กลองแอว เป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือ มีลักษณะคล้ายกับกลองยาว แต่ใหญ่แล การแปล - กลองแอว เป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือ มีลักษณะคล้ายกับกลองยาว แต่ใหญ่แล ไทย วิธีการพูด

กลองแอว เป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนื

กลองแอว เป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือ มีลักษณะคล้ายกับกลองยาว แต่ใหญ่และยาวกว่ามาก ตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็ง เป็นกลองขึงด้วยหนังหน้าเดียว มีหนังเส้นใหญ่ดึงหน้ากลองไว้โดยรอบยาวตลอดไหล่กลอง เอวคอด ตอนท้ายเรียวและบานปลายคล้ายรูปกรวย ช่วงท้ายของกลองกลึงควั่นเป็นปล้องๆ มีหลายขนาด โดยมีหน้ากลองกว้างประมาณ 35-40 ซม. ความยาวของไหล่กลองประมาณ 75-80 ซม. และความยาวช่วงท้ายประมาณ 95-100 ซม.
กลองแอว เป็นชื่อเรียกที่มีความหมายถึง ลักษณะรูปร่างของหุ่นกลองที่คล้ายกับ "สะเอว"นอกจากนั้นยังอื่นมีชื่อเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่น บ้างก็เรียกตามรูปร่างลักษณะที่เห็น หรือเรียกตามเสียงที่ได้ยิน บ้างก็เรียกตามตำนานที่เล่าขานสืบต่อกันมา เช่น กลองเปิ้งมง, กลองต๊กเส้ง และกลองอืด เป็นต้น
ก่อนการตีจะต้องถ่วงหน้ากลองด้วยวัสดุเหนียวๆ ที่เรียกว่า จ่ากลอง ทำมาจากข้าวเหนียวนึ่งบดผสมกับขี้เถ้า แล้วแต่สูตรของแต่ละคน หรือใช้กล้วยตากอบน้ำผึ้งบด ติดไว้บริเวณหน้ากลองเพื่อเพิ่มความดังกังวาน
กลองแอวสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภท ตามขนาดและเสียง คือ กลองแอวเสียงใหญ่ เสียงกลาง และเสียงเล็ก ซึ่งแต่ละประเภทจะมีขนาดของตัวกลองที่แตกต่างกันไปตามลำดับ
โดยปกติกลองแอวที่ใช้ในภาคเหนือ จะบรรเลงร่วมกับเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ คือ ตะโล้ดโป๊ด สว่า (ฉาบใหญ่) ฆ้องอุ้ย ฆ้องโหย้ง โดยตีเป็นเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงร่วมกันไปตลอดรวมเรียกว่า วงกลองตึ่งโนง และในบางโอกาสมักนิยมใช้เครื่องเป่าที่มีเสียงดังประกอบด้วย คือ แน ซึ่งมี 2 เลา ได้แก่ แนน้อย และแนหลวง หรืออาจจะมีการเพิ่มจำนวนเครื่องประกอบจังหวะไปตามความนิยมของท้องถิ่นนั้นๆ
แต่เดิมกลองแอวเป็นกลองที่อยู่ประจำตามวัดเกือบทุกอารามในจังหวัดทางภาคเหนือ ใช้ตีเป็นสัญญาณประจำวัด เช่น ตีเป็นกลองเพล ตีเป็นสัญญาณชุมนุมสงฆ์ในพิธีสังฆกรรม หรือรวมกระทำกิจวัตรอื่นๆ และใช้ร่วมในงานบุญต่างๆ เช่น แห่นำขบวนครัวตาน หรือเมื่อมีงานฉลองศาสนสถานของวัดที่เรียกว่า ปอยหลวง งานบวชเณรที่เรียกว่า ปอยลูกแก้ว ซึ่งถือเป็นงานที่สำคัญมาก
นอกจากนี้ยังมีการนำมาประกวดแข่งขันประชันเสียงกัน ซึ่งจะจัดในระหว่างเดือน 3 เดือน 4 ซึ่งตรงกับเดือนอ้ายเดือนยี่ในภาคกลาง หรือใช้แห่ประกอบการฟ้อน เช่น ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ในปัจจุบันนิยมนำมาแห่ในขบวนสำคัญต่างๆ โดยทั่วไป รวมถึงการแสดงบนเวทีให้นักท่องเที่ยวต่างถิ่นได้ชมอีกด้วย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กลองแอวเป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือมีลักษณะคล้ายกับกลองยาวแต่ใหญ่และยาวกว่ามากตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็งเป็นกลองขึงด้วยหนังหน้าเดียวมีหนังเส้นใหญ่ดึงหน้ากลองไว้โดยรอบยาวตลอดไหล่กลองเอวคอดตอนท้ายเรียวและบานปลายคล้ายรูปกรวยช่วงท้ายของกลองกลึงควั่นเป็นปล้อง ๆ มีหลายขนาดโดยมีหน้ากลองกว้างประมาณ 35-40 ซม ความยาวของไหล่กลองประมาณ 75-80 ซม และความยาวช่วงท้ายประมาณ 95-100 ซม กลองแอวเป็นชื่อเรียกที่มีความหมายถึงลักษณะรูปร่างของหุ่นกลองที่คล้ายกับ "สะเอว" นอกจากนั้นยังอื่นมีชื่อเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นบ้างก็เรียกตามรูปร่างลักษณะที่เห็นหรือเรียกตามเสียงที่ได้ยินบ้างก็เรียกตามตำนานที่เล่าขานสืบต่อกันมาเช่นกลองเปิ้งมง กลองต๊กเส้งและกลองอืดเป็นต้น ก่อนการตีจะต้องถ่วงหน้ากลองด้วยวัสดุเหนียว ๆ ที่เรียกว่าจ่ากลองทำมาจากข้าวเหนียวนึ่งบดผสมกับขี้เถ้าแล้วแต่สูตรของแต่ละคนหรือใช้กล้วยตากอบน้ำผึ้งบดติดไว้บริเวณหน้ากลองเพื่อเพิ่มความดังกังวาน กลองแอวสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทตามขนาดและเสียงคือกลองแอวเสียงใหญ่เสียงกลางและเสียงเล็กซึ่งแต่ละประเภทจะมีขนาดของตัวกลองที่แตกต่างกันไปตามลำดับ โดยปกติกลองแอวที่ใช้ในภาคเหนือจะบรรเลงร่วมกับเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ คือตะโล้ดโป๊ดสว่า (ฉาบใหญ่) ฆ้องอุ้ยฆ้องโหย้งโดยตีเป็นเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงร่วมกันไปตลอดรวมเรียกว่าวงกลองตึ่งโนงและในบางโอกาสมักนิยมใช้เครื่องเป่าที่มีเสียงดังประกอบด้วยคือแนซึ่งมี 2 เลาได้แก่แนน้อยและแนหลวงหรืออาจจะมีการเพิ่มจำนวนเครื่องประกอบจังหวะไปตามความนิยมของท้องถิ่นนั้น ๆ แต่เดิมกลองแอวเป็นกลองที่อยู่ประจำตามวัดเกือบทุกอารามในจังหวัดทางภาคเหนือใช้ตีเป็นสัญญาณประจำวัดเช่นตีเป็นกลองเพลตีเป็นสัญญาณชุมนุมสงฆ์ในพิธีสังฆกรรมหรือรวมกระทำกิจวัตรอื่น ๆ และใช้ร่วมในงานบุญต่าง ๆ เช่นแห่นำขบวนครัวตานหรือเมื่อมีงานฉลองศาสนสถานของวัดที่เรียกว่าปอยหลวงงานบวชเณรที่เรียกว่าปอยลูกแก้วซึ่งถือเป็นงานที่สำคัญมาก นอกจากนี้ยังมีการนำมาประกวดแข่งขันประชันเสียงกันซึ่งจะจัดในระหว่างเดือน 3 เดือน 4 ซึ่งตรงกับเดือนอ้ายเดือนยี่ในภาคกลางหรือใช้แห่ประกอบการฟ้อนเช่นฟ้อนเล็บฟ้อนเทียนในปัจจุบันนิยมนำมาแห่ในขบวนสำคัญต่าง ๆ โดยทั่วไปรวมถึงการแสดงบนเวทีให้นักท่องเที่ยวต่างถิ่นได้ชมอีกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
กลองแอวเป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือมีลักษณะคล้ายกับกลองยาว แต่ใหญ่และยาวกว่ามากตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็งเป็นกลองขึงด้วยหนังหน้าเดียว เอวคอด มีหลายขนาดโดยมีหน้ากลองกว้างประมาณ 35-40 ซม ความยาวของไหล่กลองประมาณ 75-80 ซม และความยาวช่วงท้ายประมาณ 95-100 ซม.
กลองแอวเป็นชื่อเรียกที่มีความหมายถึง หรือเรียกตามเสียงที่ได้ยิน เช่นกลองเปิ้งมง, กลองต๊กเส้งและกลองอืด
ที่เรียกว่าจ่ากลอง แล้วแต่สูตรของแต่ละคนหรือใช้กล้วยตากอบน้ำผึ้งบด
3 ประเภทตามขนาดและเสียงคือกลองแอวเสียงใหญ่เสียงกลางและเสียงเล็ก
คือตะโล้ดโป๊ดสว่า (ฉาบใหญ่) ฆ้องอุ้ยฆ้องโหย้ง วงกลองตึ่งโนง คือแนซึ่งมี 2 เลา ได้แก่ แนน้อยและแนหลวง
ใช้ตีเป็นสัญญาณประจำวัดเช่นตีเป็นกลองเพล หรือรวมกระทำกิจวัตรอื่น ๆ และใช้ร่วมในงานบุญต่างๆเช่นแห่นำขบวนครัวตาน ปอยหลวงงานบวชเณรที่เรียกว่าปอยลูกแก้ว
ซึ่งจะจัดในระหว่างเดือน 3 เดือน 4 หรือใช้แห่ประกอบการฟ้อนเช่นฟ้อนเล็บฟ้อนเทียน โดยทั่วไป
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
กลองแอวเป็นกลองพื้นบ้านมีในภาคเหนือมีลักษณะคล้ายกับกลองยาวแต่ใหญ่และยาวกว่ามากตัวกลองทำด้วยไม้เนื้อแข็งเป็นกลองขึงด้วยหนังหน้าเดียวมีหนังเส้นใหญ่ดึงหน้ากลองไว้โดยรอบยาวตลอดไหล่กลองเอวคอดช่วงท้ายของกลองกลึงควั่นเป็นปล้องๆมีหลายขนาดโดยมีหน้ากลองกว้างประมาณ 35-40 ซม .ความยาวของไหล่กลองประมาณ 75-80 ซม . และความยาวช่วงท้ายประมาณ 95-100 ซม .
กลองแอวเป็นชื่อเรียกที่มีความหมายถึงลักษณะรูปร่างของหุ่นกลองที่คล้ายกับ " สะเอว " นอกจากนั้นยังอื่นมีชื่อเรียกขานแตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นบ้างก็เรียกตามรูปร่างลักษณะที่เห็นหรือเรียกตามเสียงที่ได้ยินกลองเปิ้งมงเช่น ,กลองต๊กเส้งและกลองอืดเป็นต้น
ก่อนการตีจะต้องถ่วงหน้ากลองด้วยวัสดุเหนียวๆที่เรียกว่าจ่ากลองทำมาจากข้าวเหนียวนึ่งบดผสมกับขี้เถ้าแล้วแต่สูตรของแต่ละคนหรือใช้กล้วยตากอบน้ำผึ้งบดติดไว้บริเวณหน้ากลองเพื่อเพิ่มความดังกังวาน
กลองแอวสามารถแบ่งได้เป็น 3 ประเภทตามขนาดและเสียงความกลองแอวเสียงใหญ่เสียงกลางและเสียงเล็กซึ่งแต่ละประเภทจะมีขนาดของตัวกลองที่แตกต่างกันไปตามลำดับ
โดยปกติกลองแอวที่ใช้ในภาคเหนือจะบรรเลงร่วมกับเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆความตะโล้ดโป๊ดสว่า ( ฉาบใหญ่ ) ฆ้องอุ้ยฆ้องโหย้งโดยตีเป็นเครื่องประกอบจังหวะบรรเลงร่วมกันไปตลอดรวมเรียกว่าวงกลองตึ่งโนงความแนซึ่งมี 2 เลาได้แก่แนน้อยและแนหลวงหรืออาจจะมีการเพิ่มจำนวนเครื่องประกอบจังหวะไปตามความนิยมของท้องถิ่นนั้นๆ
แต่เดิมกลองแอวเป็นกลองที่อยู่ประจำตามวัดเกือบทุกอารามในจังหวัดทางภาคเหนือใช้ตีเป็นสัญญาณประจำวัดเช่นตีเป็นกลองเพลตีเป็นสัญญาณชุมนุมสงฆ์ในพิธีสังฆกรรมหรือรวมกระทำกิจวัตรอื่นๆเช่นแห่นำขบวนครัวตานหรือเมื่อมีงานฉลองศาสนสถานของวัดที่เรียกว่าปอยหลวงงานบวชเณรที่เรียกว่าปอยลูกแก้วซึ่งถือเป็นงานที่สำคัญมาก
นอกจากนี้ยังมีการนำมาประกวดแข่งขันประชันเสียงกันซึ่งจะจัดในระหว่างเดือน 3 เดือน 4 ซึ่งตรงกับเดือนอ้ายเดือนยี่ในภาคกลางหรือใช้แห่ประกอบการฟ้อนเช่นฟ้อนเล็บฟ้อนเทียนโดยทั่วไปรวมถึงการแสดงบนเวทีให้นักท่องเที่ยวต่างถิ่นได้ชมอีกด้วย
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: