ระบบย่อยอาหารทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน มีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดา ที่ การแปล - ระบบย่อยอาหารทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน มีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดา ที่ ไทย วิธีการพูด

ระบบย่อยอาหารทางเดินอาหารของไส้เดือ

ระบบย่อยอาหาร
ทางเดินอาหารของไส้เดือนดิน มีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดา ที่เชื่อมต่อจากปากในช่องแรกยาวไปจนถึงทวาร ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะดังนี้
1.ปาก ( Mouth ) อยู่ใต้ริมฝีปากบน เป็นทางเข้าของอาหาร นำไปสู่ช่องปากซึ่งจะเป็นบริเวณที่มีต่อมน้ำลายผลิตสารหล่อ ลื่นอาหารที่กินเข้าไป ช่องปากจะอยู่ในปล้องที่ 1- 3
2.คอหอย ( Pharynx ) เป็นกล้ามเนื้อที่หนา และมีต่อมขับเมือก ตั้งอยู่ระหว่างปล้องที่ 3 ถึงปล้องที่ 6 ไส้เดือนดินใช้คอหอยใน การดูดอาหารต่างๆ เข้าปากโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ ซึ่งจะทำให้เกิดแรงดึงดูดให้อนุภาคอาหารภายนอกผ่านเข้าไปในปาก

3.หลอดอาหาร ( Esophagus ) อยู่ระหว่างปล้องที่ 6 ถึงปล้องที่ 14 มีต่อมแคลซิเฟอรัส ช่วยดึงไออน ของแคลเซียมจากดินที่ปนมากับอาหารจำนวนมากนำเข้าสู่ทางเดินอาหาร เพื่อไม่ให้แคลเซียมในเลือดมากเกินไป เฉพาะพวกที่กินอาหารที่มีดินปนเข้าไปมากๆ เท่านั้นจึงจะมีต่อมแคลซิเฟอรัส ต่อจากหลอดอาหารจะพองโตออกเป็นหลอดพักอาหาร มีลักษณะเป็นถุงผนังบางๆ และ กึ๋น ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรง และ ทำหน้าที่บดอาหารให้ละเอียดเพื่อส่งต่อไปยังลำไส้
4.ลำไส้ ( Intestine ) มีลักษณะเป็นท่อตรงที่เริ่มจากปล้องที่ 14 ไปถึงทวารหนัก ผนังลำไส้ของไส้เดือนดินค่อนข้างบางและผนังลำไส้ด้านบนจะพับเข้าไปข้างใน ช่องทางเดินอาหารเรียกว่า Typhlosole ทำให้มีพื้นที่ในการย่อยและดูดซึมอาหารได้มากขึ้นโดย สำหรับไส้เดือนน้ำจืดไม่มี Typhlosole ผนังลำไส้ประกอบด้วยชั้นต่างๆ คือเยื่อบุช่องท้อง วิสเซอรอล อยู่ชั้นนอกสุดของลำไส้ ติดกับช่องลำตัว เซลล์บางเซลล์บนเยื่อนี้จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พิเศษ เรียกว่า เซลล์คลอราโกเจน ทำหน้าที่คล้ายตับของสัตว์ชั้นสูง คือสังเคราะห์และสมสมสารไกลโคเจน ไขมัน โดยเซลล์ไขมันในเนื้อเยื่อคลอราโกเจนที่มีขนาดโตเต็มที่จะหลุดออกมาอยู่ใน ช่องลำตัวเรียกว่า Eleocytes ซึ่งจะกระจายไปยัง อวัยวะต่างๆและยังมีหน้าที่รวบรวมของเสียจากเลือดและของเหลวในช่องลำตัวโดย เป็นตัวดึงกรดอะมิโน ออกจากโปรตีน สกัดแอมโมเนีย ยูเรีย และสกัดสารซิลิกาออกจากอาหารที่กินเข้าไปแล้วขับถ่ายออกนอกร่างกายทางรูขับ ถ่ายของเสียหรือเนฟริเดีย ถัดจากเยื่อบุช่องท้องวิ สเซอรอลจะเป็นชั้นของกล้ามเนื้อ โดยกล้ามเนื้อในลำไส้ของไส้เดือนดินประกอบด้วยกล้ามเนื้อ 2 ชั้น คือชั้นในเป็นกล้ามเนื้อเส้นรอบวงและชั้นนอกเป็นกล้ามเนื้อตามยาว ซึ่งสลับกันกับกล้ามเนื้อของผนังร่างกาย และชั้นในสุดของลำไส้จะเป็นเยื่อบุลำไส้ ซึ่งประกอบด้วย เซลล์รูปแท่งและเซลล์ต่อม ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยชนิดต่างๆ






ระบบขับถ่าย
อวัยวะขับถ่ายของเสียหลักในไส้เดือนดินคือ เนฟริเดีย ( Nephridia ) ซึ่งเป็น อวัยวะที่ทำหน้าที่แยกของเสียต่างๆออกจากของเหลวในช่องลำตัวของไส้เดือนดินแต่ละปล้อง ของไส้เดือนดินจะมี nephridia ที่เป็นท่อขดไปมาอยู่ปล้องละ 1 คู่ ทำหน้าที่รวบรวมของเหลวในช่องตัวจากปล้องที่อยู่ถัดไปทางด้านหน้าของลำตัว ของเหลวในช่องตัวจะเข้าทางปลายท่อ nephrostomeที่ มีซิเลียอยู่โดยรอบ แล้วไหลผ่านไปตามส่วนต่างๆของท่อ น้ำส่วนใหญ่พร้อมทั้งเกลือแร่บางชนิดที่ยังเป็นประโยชน์จุถูกดูดซึมกลับเข้า สู่กระแสเลือด ส่วนของเสียพวกไนโตรจินัสเบสจะถูกขับออกสู่ภายนอกทางช่อง nephridioporeที่อยู่ทางด้านท้อง
ระบบหมุนเวียนเลือด
เป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดที่ยังไม่แบ่ง เส้นเลือดแดง และ เส้นเลือดดำ โดยไส้เดือนดินจะใช้เส้นเลือด ( Vessel ) ในการกระจายเลือดไปทั่วร่างกายโดยตรง ซึ่งในระบบการลำเลียงเลือดของไส้เดือนดิน ประกอบด้วยเส้นเลือดหลักอยู่ 3 เส้น คือเส้นเลือดกลางหลัง เส้นเลือดใต้ลำไส้ และเส้นเลือดด้านท้องและด้านข้างของเส้นประสาท โดยเส้นเลือดทั้ง 3 จะทอดตัวไปตลอดความยาวของลำตัว นอกจากนี้จะมีเส้น เลือดด้านข้าง ซึ่งเป็นเส้นเลือดเชื่อมระหว่างเลือดกลางหลังกับเส้นเลือดใต้ลำไส้ในช่วง 13 ปล้องแรก เป็นเส้นเลือดขนาดใหญ่บีบหดตัวได้ดีมาก เรียกว่าหัวใจเทียม ( Pseudoheart ) น้ำเลือด จะมีฮีโมโกลบินละลายอยู่หรือาจไม่มีก็ได้
ระบบการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินไม่มีอวัยวะ พิเศษที่ใช้ในการหายใจ แต่จะมีการแลกเปลี่ยนกาซผ่านทางผิวหนังโดยไส้เดือนดินจะขับเมือกและของเหลว ที่ออกมาจากรูขับถ่ายของเสียเพื่อเป็นตัวทำละลายออกซิเจนจากอากาศแล้วซึม ผ่านผิวตัวเข้าไปในหลอดเลือดแล้ว ละลายอยู่ใน น้ำเลือดต่อไป



ระบบประสาท
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน ประกอบสมองที่มีลักษณะเป็นสองพู เพราะเกิดจากปมประสาทด้านหน้าหลอดอาหารมาเชื่อมรวมกันอยู่เหนือหลอดอาหาร ปมประสาทสมอง 1 คู่ อยู่เหนือคอหอยปล้องที่ 3 เส้นประสาทรอบคอหอย 2 เส้น อ้อมรอบคอหอยข้างละเส้น เส้นประสาทใหญ่ด้านท้องจะมี ปมประสาทที่ปล้องประจำอยู่ทุกปล้อง ไส้เดือนดินยัง ไม่มีอวัยวะรับความรู้สึกใดๆ มีเพียงเซลล์รับความรู้สึก ( Sensory Cells ) ที่กระจายอยู่บริเวณผิวหนัง โดยเซลล์รับความรู้สึกแต่ละเซลล์จะมีขนเล็กๆ ยื่นออกมาเพื่อรับความรู้สึกจากสิ่งแวดล้อมภายนอก ซึ่งเซลล์รับความรู้สึกเหล่านี้เชื่อมต่อกับระบบประสาท นอกจากเซลล์รับความรู้สึกแล้ว ยังมีเซลล์รับแสง ( Photoreceptor cells ) ในชั้นของเอพิเดอร์มิส โดยจะมีมากบริเวณริมฝีปากบน ปล้องส่วนหัวและส่วนท้ายของลำตัว มีหน้าที่รับความรู้สึกเกี่ยวกับแสงไปยังระบบประสาท ถ้ามีแสงสว่างมากเกินไปพวกมันจะเคลื่อนที่หนีเข้าไปอยู่ในที่มี
ระบบสืบพันธุ์
ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่มีทั้งรังไข่และอัณฑะ อยู่ในตัวเดียวกัน โดยทั่วไปจะไม่ผสมในตัวเองเนื่องจากตำแหน่งของอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศไม่ สัมพันธ์กัน และมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ไม่พร้อมกัน ไส้เดือนดินจึงต้องมีการแลกเปลี่ยนสเปิร์มซึ่งกันและกัน
อวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ ประกอบด้วย
1. อัณฑะ ( Testes ) ลักษณะเป็นก้อนสีขาวขนาดเล็กยื่นออกมาจากผนังของปล้อง
2. ปากกรวย รองรับสเปิร์ม ( Sperm funnel ) เป็นช่องรับสเปิร์มจากอัณฑะ
3. ท่อนำ สเปิร์ม ( Vas deferens ) เป็นท่อรับสเปิร์มจากปากกรวยไป ยังช่องสืบพันธุ์เพศผู้
4. ต่อมพร อสเตท ( Prostate gland ) เป็นต่อมสีขาวขนาดใหญ่มีรูปร่าง เป็นก้อนแตกแขนงคล้ายกิ่งไม้ 1 คู่ ทำหน้าที่สร้างของเหลวหล่อเลี้ยงสเปิร์ม
5. ช่องสืบ พันธุ์เพศผู้ ( male pores ) มี 1 คู่ อยู่ตรงด้านท้องปล้องที่ 18
6. ถุงเก็บ สเปิร์ม ( Seminal Vesicles ) มี 2 คู่ เป็นถุงขนาดใหญ่อยู่ในปล้องที่ 11 และ 12 ทำหน้าที่เก็บและพัฒนาสเปิร์มที่ส
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ระบบย่อยอาหารทางเดินอาหารของไส้เดือนดินมีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดาที่เชื่อมต่อจากปากในช่องแรกยาวไปจนถึงทวารซึ่งประกอบด้วยอวัยวะดังนี้ 1.ปาก (ปาก) อยู่ใต้ริมฝีปากบนเป็นทางเข้าของอาหารนำไปสู่ช่องปากซึ่งจะเป็นบริเวณที่มีต่อมน้ำลายผลิตสารหล่อลื่นอาหารที่กินเข้าไปช่องปากจะอยู่ในปล้องที่ 1 - 3 2.คอหอย (หลอดลม) เป็นกล้ามเนื้อที่หนาและมีต่อมขับเมือกตั้งอยู่ระหว่างปล้องที่ 3 ถึงปล้องที่ 6 ไส้เดือนดินใช้คอหอยในการดูดอาหารต่าง ๆ เข้าปากโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อซึ่งจะทำให้เกิดแรงดึงดูดให้อนุภาคอาหารภายนอกผ่านเข้าไปในปาก 3.หลอดอาหาร (หลอดอาหาร) อยู่ระหว่างปล้องที่ 6 ถึงปล้องที่ 14 มีต่อมแคลซิเฟอรัสช่วยดึงไออนของแคลเซียมจากดินที่ปนมากับอาหารจำนวนมากนำเข้าสู่ทางเดินอาหารเพื่อไม่ให้แคลเซียมในเลือดมากเกินไปเฉพาะพวกที่กินอาหารที่มีดินปนเข้าไปมาก ๆ เท่านั้นจึงจะมีต่อมแคลซิเฟอรัสต่อจากหลอดอาหารจะพองโตออกเป็นหลอดพักอาหารมีลักษณะเป็นถุงผนังบาง ๆ และกึ๋นซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและทำหน้าที่บดอาหารให้ละเอียดเพื่อส่งต่อไปยังลำไส้ 4.ลำไส้ (ลำไส้) มีลักษณะเป็นท่อตรงที่เริ่มจากปล้องที่ 14 ไปถึงทวารหนักผนังลำไส้ของไส้เดือนดินค่อนข้างบางและผนังลำไส้ด้านบนจะพับเข้าไปข้างในช่องทางเดินอาหารเรียกว่า Typhlosole ทำให้มีพื้นที่ในการย่อยและดูดซึมอาหารได้มากขึ้นโดยสำหรับไส้เดือนน้ำจืดไม่มี Typhlosole ผนังลำไส้ประกอบด้วยชั้นต่าง ๆ คือเยื่อบุช่องท้องวิสเซอรอลอยู่ชั้นนอกสุดของลำไส้ติดกับช่องลำตัวเซลล์บางเซลล์บนเยื่อนี้จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พิเศษเรียกว่าเซลล์คลอราโกเจนทำหน้าที่คล้ายตับของสัตว์ชั้นสูงคือสังเคราะห์และสมสมสารไกลโคเจนไขมันโดยเซลล์ไขมันในเนื้อเยื่อคลอราโกเจนที่มีขนาดโตเต็มที่จะหลุดออกมาอยู่ในช่องลำตัวเรียกว่า Eleocytes ซึ่งจะกระจายไปยังอวัยวะต่างๆและยังมีหน้าที่รวบรวมของเสียจากเลือดและของเหลวในช่องลำตัวโดยเป็นตัวดึงกรดอะมิโนออกจากโปรตีนสกัดแอมโมเนียยูเรียและสกัดสารซิลิกาออกจากอาหารที่กินเข้าไปแล้วขับถ่ายออกนอกร่างกายทางรูขับถ่ายของเสียหรือเนฟริเดียถัดจากเยื่อบุช่องท้องวิสเซอรอลจะเป็นชั้นของกล้ามเนื้อโดยกล้ามเนื้อในลำไส้ของไส้เดือนดินประกอบด้วยกล้ามเนื้อ 2 ชั้นคือชั้นในเป็นกล้ามเนื้อเส้นรอบวงและชั้นนอกเป็นกล้ามเนื้อตามยาวซึ่งสลับกันกับกล้ามเนื้อของผนังร่างกายและชั้นในสุดของลำไส้จะเป็นเยื่อบุลำไส้ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รูปแท่งและเซลล์ต่อมทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยชนิดต่าง ๆระบบขับถ่ายอวัยวะขับถ่ายของเสียหลักในไส้เดือนดินคือเนฟริเดีย (Nephridia) ซึ่งเป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่แยกของเสียต่างๆออกจากของเหลวในช่องลำตัวของไส้เดือนดินแต่ละปล้องของไส้เดือนดินจะมี nephridia ที่เป็นท่อขดไปมาอยู่ปล้องละ 1 คู่ทำหน้าที่รวบรวมของเหลวในช่องตัวจากปล้องที่อยู่ถัดไปทางด้านหน้าของลำตัวของเหลวในช่องตัวจะเข้าทางปลายท่อ nephrostomeที่ มีซิเลียอยู่โดยรอบแล้วไหลผ่านไปตามส่วนต่างๆของท่อน้ำส่วนใหญ่พร้อมทั้งเกลือแร่บางชนิดที่ยังเป็นประโยชน์จุถูกดูดซึมกลับเข้าสู่กระแสเลือดส่วนของเสียพวกไนโตรจินัสเบสจะถูกขับออกสู่ภายนอกทางช่อง nephridioporeที่อยู่ทางด้านท้องระบบหมุนเวียนเลือดเป็นระบบหมุนเวียนเลือดแบบปิดที่ยังไม่แบ่งเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำโดยไส้เดือนดินจะใช้เส้นเลือด (เรือ) ในการกระจายเลือดไปทั่วร่างกายโดยตรงซึ่งในระบบการลำเลียงเลือดของไส้เดือนดินประกอบด้วยเส้นเลือดหลักอยู่ 3 เส้นคือเส้นเลือดกลางหลังเส้นเลือดใต้ลำไส้และเส้นเลือดด้านท้องและด้านข้างของเส้นประสาทโดยเส้นเลือดทั้ง 3 จะทอดตัวไปตลอดความยาวของลำตัวนอกจากนี้จะมีเส้นเลือดด้านข้างซึ่งเป็นเส้นเลือดเชื่อมระหว่างเลือดกลางหลังกับเส้นเลือดใต้ลำไส้ในช่วง 13 ปล้องแรกเป็นเส้นเลือดขนาดใหญ่บีบหดตัวได้ดีมากเรียกว่าหัวใจเทียม (Pseudoheart) น้ำเลือดจะมีฮีโมโกลบินละลายอยู่หรือาจไม่มีก็ได้ระบบการแลกเปลี่ยนก๊าซไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดินไม่มีอวัยวะพิเศษที่ใช้ในการหายใจแต่จะมีการแลกเปลี่ยนกาซผ่านทางผิวหนังโดยไส้เดือนดินจะขับเมือกและของเหลวที่ออกมาจากรูขับถ่ายของเสียเพื่อเป็นตัวทำละลายออกซิเจนจากอากาศแล้วซึมผ่านผิวตัวเข้าไปในหลอดเลือดแล้วละลายอยู่ในน้ำเลือดต่อไประบบประสาทระบบประสาทของไส้เดือนดินประกอบสมองที่มีลักษณะเป็นสองพูเพราะเกิดจากปมประสาทด้านหน้าหลอดอาหารมาเชื่อมรวมกันอยู่เหนือหลอดอาหารปมประสาทสมอง 1 คู่อยู่เหนือคอหอยปล้องที่ 3 เส้นประสาทรอบคอหอย 2 เส้นอ้อมรอบคอหอยข้างละเส้นเส้นประสาทใหญ่ด้านท้องจะมีปมประสาทที่ปล้องประจำอยู่ทุกปล้องไส้เดือนดินยังไม่มีอวัยวะรับความรู้สึกใด ๆ มีเพียงเซลล์รับความรู้สึก (เซลล์รับความรู้สึก) ที่กระจายอยู่บริเวณผิวหนังโดยเซลล์รับความรู้สึกแต่ละเซลล์จะมีขนเล็ก ๆ ยื่นออกมาเพื่อรับความรู้สึกจากสิ่งแวดล้อมภายนอกซึ่งเซลล์รับความรู้สึกเหล่านี้เชื่อมต่อกับระบบประสาทนอกจากเซลล์รับความรู้สึกแล้วยังมีเซลล์รับแสง (เซลล์ Photoreceptor) ในชั้นของเอพิเดอร์มิสโดยจะมีมากบริเวณริมฝีปากบนปล้องส่วนหัวและส่วนท้ายของลำตัวมีหน้าที่รับความรู้สึกเกี่ยวกับแสงไปยังระบบประสาทถ้ามีแสงสว่างมากเกินไปพวกมันจะเคลื่อนที่หนีเข้าไปอยู่ในที่มีระบบสืบพันธุ์ไส้เดือนดินเป็นสัตว์ที่มีทั้งรังไข่และอัณฑะอยู่ในตัวเดียวกันโดยทั่วไปจะไม่ผสมในตัวเองเนื่องจากตำแหน่งของอวัยวะสืบพันธุ์ทั้งสองเพศไม่สัมพันธ์กันและมีการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ไม่พร้อมกันไส้เดือนดินจึงต้องมีการแลกเปลี่ยนสเปิร์มซึ่งกันและกันอวัยวะสืบพันธุ์เพศผู้ประกอบด้วย1. อัณฑะ (ลิ้ม) ลักษณะเป็นก้อนสีขาวขนาดเล็กยื่นออกมาจากผนังของปล้อง 2. เป็นช่องรับสเปิร์มจากอัณฑะรองรับสเปิร์ม (จ๊ากกรวย) ปากกรวย3. ท่อนำสเปิร์ม (Vas deferens) เป็นท่อรับสเปิร์มจากปากกรวยไปยังช่องสืบพันธุ์เพศผู้4. ต่อมพรอสเตท (ต่อม) เป็นต่อมสีขาวขนาดใหญ่มีรูปร่างเป็นก้อนแตกแขนงคล้ายกิ่งไม้ 1 คู่ทำหน้าที่สร้างของเหลวหล่อเลี้ยงสเปิร์ม5. ช่องสืบพันธุ์เพศผู้ (ผู้ชายรูขุมขน) มี 1 คู่อยู่ตรงด้านท้องปล้องที่ 186. ถุงเก็บสเปิร์ม (อสุจิในอัณฑะ) มี 2 คู่ทำหน้าที่เก็บและพัฒนาสเปิร์มที่สเป็นถุงขนาดใหญ่อยู่ในปล้องที่ 11 และ 12
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

มีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดา ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะดังนี้
1. ปาก (ปาก) อยู่ใต้ริมฝีปากบนเป็นทางเข้าของอาหาร ลื่นอาหารที่กินเข้าไปช่องปากจะอยู่ในปล้องที่ 1- 3
2. คอหอย (หลอดลม) เป็นกล้ามเนื้อที่หนาและมีต่อมขับเมือกตั้งอยู่ระหว่างปล้องที่ 3 ถึงปล้องที่ 6 ไส้เดือนดินใช้คอหอยในการดูดอาหารต่างๆ เข้าปากโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ (หลอดอาหาร) อยู่ระหว่างปล้องที่ 6 ถึงปล้องที่ 14 มีต่อมแคลซิเฟอรัสช่วยดึงไออน เท่านั้นจึงจะมีต่อมแคลซิเฟอรัส มีลักษณะเป็นถุงผนังบาง ๆ และกึ๋นซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและ ( ลำไส้ ) 14 ไปถึงทวารหนัก ช่องทางเดินอาหารเรียกว่า Typhlosole สำหรับไส้เดือนน้ำจืดไม่มี Typhlosole ผนังลำไส้ประกอบด้วยชั้นต่างๆคือเยื่อบุช่องท้องวิสเซอรอลอยู่ชั้นนอกสุดของลำไส้ติดกับช่องลำตัว เรียกว่าเซลล์คลอราโกเจนทำหน้าที่คล้ายตับของสัตว์ชั้นสูงคือสังเคราะห์และสมสมสารไกลโคเจนไขมัน ช่องลำตัวเรียกว่า Eleocytes ซึ่งจะกระจายไปยัง เป็นตัวดึงกรดอะมิโนออกจากโปรตีนสกัดแอมโมเนียยูเรีย ถ่ายของเสียหรือเนฟริเดียถัดจากเยื่อบุช่องท้องวิสเซอรอลจะเป็นชั้นของกล้ามเนื้อ 2 ชั้น ซึ่งประกอบด้วยเซลล์รูปแท่งและเซลล์ต่อม เนฟริเดีย (Nephridia) ซึ่งเป็น ของไส้เดือนดินจะมี nephridia ที่เป็นท่อขดไปมาอยู่ปล้องละ 1 คู่ ของเหลวในช่องตัวจะเข้าทางปลายท่อ nephrostome ที่มีซิเลียอยู่โดยรอบแล้วไหลผ่านไปตามส่วนต่างๆของท่อ สู่กระแสเลือด เส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำโดยไส้เดือนดินจะใช้เส้นเลือด (เรือ) ประกอบด้วยเส้นเลือดหลักอยู่ 3 เส้นคือเส้นเลือดกลางหลังเส้นเลือดใต้ลำไส้ โดยเส้นเลือดทั้ง 3 จะทอดตัวไปตลอดความยาวของลำตัวนอกจากนี้จะมีเส้นเลือดด้านข้าง 13 ปล้องแรก เรียกว่าหัวใจเทียม (Pseudoheart) น้ำเลือด พิเศษที่ใช้ในการหายใจ ผ่านผิวตัวเข้าไปในหลอดเลือดแล้วละลายอยู่ใน ประกอบสมองที่มีลักษณะเป็นสองพู ปมประสาทสมอง 1 คู่อยู่เหนือคอหอยปล้องที่ 3 เส้นประสาทรอบคอหอย 2 เส้นอ้อมรอบคอหอยข้างละเส้นเส้นประสาทใหญ่ด้านท้องจะมีปมประสาทที่ปล้องประจำอยู่ทุกปล้องไส้เดือนดินยังไม่มีอวัยวะรับความรู้สึกใด ๆ มีเพียงเซลล์รับ ความรู้สึก (เซลล์ประสาท) ที่กระจายอยู่บริเวณผิวหนัง นอกจากเซลล์รับความรู้สึกแล้วยังมีเซลล์รับแสง (เซลล์รับแสง) ในชั้นของเอพิเดอร์มิสโดยจะมีมากบริเวณริมฝีปากบนปล้องส่วนหัวและส่วนท้ายของลำตัว อยู่ในตัวเดียวกัน สัมพันธ์กัน ประกอบด้วย1 อัณฑะ (อัณฑะ) ปากกรวยรองรับสเปิร์ม (สเปิร์มช่องทาง) เป็นช่องรับสเปิร์มจากอัณฑะ3 ท่อนำสเปิร์ม (Vas deferens) เป็นท่อรับสเปิร์มจากปากกรวยไปยังช่องสืบพันธุ์เพศผู้4 ต่อมพรอสเตท (ต่อมต่อมลูกหมาก) เป็นต่อมสีขาวขนาดใหญ่มีรูปร่างเป็นก้อนแตกแขนงคล้ายกิ่งไม้ 1 คู่ ช่องสืบพันธุ์เพศผู้ (รูขุมขนชาย) มี 1 คู่อยู่ตรงด้านท้องปล้องที่ 18 6. ถุงเก็บสเปิร์ม (Seminal ถุง) มี 2 คู่เป็นถุงขนาดใหญ่อยู่ในปล้องที่ 11 และ 12 ทำหน้าที่เก็บและพัฒนา สเปิร์มที่ส




























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ระบบย่อยอาหาร
ทางเดินอาหารของไส้เดือนดินมีรูปร่างเป็นหลอดตรงธรรมดาที่เชื่อมต่อจากปากในช่องแรกยาวไปจนถึงทวารซึ่งประกอบด้วยอวัยวะดังนี้
1ปาก ( ปาก ) อยู่ใต้ริมฝีปากบนเป็นทางเข้าของอาหารนำไปสู่ช่องปากซึ่งจะเป็นบริเวณที่มีต่อมน้ำลายผลิตสารหล่อลื่นอาหารที่กินเข้าไปช่องปากจะอยู่ในปล้องที่ 1 - 3
2คอหอย ( คอหอย ) เป็นกล้ามเนื้อที่หนาและมีต่อมขับเมือกตั้งอยู่ระหว่างปล้องที่ 3 ถึงปล้องที่ 6 ไส้เดือนดินใช้คอหอยในการดูดอาหารต่างๆเข้าปากโดยการหดตัวของกล้ามเนื้อ
3หลอดอาหาร ( หลอดอาหาร ) อยู่ระหว่างปล้องที่ 6 ถึงปล้องที่ 14 มีต่อมแคลซิเฟอรัสช่วยดึงไออนของแคลเซียมจากดินที่ปนมากับอาหารจำนวนมากนำเข้าสู่ทางเดินอาหารเพื่อไม่ให้แคลเซียมในเลือดมากเกินไปเท่านั้นจึงจะมีต่อมแคลซิเฟอรัสต่อจากหลอดอาหารจะพองโตออกเป็นหลอดพักอาหารมีลักษณะเป็นถุงผนังบางๆและกึ๋นซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่แข็งแรงและทำหน้าที่บดอาหารให้ละเอียดเพื่อส่งต่อไปยังลำไส้
4 .ลำไส้ ( ไส้ ) มีลักษณะเป็นท่อตรงที่เริ่มจากปล้องที่ 14 ไปถึงทวารหนักผนังลำไส้ของไส้เดือนดินค่อนข้างบางและผนังลำไส้ด้านบนจะพับเข้าไปข้างในช่องทางเดินอาหารเรียกว่าไทโฟลโซลสำหรับไส้เดือนน้ำจืดไม่มีไทโฟลโซลผนังลำไส้ประกอบด้วยชั้นต่างๆคือเยื่อบุช่องท้องวิสเซอรอลอยู่ชั้นนอกสุดของลำไส้ติดกับช่องลำตัวเซลล์บางเซลล์บนเยื่อนี้จะเปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์พิเศษเรียกว่าทำหน้าที่คล้ายตับของสัตว์ชั้นสูงคือสังเคราะห์และสมสมสารไกลโคเจนไขมันโดยเซลล์ไขมันในเนื้อเยื่อคลอราโกเจนที่มีขนาดโตเต็มที่จะหลุดออกมาอยู่ในช่องลำตัวเรียกว่า eleocytes ซึ่งจะกระจายไปยังเป็นตัวดึงกรดอะมิโนออกจากโปรตีนสกัดแอมโมเนียยูเรียและสกัดสารซิลิกาออกจากอาหารที่กินเข้าไปแล้วขับถ่ายออกนอกร่างกายทางรูขับถ่ายของเสียหรือเนฟริเดียถัดจากเยื่อบุช่องท้องวิโดยกล้ามเนื้อในลำไส้ของไส้เดือนดินประกอบด้วยกล้ามเนื้อ 2 ชั้นคือชั้นในเป็นกล้ามเนื้อเส้นรอบวงและชั้นนอกเป็นกล้ามเนื้อตามยาวซึ่งสลับกันกับกล้ามเนื้อของผนังร่างกายและชั้นในสุดของลำไส้จะเป็นเยื่อบุลำไส้เซลล์รูปแท่งและเซลล์ต่อมทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยชนิดต่างๆ






ระบบขับถ่าย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: