต 7 พระองค์และพระมหาโพธิสัตว์อีก 2 พระองค์รวมเป็น 9 พระองค์หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่าดาวนพเคราะห์ทั้ง 9 ในพิธีกรรมนี้สาธุชนจึงงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตหันมาบำเพ็ญศีลโดยการตั้งปณิธานในการกินเจงดเว้นอาหารคาวเพื่อเป็นการสมาทานศีล 2 ประการคือ 1. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาบำรุงชีวิตของตน 2. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาเพิ่มเลือดของตน 3. เว้นจากการเอาชีวิตของสัตว์มาเพิ่มเนื้อของตน สำหรับเมืองไทยความเชื่อเรื่องการกินเจเป็นไปในแนวทางของการละเว้นการเอาชีวิตของสัตว์เพื่อเป็นสักการะบูชาแก่พระพุทธเจ้าและมหาโพธิสัตว์กวนอิมอาจเนื่องจากการแพร่หลายของกการละเว้นการกินเนื้อวัวในกลุ่มคนที่นับถือ "เจ้าแม่กวนอิม" การกินเจจึงเป็นอีกหนึ่งพิธีกรรมเพื่อสักการะความหมายของธงเจ อักษรแดงบนพื้นเหลืองเขียนว่า "ไจ" หรือ "เจ" มีความหมายว่า "ของไม่มีคาว" สีแดงเป็นตัวแทนของความเป็นสิริมงคลในชีวิตส่วนสีเหลืองเป็นสีของพุทธศาสนาหรือผู้ทรงศีลธงเจนอกจากจะเป็นสัญลักษณ์ของอาหารเจแล้วยังเป็นการเตือนให้พุทธศาสนิกชนที่ปฏิบัติตน "ถือศีลกินเจ" ได้ตระหนักถึงการไม่เบียดเบียนชีวิตสัตว์และการตั้งอยู่ในศีลตลอดช่วงระยะเวลา 9 วัน 9 คืน การปฏิบัติตัวในช่วงเทศกาลกินเจ เมื่อตั้งมั่นที่จะปฏิบัติศีลและกินเจในช่วงเทศกาลกินเจ 9 วัน 9 คืนนี้แล้วก็ควรจะศึกษาข้อห้ามต่าง ๆ ที่บัญญัติไว้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติตัวโดยทั่วไปแล้วจะมีข้อปฏิบัติดังนี้ งดเว้นเนื้อสัตว์ หรือทำอันตรายต่อสัตว์ งด นม เนย หรือน้ำมันที่มาจากสัตว์ งดอาหารรสจัด หมายถึง อาหารรสเผ็ดมาก เค็มมาก หวานมาก เปรี้ยวมาก งดผักกลิ่นฉุน 5 ชนิด คือ กระเทียม หัวหอม หลักเกียว กุยช่าย ใบยาสูบ รวมทั้งเครื่องเทศที่มีกลิ่นฉุน รักษาศีล 5 รักษาจิตใจให้บริสุทธิ์ รักษาอารมณ์ให้คงที่ ทำบุญ ทำทาน บางคนที่เคร่งอาจนุ่งขาว ห่มขาว สำหรับคนที่กินเจอย่างเคร่งครัด นอกจากจะ "ถือศีล-กินเจ" แล้วยังต้องเลือกผู้ปรุงอาหารเจที่กินเจด้วย เพื่อให้ "อาหารเจ" นั้นบริสุทธิ์จริงๆ บางคนจะมีการคัดแยกภาชนะที่บรรจุอาหารหรือใช้ปรุงอาหาร แยกจากที่ใช้ใส่อาหารที่มีเนื้อสัตว์อย่างเด็ดขาด และในบางแห่งอาจพบว่ามีการจุดตะเกียงเก้าดวง ไว้เป็นเวลา 9 วันตลอดระยะเวลาการกินเจ เพื่อเป็นการรำลึกถึงบุญคุณพ่อแม่ญาติพี่น้อง และเพื่อเป็นพุทธบูชาอาหารเจ ปัจจุบันมีการยอมรับกันโดยทั่วไปถึงคุณค่าของ "อาหารเจ" เนื่องจากการรับประทานพืชผักในปริมาณที่มากกว่าปกติ งดเว้นเนื้อสัตว์ ทำให้กระเพาะได้พักจากภารกิจการย่อยเนื้อสัตว์ที่ทำประจำอยู่ และได้รับวิตามินเข้าไปเสริมสร้าง ซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอ รวมทั้งได้โปรตีนจากถั่วชนิดต่างๆ ซึ่งแตกต่างจากโปรตีนที่เราได้รับจากเนื้อสัตว์ ช่วงเวลานี้จึงถือเป็นช่วงที่ร่างกายได้พักผ่อนจากการรับสารอาหารย่อยยากจากแหล่งอาหารต่างๆ รวมทั้งยังได้รับพลังใจจากการที่ปฏิบัติตัวอยู่ในศีล ทำให
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 2 ถนนนั่นข้างบ่งบอกให้รู้ว่าได้เป็นช่วงเวลาของเทศกาลกินเจคำว่าได้"เจ" "อุโบสถ" คำว่า "กินเจ" ดังเช่นที่ชาวพุทธในประเทศไทยถือ "อุโบสถศีล" หรือ "รักษาศีล 8" แต่เนื่องจากการถืออุโบสถศีล จึงนิยมเรียก "การไม่กินเนื้อสัตว์" ไปรวมกันคำว่า "กินเจ" ซึ่งเป็นการถือศีลไปด้วย 3 มื้อ "กินเจ" ฉะนั้นความหมายก็คือ "คนกินเจ" มิใช่เพียง แต่ไม่กินเนื้อสัตว์ แต่คนที่กินเจ มีความบริสุทธิ์สะอาดงดงามทั้งกายวาจาใจ เช่นนี้แล้วจึงจะเรียกว่า "กินเจที่แท้จริง" ดังนั้นคำคล้องจองที่เราได้ยินอยู่เสมอคือ "ถือศีลกินเจ" "อาหารเจ" เราจะพบเห็นตัวอักษรคำนี้อ่าน "ไจ" (เจ) แปลว่า "ไม่มีของคาว" เขียนด้วยสีแดงบนพื้นสีเหลืองเสมอในช่วงเทศกาลกินเจเดือน 9 สีเหลืองเป็นสีของผู้ทรงศีล "การกินเจงดเว้นเนื้อสัตว์ของคาวคือการปฏิบัติธรรมรักษาศีลของความเป็นมนุษย์ ตำราทำอาหารเจ- หลักในการทำอาหารเจ- ถือศีลกินผักจังหวัดภูเก็ต- เริ่มขึ้นเมื่อประมาณ 400 ปีมาแล้วตามตำนานเล่าว่า ซึ่งเข้าปกครองประเทศจีน อาทิการไว้ทรงผมเยี่ยงแมนจูคือ โดยใช้หลักทางธรรมเข้ามาร่วมด้วยชาวจีนกลุ่มนี้นุ่งขาวห่มขาวและไม่รับประทานเนื้อสัตว์ซึ่งมีความเชื่อว่า คนกลุ่มนี้เรียกตัวเองว่า "หงี่หั่วท้วง" ซึ่งแม้จะได้ต่อสู้อย่างอาจหาญ 1 ค่ำเดือน 9 จึงพากันถือศีลกินเจเพื่อรำลึกถึงเหล่านักสู้ "หงี่หั่วท้วง" 7 พระองค์และพระมหาโพธิสัตว์อีก 2 พระองค์รวมเป็น 9 พระองค์หรืออีกนัยหนึ่งเรียกว่าดาวนพเคราะห์ทั้ง 9 ในพิธีกรรมนี้สาธุชนจึงงดเว้นจากการฆ่าสัตว์ตัดชีวิตหันมาบำเพ็ญศีลโดยการตั้งปณิธานในการกินเจงดเว้นอาหาร คาวเพื่อเป็นการสมาทานศีล 2 ประการคือ1 เพื่อเป็นสักการะบูชาแก่พระพุทธเจ้าและมหาโพธิสัตว์กวนอิม ในกลุ่มคนที่นับถือ "เจ้าแม่กวนอิม" การกินเจ บนพื้นเหลืองเขียนว่า "ไจ" หรือ "เจ" มีความหมายว่า "ของไม่มีคาว" ส่วนสีเหลืองเป็นสีของพุทธศาสนาหรือผู้ทรงศีล "ถือศีล - กินเจ" 9 วัน 9 ในช่วงเทศกาลกินเจ 9 วัน 9 คืนนี้แล้วก็ควรจะศึกษาข้อห้ามต่างๆ ทำอันตรายหรือต่อสัตว์งดนมเนย ถึงอาหารหมายรสเผ็ดมากเค็มมากหวานมากเปรี้ยวมากงดผักกลิ่นฉุน 5 ชนิดคือกระเทียมหัวหอมหลักเกียวกุยช่ายใบยาสูบ 5 รักษาจิตใจให้บริสุทธิ์รักษาอารมณ์ให้คงที่ทำบุญทำทานบางคนที่เคร่งอาจนุ่งขาว นอกจากจะ "ถือศีล - กินเจ" เพื่อให้ "อาหารเจ" นั้นบริสุทธิ์จริงๆ ไว้เป็นเวลา 9 วันตลอดระยะเวลาการกินเจ "อาหารเจ" งดเว้นเนื้อสัตว์ และได้รับวิตามินเข้าไปเสริมสร้างซ่อมแซมร่างกายส่วนที่สึกหรอรวมทั้งได้โปรตีนจากถั่วชนิดต่างๆ ทำให













































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เมื่อถึงวันขึ้น 1 ค่ำไปจนกระทั่งขึ้น 9 ค่ำเดือน 9 เราจะเห็นธงสีเหลืองมีตัวหนังสือสีแดงปรากฏให้เห็นอยู่ทั่วไปตามร้านอาหาร 2 ข้างถนนนั่นบ่งบอกให้รู้ว่าเป็นช่วงเวลาของเทศกาลกินเจ

คำว่า " เจ " ในภาษาจีนมีความหมายทางพุทธศาสนาฝ่ายมหายานว่า " อุโบสถ " คำว่า " กินเจ " ตามความหมายที่แท้จริงคือการรับประทานอาหารก่อนเที่ยงวันดังเช่นที่ชาวพุทธในประเทศไทยถือ " อุโบสถศีล " ค็อค " รักษาศีล 8 ”แต่เนื่องจากการถืออุโบสถศีลของชาวพุทธฝ่ายมหายานไม่กินเนื้อสัตว์จึงนิยมเรียก " การไม่กินเนื้อสัตว์ " ไปรวมกันคำว่า " กินเจ " ซึ่งเป็นการถือศีลไปด้วยในปัจจุบันผู้ที่รับประทานอาหารทั้ง 3 มื้อ" กินเจ " ฉะนั้นความหมายก็คือ " คนกินเจ " มิใช่เพียงแต่ไม่กินเนื้อสัตว์แต่คนที่กินเจยังต้องดำรงตนอยู่ในศีลธรรมอันดีงามมีความบริสุทธิ์สะอาดงดงามทั้งกายวาจาใจเป็นการถือศีลบำเพ็ญธรรมไปด้วยพร้อมกัน" กินเจที่แท้จริง " ดังนั้นคำคล้องจองที่เราได้ยินอยู่เสมอความ " ถือศีลกินเจ " จึงนับว่ามีความหมายสมบูรณ์ครบถ้วนอยู่ในตัวเองแล้ว

ตามร้านขาย " อาหารเจ " เราจะพบเห็นตัวอักษรคำนี้อ่าน " ไจ " ( เจ ) แปลว่า " ไม่มีของคาว " เขียนด้วยสีแดงบนพื้นสีเหลืองเสมอในช่วงเทศกาลกินเจเดือน 9 จะเห็นตัวอักษรนี้เขียนบนธงสีเหลืองชาวจีนถือว่าสีแดงเป็นสีแห่งสิริมงคลแก่ชีวิตสีเหลืองเป็นสีของผู้ทรงศีลดังนั้นผู้ตั้งใจถือศีลบำเพ็ญตนให้บริสุทธิ์ตัวอักษรนี้ย่อมเป็นเครื่องหมายเตือนสติให้ระลึกไว้เสอมว่าการปฏิบัติธรรมรักษาศีลของความเป็นมนุษย์เป็นการเจริญมหาเมตตากรุณาธรรมโดยแท้อันจะนำมาซึ่งความเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและก่อให้เกิดสันติสุขแก่ทุกชีวิตบนโลก "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: