ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ไทยต้องปรับปรุ การแปล - ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ไทยต้องปรับปรุ ไทย วิธีการพูด

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ไทยต้องปรับปรุงระบบกฎหมายให้เข้าสู่สมัยใหม่ การปรับเปลี่ยนเช่นนี้มิได้เป็นไปเฉพาะประเทศไทย แต่ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียก็ล้วนแต่ตกอยู่ในสภาพเดียวกัน และเกิดจากความบกพร่องของกฎหมายไทยที่ใช้อยู่ในขณะนั้นไม่สามารถใช้ในการติดต่อกับชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อราชการหรือค้าขายในเวลานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะกฎหมายเดิมที่มีอยู่มีข้อขัดข้องอยู่บางประการไม่สามารถใช้แก้ปัญหาใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะสัญญาทางการค้า กฎหมายพาณิชย์นาวี และในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายเทคนิค (Technical Law) เช่น กฎหมายภาษีมีมีการเก็บซ้ำซ้อน เป็นต้น ซึ่งเมื่อนำประเด็นเหล่านี้ไปเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกจะพบว่า มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเหล่านี้อย่างชัดเจน ด้วยเป็นปัญหาที่ชาวตะวันตกได้พบและบัญญัติหลักขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาไว้แล้ว และเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็วและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศ ประเทศไทยต้องยอมรับหลักกฎหมายสมัยใหม่ของตะวันตกเข้ามาเพื่อใช้แก้ปัญหาต่าง ๆ
ความจำเป็นในการที่ต้องรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกมาใช้ในระบบกฎหมายของไทยนั้นนอกจากประเด็นที่กล่าวมาข้างต้น ยังมีอีกสาเหตุผลสำคัญอีกประการหนึ่งคือจากปัญหาเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ที่เกิดจากสนธิสัญญาเบาริ่ง ประเทศไทยจึงจำเป็นต้องปรับปรุงระบบกฎหมายให้ทันสมัยอย่างเร็วที่สุด ซึ่งสาเหตุดังกล่าวก็เป็นเหตุผลและความจำเป็นที่มีอยู่ในเวลานั้น เพราะในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นช่วงเวลาที่ประเทศทางยุโรปเรืองอำนาจทั้งทางทหารและทางเศรษฐกิจจึงเป็นการยากที่จะปฏิเสธข้อเสนอจากประเทศเหล่านั้น แต่นอกจากเหตุผลดังกล่าว หากพิจารณาในส่วนที่เป็นหลักการและเนื้อหาของกฎหมายด้วยแล้ว จะพบว่าการรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกในครั้งนั้น เป็นเพราะลักษณะพิเศษของกฎหมายสมัยใหม่ที่ได้รับการพัฒนามาอย่างเป็นระบบ เปี่ยมไปด้วยเหตุผล มีความเหมาะสมที่จะนำมาปรับใช้กับสังคมสมัยใหม่
ดังนั้นจึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า สาเหตุที่ประเทศไทยรับเอากฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก เป็นเพราะเหตุผลใหญ่ ๆ 2 ประการ กล่าวคือ
1) ปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต นับแต่ปี พ.ศ. 2398 ไทยจำต้องทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับประเทศอังกฤษ ซึ่งมีสาระสำคัญประการหนึ่งก็คือ ข้อตกลงเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต คนต่างชาติที่ทำผิดในเมืองไทยขอยกเว้นที่จะไม่ใช้กฎหมายไทยบังคับ ทั้งนี้โดยมีเหตุผลว่า กฎหมายไทยยังล้าสมัย และนอกจากนี้ไทยยังจำต้องยอมทำสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ อีก 13 ฉบับและได้ขยายไปถึงอาณานิคมของประเทศเหล่านั้นด้วย ซึ่งสนธิสัญญาเหล่านี้นอกจากจะก่อให้เกิดข้อเสียเปรียบทางด้านการศาลแล้ว ยังก่อให้เกิดความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจด้วย คือ ไทยมีสิทธิเก็บภาษีขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3 และต้องยอมเลิกระบบผูกขาดของระบบพระคลังสินค้า ส่วนภาษีขาออกเก็บได้ตามพิกัดสินค้าที่แนบท้ายสัญญา และไทยต้องยอมให้อังกฤษส่งฝิ่นเข้ามาจำหน่ายได้ด้วย อนึ่งแม้จะรู้ถึงข้อเสียเปรียบแต่ไทยจำต้องยอมเพื่อรักษาเอกราชของประเทศไว้
2) ความไม่เหมาะสมกับกาลสมัยของกฎหมายไทยเดิม การที่ชาวต่างชาติได้ขอทำสนธิสัญญาในเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตโดยไม่ยอมขึ้นศาลไทยนั้น เพราะชาวต่างชาติให้เหตุผลว่าระบบกฎหมายของไทยยังมีความล้าหลังมาก โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา อนึ่ง หากจะตั้งคำถามว่า กฎหมายเดิมของไทยซึ่งใช้กันมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา มีความบกพร่องล้าสมัยดังที่ชาวต่างชาติกล่าวหานั้นเป็นความจริงหรือไม่ คำตอบก็คงจะเป็นว่ากฎหมายเดิมของไทยไม่ได้บกพร่องหรือใช้ไม่ได้เสียทั้งหมด หลักกฎหมายแม่บทคือคัมภีร์พระธรรมศาสตร์เป็นหลักกฎหมายที่สามารถใช้ได้ตลอดไปไม่ว่าเวลาใด แต่ในส่วนที่เป็นกฎหมายเฉพาะเรื่องกฎหมายเหล่านี้อาจไม่เหมาะสมกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายสมัยใหม่แล้ว จะพบความแตกต่างและความล้าสมัยในประการสำคัญดังนี้
ในด้านศักดิ์ศรีและความเท่าเทียมกันของมนุษย์ กฎหมายสมัยใหม่ถือว่ามนุษย์ทุกผู้ทุกนามเป็นบุคคลและเป็นตัวการของกฎหมาย (Subject of Law) ถือว่าบุคคลทุกคนที่เกิดมามีความเท่าเทียมกันในสายตาของกฎหมายหรือที่เรียกกันว่าหลักความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย (Equality Before the Law) หลักดังกล่าวนี้หากพิจารณาเปรียบเทียบกับสังคมไทยในสมัยนั้นจะพบว่า ประเทศไทยยังมีทาสอยู่ แม้ว่าสถานะของทาสในเมืองไทยจะไม่ได้มีสภาพเหมือนวัตถุดังเช่นความหมายของทาสแบบตะวันตก แต่ทาสไทยก็ไม่ได้รับการรับรองในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เท่าที่ควรการปฏิบัติต่อทาสนั้น ยังถือว่าทาสเป็นเหมือนทรัพย์สินของมูลนายหรือ ผู้เป็นเจ้าของทาส
การรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของทรัพย์สินเอกชน แม้ว่าความคิดเรื่องสิทธิในทรัพย์สินจะเป็นเรื่องที่ได้รับการรับรู้มาตั้งแต่กฎหมายเดิมแล้ว แต่ในรัฐสมัยใหม่ได้ให้การรับรองและยืนยันในความคิดนี้ให้เด่นชัดขึ้น จนถือเป็นหลักกฎหมายที่สำคัญว่าด้วยกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกรณีอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการทำนิติกรรมสัญญา เรื่องหนี้หรือการมีนิติสัมพันธ์ในกรณีอื่น ๆ ล้วนได้รับการพัฒนาจนเป็นหลักกฎหมายสมัยใหม่ ในขณะที่สังคมไทยในอดีตยังขาดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เพราะหลักกฎหมายที่มีอยู่ในกฎหมายไทยเดิมคงปรากฏเฉพาะในเรื่องง่ายๆ เช่น ในเรื่องกู้ยืมฝากทรัพย์ เป็นต้น ในเรื่องดังกล่าว ศ.ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์ ได้ให้ข้อสังเกตว่า กฎหมายเดิมของไทยมีลักษณะที่ยังไม่ครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเหมือนอย่างความคิดแบบตะวันตก
§ ความคิดเกี่ยวกับกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญาตามหลักกฎหมายสมัยใหม่ ถือว่าการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐจะจับกุมลงโทษบุคคลใดได้ จะต้องปรากฏว่าการกระทำของบุคคลนั้น มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งนั้นมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่าเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ทำให้เกิดหลักที่ว่า ไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย และการพิจารณาคดีอาญาก็จะต้องเป็นไปโดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ จะใช้วิธี “จารีตนครบาล” เป็นการทรมานร่างกาย ข่มขู่ให้รับสารภาพไม่ได้ นอกจากนี้ยังถือเป็นหลักว่า การพิจารณาคดีต้องกระทำโดยเปิดเผย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 ไทยต้องปรับปรุงระบบกฎหมายให้เข้าสู่สมัยใหม่การปรับเปลี่ยนเช่นนี้มิได้เป็นไปเฉพาะประเทศไทยแต่ประเทศต่างๆ ในเอเชียก็ล้วนแต่ตกอยู่ในสภาพเดียวกันและเกิดจากความบกพร่องของกฎหมายไทยที่ใช้อยู่ในขณะนั้นไม่สามารถใช้ในการติดต่อกับชาวต่างชาติที่เข้ามาติดต่อราชการหรือค้าขายในเวลานั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพเพราะกฎหมายเดิมที่มีอยู่มีข้อขัดข้องอยู่บางประการไม่สามารถใช้แก้ปัญหาใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นได้โดยเฉพาะสัญญาทางการค้ากฎหมายพาณิชย์นาวีและในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายเทคนิค (เทคนิคกฎหมาย) เช่นกฎหมายภาษีมีมีการเก็บซ้ำซ้อนเป็นต้นซึ่งเมื่อนำประเด็นเหล่านี้ไปเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกจะพบว่ามีหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเหล่านี้อย่างชัดเจนด้วยเป็นปัญหาที่ชาวตะวันตกได้พบและบัญญัติหลักขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาไว้แล้วและเพื่อให้สามารถแก้ปัญหาได้อย่างรวดเร็วและเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศประเทศไทยต้องยอมรับหลักกฎหมายสมัยใหม่ของตะวันตกเข้ามาเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆความจำเป็นในการที่ต้องรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกมาใช้ในระบบกฎหมายของไทยนั้นนอกจากประเด็นที่กล่าวมาข้างต้นยังมีอีกสาเหตุผลสำคัญอีกประการหนึ่งคือจากปัญหาเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่เกิดจากสนธิสัญญาเบาริ่งประเทศไทยจึงจำเป็นต้องปรับปรุงแระบบกฎหมายให้ทันสมัยอย่างเร็วที่สุดซึ่งสาเหตุดังกล่าวก็เป็นเหตุผลและความจำเป็นที่มีอยู่ในเวลานั้นเพราะในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นช่วงเวลาที่ประเทศทางยุโรปเรืองอำนาจทั้งทางทหารและทางเศรษฐกิจจึงเป็นการยากที่จะปฏิเสธข้อเสนอจากประเทศเหล่านั้นต่นอกจากเหตุผลดังกล่าวหากพิจารณาในส่วนที่เป็นหลักการและเนื้อหาของกฎหมายด้วยแล้วจะพบว่าการรับกฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตกในครั้งนั้นเป็นเพราะลักษณะพิเศษของกฎหมายสมัยใหม่ที่ได้รับการพัฒนามาอย่างเป็นระบบเปี่ยมไปด้วยเหตุผลมีความเหมาะสมที่จะนำมาปรับใช้กับสังคมสมัยใหม่ดังนั้นจึงอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า สาเหตุที่ประเทศไทยรับเอากฎหมายสมัยใหม่จากตะวันตก เป็นเพราะเหตุผลใหญ่ ๆ 2 ประการ กล่าวคือ1) ปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต นับแต่ปี พ.ศ. 2398 ไทยจำต้องทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับประเทศอังกฤษ ซึ่งมีสาระสำคัญประการหนึ่งก็คือ ข้อตกลงเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต คนต่างชาติที่ทำผิดในเมืองไทยขอยกเว้นที่จะไม่ใช้กฎหมายไทยบังคับ ทั้งนี้โดยมีเหตุผลว่า กฎหมายไทยยังล้าสมัย และนอกจากนี้ไทยยังจำต้องยอมทำสนธิสัญญากับประเทศอื่น ๆ อีก 13 ฉบับและได้ขยายไปถึงอาณานิคมของประเทศเหล่านั้นด้วย ซึ่งสนธิสัญญาเหล่านี้นอกจากจะก่อให้เกิดข้อเสียเปรียบทางด้านการศาลแล้ว ยังก่อให้เกิดความไม่เสมอภาคทางเศรษฐกิจด้วย คือ ไทยมีสิทธิเก็บภาษีขาเข้าได้เพียงร้อยละ 3 และต้องยอมเลิกระบบผูกขาดของระบบพระคลังสินค้า ส่วนภาษีขาออกเก็บได้ตามพิกัดสินค้าที่แนบท้ายสัญญา และไทยต้องยอมให้อังกฤษส่งฝิ่นเข้ามาจำหน่ายได้ด้วย อนึ่งแม้จะรู้ถึงข้อเสียเปรียบแต่ไทยจำต้องยอมเพื่อรักษาเอกราชของประเทศไว้2) ความไม่เหมาะสมกับกาลสมัยของกฎหมายไทยเดิม การที่ชาวต่างชาติได้ขอทำสนธิสัญญาในเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขตโดยไม่ยอมขึ้นศาลไทยนั้น เพราะชาวต่างชาติให้เหตุผลว่าระบบกฎหมายของไทยยังมีความล้าหลังมาก โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญา อนึ่ง หากจะตั้งคำถามว่า กฎหมายเดิมของไทยซึ่งใช้กันมาตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา มีความบกพร่องล้าสมัยดังที่ชาวต่างชาติกล่าวหานั้นเป็นความจริงหรือไม่ คำตอบก็คงจะเป็นว่ากฎหมายเดิมของไทยไม่ได้บกพร่องหรือใช้ไม่ได้เสียทั้งหมด หลักกฎหมายแม่บทคือคัมภีร์พระธรรมศาสตร์เป็นหลักกฎหมายที่สามารถใช้ได้ตลอดไปไม่ว่าเวลาใด แต่ในส่วนที่เป็นกฎหมายเฉพาะเรื่องกฎหมายเหล่านี้อาจไม่เหมาะสมกับสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ซึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับหลักกฎหมายสมัยใหม่แล้ว จะพบความแตกต่างและความล้าสมัยในประการสำคัญดังนี้ ในด้านศักดิ์ศรีและความเท่าเทียมกันของมนุษย์ กฎหมายสมัยใหม่ถือว่ามนุษย์ทุกผู้ทุกนามเป็นบุคคลและเป็นตัวการของกฎหมาย (Subject of Law) ถือว่าบุคคลทุกคนที่เกิดมามีความเท่าเทียมกันในสายตาของกฎหมายหรือที่เรียกกันว่าหลักความเสมอภาคต่อหน้ากฎหมาย (Equality Before the Law) หลักดังกล่าวนี้หากพิจารณาเปรียบเทียบกับสังคมไทยในสมัยนั้นจะพบว่า ประเทศไทยยังมีทาสอยู่ แม้ว่าสถานะของทาสในเมืองไทยจะไม่ได้มีสภาพเหมือนวัตถุดังเช่นความหมายของทาสแบบตะวันตก แต่ทาสไทยก็ไม่ได้รับการรับรองในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เท่าที่ควรการปฏิบัติต่อทาสนั้น ยังถือว่าทาสเป็นเหมือนทรัพย์สินของมูลนายหรือ ผู้เป็นเจ้าของทาส
การรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของทรัพย์สินเอกชน แม้ว่าความคิดเรื่องสิทธิในทรัพย์สินจะเป็นเรื่องที่ได้รับการรับรู้มาตั้งแต่กฎหมายเดิมแล้ว แต่ในรัฐสมัยใหม่ได้ให้การรับรองและยืนยันในความคิดนี้ให้เด่นชัดขึ้น จนถือเป็นหลักกฎหมายที่สำคัญว่าด้วยกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในกรณีอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการทำนิติกรรมสัญญา เรื่องหนี้หรือการมีนิติสัมพันธ์ในกรณีอื่น ๆ ล้วนได้รับการพัฒนาจนเป็นหลักกฎหมายสมัยใหม่ ในขณะที่สังคมไทยในอดีตยังขาดหลักเกณฑ์ที่ชัดเจน เพราะหลักกฎหมายที่มีอยู่ในกฎหมายไทยเดิมคงปรากฏเฉพาะในเรื่องง่ายๆ เช่น ในเรื่องกู้ยืมฝากทรัพย์ เป็นต้น ในเรื่องดังกล่าว ศ.ดร.ปรีดี เกษมทรัพย์ ได้ให้ข้อสังเกตว่า กฎหมายเดิมของไทยมีลักษณะที่ยังไม่ครอบคลุมความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเหมือนอย่างความคิดแบบตะวันตก
§ ความคิดเกี่ยวกับกฎหมายอาญาและวิธีพิจารณาความอาญาตามหลักกฎหมายสมัยใหม่ ถือว่าการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐจะจับกุมลงโทษบุคคลใดได้ จะต้องปรากฏว่าการกระทำของบุคคลนั้น มีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งนั้นมีกฎหมายบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งว่าเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้ทำให้เกิดหลักที่ว่า ไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย และการพิจารณาคดีอาญาก็จะต้องเป็นไปโดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ จะใช้วิธี “จารีตนครบาล” เป็นการทรมานร่างกาย ข่มขู่ให้รับสารภาพไม่ได้ นอกจากนี้ยังถือเป็นหลักว่า การพิจารณาคดีต้องกระทำโดยเปิดเผย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
รัชกาลที่ 4 แต่ประเทศต่าง ๆ ๆ กฎหมายพาณิชย์นาวีและในส่วนที่เกี่ยวกับกฎหมายเทคนิค (Technical กฎหมาย) เช่นกฎหมายภาษีมีมีการเก็บซ้ำซ้อนเป็นต้น
ที่เกิดจากสนธิสัญญาเบาริ่ง เพราะในสมัยรัชกาลที่ 4 แต่นอกจากเหตุผลดังกล่าว เปี่ยมไปด้วยเหตุผล
เป็นเพราะเหตุผลใหญ่ ๆ 2 ประการกล่าวคือ
1) ปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขตนับ แต่ปี พ.ศ. 2398 ซึ่งมีสาระสำคัญประการหนึ่งก็คือข้อตกลงเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ทั้งนี้โดยมีเหตุผลว่ากฎหมายไทยยังล้าสมัย ๆ อีก 13 คือ 3
อนึ่งหากจะตั้งคำถามว่า
(เรื่องของกฎหมาย) (ความเท่าเทียมกันก่อนที่กฎหมาย) ประเทศไทยยังมีทาสอยู่
ๆ เช่นในเรื่องกู้ยืมฝากทรัพย์เป็นต้นในเรื่องดังกล่าวศ. ดร. ปรีดีเกษมทรัพย์ได้ให้ข้อสังเกตว่า
ไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย จะใช้วิธี "จารีตนครบาล" เป็นการทรมานร่างกายข่มขู่ให้รับสารภาพไม่ได้นอกจากนี้ยังถือเป็นหลักว่าการพิจารณาคดีต้องกระทำโดยเปิดเผย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: