ยางนาชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don ชื่อวงศ์ Dipte การแปล - ยางนาชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don ชื่อวงศ์ Dipte ไทย วิธีการพูด

ยางนาชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus a

ยางนา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus alatus Roxb. ex G.Don
ชื่อวงศ์ Dipterocarpaceae
ชื่อสามัญ Yang
ชื่อทางการค้า Yang , Gurjan , Garjan
ชื่อพื้นเมือง ยางนา , ยางขาว , ยางหยวก , ยางแม่น้ำ , (ทั่วไป) ; กาตีล (เขมร, ปราจันบุรี); ยางนา (เลย)
ลักษณะทั่วไป

ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 40 - 50 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาเรียบ สีเทาหรือเทาปนขาว โคนต้นมักเป็นพูสูงขึ้นมาเล็กน้อย ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นที่มีอายุมาก ระหว่าง 4 - 7 เมตร หรือมากกว่า ยอดและกิ่งอ่อนมีขนทั่วไป และมีรอยแผลใบปรากฏชัดตามกิ่ง รูปทรง (เรือนยอด) เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี รูปรีหรือรูปไข่ ใบอ่อนมีขนสีเทาประปราย ใบแก่เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีขนประปราย ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ไม่แตกแขนงตามง่ามใบตอนปลายกิ่งแต่ละช่อมี 3 - 8 ดอก สี ขาวอมชมพู กลิ่น - ออกดอก ระหว่างเดือน มีนาคม - พฤษภาคม ผล เป็นแบบผลแห้ง ตัวผลกลมหรือหรือรูปไข่ ยาว 2.5 - 3.5 ซม. มีครีบยาว 5 ครีบ ด้านบนมีปีก 2 ปีก ปลายมน มีเส้นตามยาว 3 เส้น ปีกอีก 3 ปีก มีลักษณะสั้นมากคล้ายหูหนู ผลแก่ ระหว่างเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน พบขึ้นในที่ลุ่มต่ำริมห้วย ลำธาร และตามหุบเขาทั่วทุกภาคของประเทศไทยในระดับความสูงของน้ำทะเลเฉลี่ยคือ 350 เมตรในต่างประเทศพบที่บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนามใต้ และมาเลเซีย การขยายพันธุ์และการผลิตกล้า ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด เป็นไม้กลางแจ้ง เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิด

ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก
ดิน ชอบดินที่มีอินทรียวัตถุค่อนข้างอุดมสมบูรณ์
ความชื้น ชอบความชื้นปานกลาง
แสง ลูกไม้ยางนาชอบขึ้นบริเวณใต้ร่มเงาต้นไม้ใหญ่ ที่มีแสงแดดส่องถึง (แดดรำไร) เมื่อพ้นระยะลูกไม้ ( หลังยางนาอายุ 1 ปี) ต้องการ แสงแดดเต็มวัน จึงควรทยอยเปิดร่มเงาออก

การปลูกดูแลบำรุงรักษา
การคัดเลือกพื้นที่และเตรียมพื้นที่ปลูก ก่อนนำเมล็ดไปเพาะควรนำเมล็ดมาตัดปีกออกก่อนวัสดุที่ใช้เพาะเมล็ดไม้
ปกตินิยมใช้ทรายท้องน้ำคั่วหรือราดยาฆ่าเชื้อราก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ราทำลายกล้าไม้ที่จะงอกใหม่ๆได้วางเรียงเมล็ดไม้ที่ตัดปีกออกแล้วให้ส่วนที่เป็นปลายรากหงายขึ้นมา(ส่วนที่เป็นรอยต่อของเมล็ดกับปีก) กดเมล็ดให้จมลงในทรายให้ระดับปลายรากอยู่ในระดับผิวทรายแล้วโรยทับด้วย
ขลุยมะพร้าวบางๆรดน้ำทุกวันเช้า-เย็นให้ความชุ่มชื่นนี้พอเพียงเมล็ดใหม่จะงอกหลังจากเพาะแล้ว4-5วันจากนั้นจึงทำการย้ายเมล็ดที่งอกลงใน
ถุงเพาะชำต่อไป
วิธีการปลูกและระยะปลูกที่เหมาะสม ควรทำในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนระยะปลูกที่เหมาะสมควรใช้ ระยะห่าง4x4เมตรอัตราการรอดตายสูงมากและเจริญเติบโตได้ดีหลุมปลูกควรมีขนาด30x30x30ซม.ก้นหลุมควรมีผิดดินที่ร่วนซุยหรืออาจใช้ปุ๋ยอินทรีย์ รองก้นหลุมเมื่อปลูกแล้วควรกลบหลุมให้ระดับผิวดินอย่าให้น้ำขัง

โรคและแมลง
โรคพืชที่พบในไม้วงศ์ยางได้แก่เชื้อจุรินทรีย์ที่ให้โทษได้แก่-ระยะที่เป็นเมล็ดได้แก่เชื้อราที่ทำให้เมล็ดเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้น (มีประมาณ50ชนิด) ระยะที่เป็นกล้าไม้ได้แก่โรคเน่าคอดิน แมลงศัตรูพืชได้แก่แมลงเจาะเมล็ดไม้ได้แก่ด้วงงวงเจาะเมล็ด
แมลงกินใบได้แก่พวกหนอนไหมป่า,หนอนบุ้ง,ด้วงค่อมทองแมลงเจาะเปลือกได้แก่ด้วงงวงเจาะเปลือกแมลงเจาะลำต้นได้แก่ด้วยหนวดยาวเจาะลำต้น อัตราการเจริญเติบโต ยางนาเป็นไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าโดยไม้ที่มีอายุประมาณ 14 ปี มีความโตทางเส้นรอบวงเฉลี่ยถึง 82.84 ซม. มีปริมาตร 3.83 ลบ.ม./ไร่ (7 ตัน / ไร่)

การเก็บรักษา
ไม้ยางนาถ้านำไปอาบน้ำยาสามารถทนทานต่อการทำลายของปลวกและเชื้อราได้ดี จึงทำให้มีอายุการใช้งานนาน (มากกว่า 10 ปีขึ้นไป)
การแปรรูป
เนื่องจากเนื้อไม้มีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเทา เสี้ยนตรงเนื้อไม้หยาบ แข็งปานกลาง เลื่อยไสกบตกแต่งให้เรียบได้ง่าย จึงนิยามนำมาเลื่อยทำ ฝาบ้าน ทำไม้คร่าว ไม้ระแนง โครงหลังคา ทำพื้น เพดาน รอด ตง และ เครื่องเรือนต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ใช้ทำเรือขุด เรือขนาดย่อม เครื่องเรือน ใช้ทำพื้น ฝาเพดาน รอด ตง เป็นไม้หมอนรองรางรถไฟ ฯลฯ การใช้ประโยชน์ทางด้านนิเวศน์ ควบคุมอุณหภูมิในอากาศ ให้ร่มเงา กำบังลม ให้ความชุ่มชื้น ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ฯลฯ การใช้ประโยชน์ทางด้านภูมิสถาปัตย์ ปลูกสองฝั่งถนน เพื่อความสวยงาม การใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนาการ ไม่พบประโยชน์ทางตรง แต่พบว่าเป็นตัวเอื้อประโยชน์ในการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดราไมคอร์ไรซ่าทั้งในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ซึ่งเรียกว่า เห็ดยาง ซึ่งนำไปเป็นอาหารได้ การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร ต้น สรรพคุณ มีน้ำมันยาง


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปรารถเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ด้วยทรงห่วงในสถานการณ์ของไม้ยางนาเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้วว่า
“ ไม้ยางนาในประเทศไทยได้ถูกตัดไปใช้สอยและทำเป็นสินค้ากันเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี เป็นที่น่าวิตกว่าหากมิได้ทำการบำรุงส่งเสริมและดำเนินการปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้ว ปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที จึงควรจะได้มีการดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาเพื่อจะได้นำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ”
ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชียอาคเนย์ เพราะมีขนาดสูงใหญ่ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียอาจมีความสูงถึง ๕๐ เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง ๗ เมตร ในประเทศไทยพบอยู่ทั่วไป ซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอที่มีคำว่า “ ยาง ” อยู่ในทุกภาคของประเทศ เช่น อำเภอท่ายาง ท่าสองยาง ยางตลาด และยางชุมน้อย เป็นไม้เอนกประสงค์ แทบทุกส่วนสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นแหล่งอาหารป่า แหล่งนันทนาการ น้ำมันยาก สมุนไพร และเนื้อไม้สำหรับใช้สอยทั่วไป จนพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้ให้ความสำคัญของไม้ยางเท่าเทียมกับไม้สัก ด้วยการกำหนดว่าทั้ง “ ไม้สักและไม้ยางนาทั่วไปในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่ใด (รวมทั้งในเอกชน) เป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงธรรมดา) ซึ่งการทำไม้จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ” แม้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยก็ยังต้องนำเข้าไม้ยางถึง ๑๔๑,๘๒๔ ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นมูลค่า ๑,๐๔๕ ล้านบาท ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ในการเสด็จพระราชดำเนินทางรถยนต์ไปแปรพระราชฐาน ณ พระที่นั่งไกลกังวล อำเภอหั
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ยางนาชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus alatus Roxb แฟนเก่า G.Don ชื่อวงศ์ Dipterocarpaceaeยางชื่อสามัญต้นยาง Gurjan ชื่อทางการค้าชื่อพื้นเมืองยางนา ยางขาว ยางหยวก ยางแม่น้ำ (ทั่ว ไป); กาตีล (เขมร ปราจันบุรี); ยางนา (เลย)ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูงถึง 40 - 50 เมตร ลำต้นเปลาตรง เปลือกหนาเรียบ สีเทาหรือเทาปนขาว โคนต้นมักเป็นพูสูงขึ้นมาเล็กน้อย ขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นที่มีอายุมาก ระหว่าง 4 - 7 เมตร หรือมากกว่า ยอดและกิ่งอ่อนมีขนทั่วไป และมีรอยแผลใบปรากฏชัดตามกิ่ง รูปทรง (เรือนยอด) เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบ ใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนสลับ รูปรี รูปรีหรือรูปไข่ ใบอ่อนมีขนสีเทาประปราย ใบแก่เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยง มีขนประปราย ดอก ออกเป็นช่อสั้นๆ ไม่แตกแขนงตามง่ามใบตอนปลายกิ่งแต่ละช่อมี 3 - 8 ดอก สี ขาวอมชมพู กลิ่น - ออกดอก ระหว่างเดือน มีนาคม - พฤษภาคม ผล เป็นแบบผลแห้ง ตัวผลกลมหรือหรือรูปไข่ ยาว 2.5 - 3.5 ซม. มีครีบยาว 5 ครีบ ด้านบนมีปีก 2 ปีก ปลายมน มีเส้นตามยาว 3 เส้น ปีกอีก 3 ปีก มีลักษณะสั้นมากคล้ายหูหนู ผลแก่ ระหว่างเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน พบขึ้นในที่ลุ่มต่ำริมห้วย ลำธาร และตามหุบเขาทั่วทุกภาคของประเทศไทยในระดับความสูงของน้ำทะเลเฉลี่ยคือ 350 เมตรในต่างประเทศพบที่บังคลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนามใต้ และมาเลเซีย การขยายพันธุ์และการผลิตกล้า ขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ด เป็นไม้กลางแจ้ง เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิดปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก ดิน ชอบดินที่มีอินทรียวัตถุค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ ความชื้น ชอบความชื้นปานกลาง แสง ลูกไม้ยางนาชอบขึ้นบริเวณใต้ร่มเงาต้นไม้ใหญ่ ที่มีแสงแดดส่องถึง (แดดรำไร) เมื่อพ้นระยะลูกไม้ ( หลังยางนาอายุ 1 ปี) ต้องการ แสงแดดเต็มวัน จึงควรทยอยเปิดร่มเงาออกการปลูกดูแลบำรุงรักษา การคัดเลือกพื้นที่และเตรียมพื้นที่ปลูก ก่อนนำเมล็ดไปเพาะควรนำเมล็ดมาตัดปีกออกก่อนวัสดุที่ใช้เพาะเมล็ดไม้ปกตินิยมใช้ทรายท้องน้ำคั่วหรือราดยาฆ่าเชื้อราก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ราทำลายกล้าไม้ที่จะงอกใหม่ๆได้วางเรียงเมล็ดไม้ที่ตัดปีกออกแล้วให้ส่วนที่เป็นปลายรากหงายขึ้นมา(ส่วนที่เป็นรอยต่อของเมล็ดกับปีก) กดเมล็ดให้จมลงในทรายให้ระดับปลายรากอยู่ในระดับผิวทรายแล้วโรยทับด้วยขลุยมะพร้าวบางๆรดน้ำทุกวันเช้า-เย็นให้ความชุ่มชื่นนี้พอเพียงเมล็ดใหม่จะงอกหลังจากเพาะแล้ว4-5วันจากนั้นจึงทำการย้ายเมล็ดที่งอกลงใน
ถุงเพาะชำต่อไป
วิธีการปลูกและระยะปลูกที่เหมาะสม ควรทำในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนระยะปลูกที่เหมาะสมควรใช้ ระยะห่าง4x4เมตรอัตราการรอดตายสูงมากและเจริญเติบโตได้ดีหลุมปลูกควรมีขนาด30x30x30ซม.ก้นหลุมควรมีผิดดินที่ร่วนซุยหรืออาจใช้ปุ๋ยอินทรีย์ รองก้นหลุมเมื่อปลูกแล้วควรกลบหลุมให้ระดับผิวดินอย่าให้น้ำขัง

โรคและแมลง
โรคพืชที่พบในไม้วงศ์ยางได้แก่เชื้อจุรินทรีย์ที่ให้โทษได้แก่-ระยะที่เป็นเมล็ดได้แก่เชื้อราที่ทำให้เมล็ดเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้น (มีประมาณ50ชนิด) ระยะที่เป็นกล้าไม้ได้แก่โรคเน่าคอดิน แมลงศัตรูพืชได้แก่แมลงเจาะเมล็ดไม้ได้แก่ด้วงงวงเจาะเมล็ด
แมลงกินใบได้แก่พวกหนอนไหมป่า,หนอนบุ้ง,ด้วงค่อมทองแมลงเจาะเปลือกได้แก่ด้วงงวงเจาะเปลือกแมลงเจาะลำต้นได้แก่ด้วยหนวดยาวเจาะลำต้น อัตราการเจริญเติบโต ยางนาเป็นไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าโดยไม้ที่มีอายุประมาณ 14 ปี มีความโตทางเส้นรอบวงเฉลี่ยถึง 82.84 ซม. มีปริมาตร 3.83 ลบ.ม./ไร่ (7 ตัน / ไร่)

การเก็บรักษา
ไม้ยางนาถ้านำไปอาบน้ำยาสามารถทนทานต่อการทำลายของปลวกและเชื้อราได้ดี จึงทำให้มีอายุการใช้งานนาน (มากกว่า 10 ปีขึ้นไป)
การแปรรูป
เนื่องจากเนื้อไม้มีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเทา เสี้ยนตรงเนื้อไม้หยาบ แข็งปานกลาง เลื่อยไสกบตกแต่งให้เรียบได้ง่าย จึงนิยามนำมาเลื่อยทำ ฝาบ้าน ทำไม้คร่าว ไม้ระแนง โครงหลังคา ทำพื้น เพดาน รอด ตง และ เครื่องเรือนต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ใช้ทำเรือขุด เรือขนาดย่อม เครื่องเรือน ใช้ทำพื้น ฝาเพดาน รอด ตง เป็นไม้หมอนรองรางรถไฟ ฯลฯ การใช้ประโยชน์ทางด้านนิเวศน์ ควบคุมอุณหภูมิในอากาศ ให้ร่มเงา กำบังลม ให้ความชุ่มชื้น ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ฯลฯ การใช้ประโยชน์ทางด้านภูมิสถาปัตย์ ปลูกสองฝั่งถนน เพื่อความสวยงาม การใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนาการ ไม่พบประโยชน์ทางตรง แต่พบว่าเป็นตัวเอื้อประโยชน์ในการเจริญเติบโตของเชื้อเห็ดราไมคอร์ไรซ่าทั้งในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น ซึ่งเรียกว่า เห็ดยาง ซึ่งนำไปเป็นอาหารได้ การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร ต้น สรรพคุณ มีน้ำมันยาง


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปรารถเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๐๔ ด้วยทรงห่วงในสถานการณ์ของไม้ยางนาเมื่อกว่า ๔๐ ปีที่แล้วว่า
“ ไม้ยางนาในประเทศไทยได้ถูกตัดไปใช้สอยและทำเป็นสินค้ากันเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี เป็นที่น่าวิตกว่าหากมิได้ทำการบำรุงส่งเสริมและดำเนินการปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้ว ปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที จึงควรจะได้มีการดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกไม้ยางนาเพื่อจะได้นำความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติ ”
ยางนา (Dipterocarpus alatus Roxb.) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชียอาคเนย์ เพราะมีขนาดสูงใหญ่ มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียอาจมีความสูงถึง ๕๐ เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง ๗ เมตร ในประเทศไทยพบอยู่ทั่วไป ซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้าน ตำบล อำเภอที่มีคำว่า “ ยาง ” อยู่ในทุกภาคของประเทศ เช่น อำเภอท่ายาง ท่าสองยาง ยางตลาด และยางชุมน้อย เป็นไม้เอนกประสงค์ แทบทุกส่วนสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นแหล่งอาหารป่า แหล่งนันทนาการ น้ำมันยาก สมุนไพร และเนื้อไม้สำหรับใช้สอยทั่วไป จนพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. ๒๔๕๔ ได้ให้ความสำคัญของไม้ยางเท่าเทียมกับไม้สัก ด้วยการกำหนดว่าทั้ง “ ไม้สักและไม้ยางนาทั่วไปในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่ใด (รวมทั้งในเอกชน) เป็นไม้หวงห้ามประเภท ก. (ไม้หวงธรรมดา) ซึ่งการทำไม้จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ ” แม้ในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ประเทศไทยก็ยังต้องนำเข้าไม้ยางถึง ๑๔๑,๘๒๔ ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นมูลค่า ๑,๐๔๕ ล้านบาท ด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ในการเสด็จพระราชดำเนินทางรถยนต์ไปแปรพระราชฐาน ณ พระที่นั่งไกลกังวล อำเภอหั
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ยางนา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Dipterocapus ยางนา อดีต G.Don
ชื่อวงศ์ไม้วงศ์ยาง
ยางชื่อสามัญ
ชื่อทางการค้ายาง Gurjan, Garjan
ชื่อพื้นเมืองยางนา, ยางขาว, ยางหยวก, ยางแม่น้ำ (ทั่วไป); กาตีล (เขมร, ปราจันบุรี); ยางนา (เลย)
ลักษณะทั่วไปไม้ต้นขนาดใหญ่สูงถึง 40-50 เมตรลำต้นเปลาตรงเปลือกหนาเรียบสีเทาหรือเทาปนขาวโคนต้นมักเป็นพูสูงขึ้นมาเล็กน้อย ระหว่าง 4-7 เมตรหรือมากกว่ายอดและกิ่งอ่อนมีขนทั่วไปและมีรอยแผลใบปรากฏชัดตามกิ่งรูปทรง (เรือนยอด) เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบใบใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับรูปรีรูปรีหรือรูปไข่ใบอ่อนมี ขนสีเทาประปรายใบแก่เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยงมีขนประปรายดอกออกเป็นช่อสั้น ๆ 3-8 ดอกสีขาวอมชมพูกลิ่น - ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคมผลเป็นแบบผลแห้งตัวผลกลมหรือหรือรูปไข่ยาว 2.5-3.5 ซม มีครีบยาว 5 ครีบด้านบนมีปีก 2 ปีกปลายมนมีเส้นตามยาว 3 เส้นปีกอีก 3 ปีกมีลักษณะสั้นมากคล้ายหูหนูผลแก่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายนพบขึ้นในที่ลุ่มต่ำริมห้วยลำธาร 350 เมตรในต่างประเทศพบที่บังคลาเทศพม่าลาวกัมพูชาเวียดนามใต้และมาเลเซียการขยายพันธุ์และการผลิตกล้าขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเป็นไม้กลางแจ้ง ชอบความชื้นปานกลางแสง ที่มีแสงแดดส่องถึง (แดดรำไร) เมื่อพ้นระยะลูกไม้ (หลังยางนาอายุ 1 ปี) ต้องการแสงแดดเต็มวัน (มีประมาณ 50 ชนิด) อัตราการเจริญเติบโต 14 ปีมีความโตทางเส้นรอบวงเฉลี่ยถึง 82.84 ซม มีปริมาตร 3.83 ลบ.ม. / ไร่ (7 ตัน / จึงทำให้มีอายุการใช้งานนาน (มากกว่า 10 เสี้ยนตรงเนื้อไม้หยาบแข็งปานกลางเลื่อยไสกบตกแต่งให้เรียบได้ง่ายจึงนิยามนำมาเลื่อยทำฝาบ้านทำไม้คร่าวไม้ระแนงโครงหลังคาทำพื้นเพดานรอดตงและเครื่องเรือนต่าง ๆ การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้างอาคาร บ้านเรือนใช้ทำเรือขุดเรือขนาดย่อมเครื่องเรือนใช้ทำพื้นฝาเพดานรอดตงเป็นไม้หมอนรองรางรถไฟ ฯลฯ การใช้ประโยชน์ทางด้านนิเวศน์ควบคุมอุณหภูมิในอากาศให้ร่มเงากำบังลมให้ความชุ่มชื้นป้องกันการพังทลายของหน้าดิน ฯลฯ การ ใช้ประโยชน์ทางด้านภูมิสถาปัตย์ปลูกสองฝั่งถนนเพื่อความสวยงามการใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนาการไม่พบประโยชน์ทางตรง ป่าดิบชื้นซึ่งเรียกว่าเห็ดยางซึ่งนำไปเป็นอาหารได้การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรต้นสรรพคุณ พ.ศ. 2504 40 ปีที่แล้วว่า" ปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที " ยางนา (ยางนา Roxb.) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชียอาคเนย์เพราะมีขนาดสูงใหญ่ 50 เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง 7 เมตรในประเทศไทยพบอยู่ทั่วไปซึ่งยืนยันได้จากชื่อหมู่บ้านตำบลอำเภอที่มีคำว่า "ยาง" อยู่ในทุกภาคของประเทศเช่นอำเภอท่ายางท่าสองยางยางตลาดและยางชุมน้อยเป็นไม้เอนกประสงค์ เป็นแหล่งอาหารป่าแหล่งนันทนาการน้ำมันยากสมุนไพรและเนื้อไม้สำหรับใช้สอยทั่วไปจนพระราชบัญญัติป่าไม้ พ.ศ. 2454 ด้วยการกำหนดว่าทั้ง " ไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่ใด (รวมทั้งในเอกชน) เป็นไม้หวงห้ามประเภทก. (ไม้หวงธรรมดา) "แม้ในปี พ.ศ. 2546 ประเทศไทยก็ยังต้องนำเข้าไม้ยางถึง 141,824 ลูกบาศก์เมตรคิดเป็นมูลค่า 1,045 ล้านบาทด้วยสายพระเนตรอันยาวไกล ณ พระที่นั่งไกลกังวลอำเภอหั



























การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ยางนา
ชื่อวิทยาศาสตร์ dipterocapus นา Roxb . อดีต G . Don ชื่อวงศ์ Dipterocarpaceae


ชื่อทางการค้าชื่อสามัญหยางหยาง gurjan garjan
, ชื่อพื้นเมืองยางนายางขาวยางหยวกยางแม่น้ำ , , , , ( ทั่วไป ) ; กาตีล ( เขมรปราจันบุรี , ) ; ยางนา ( เลย )

ลักษณะทั่วไปไม้ต้นขนาดใหญ่สูงถึง 40 - 50 เมตรลำต้นเปลาตรงเปลือกหนาเรียบสีเทาหรือเทาปนขาวโคนต้นมักเป็นพูสูงขึ้นมาเล็กน้อยขนาดเส้นรอบวงเพียงอกของต้นที่มีอายุมากระหว่าง 4 - 7 เมตรหรือมากกว่ายอดและกิ่งอ่อนมีขนทั่วไปด้วงค่อมทองแมลงเจาะเปลือกได้แก่ด้วงงวงเจาะเปลือกแมลงเจาะลำต้นได้แก่ด้วยหนวดยาวเจาะลำต้นอัตราการเจริญเติบโตยางนาเป็นไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าโดยไม้ที่มีอายุประมาณ 14 .รูปทรง ( เรือนยอด ) เรือนยอดเป็นพุ่มกลมแน่นทึบใบใบเดี่ยวเรียงเวียนสลับรูปรีรูปรีหรือรูปไข่ใบอ่อนมีขนสีเทาประปรายใบแก่เกลี้ยงหรือเกือบเกลี้ยงมีขนประปรายดอกออกเป็นช่อสั้นๆ3 - 8 ดอกสีขาวอมชมพูกลิ่น - ออกดอกระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม way back เป็นแบบผลแห้งตัวผลกลมหรือหรือรูปไข่ยาว 25 - 3.5 ซม .มีครีบยาว 5 ครีบด้านบนมีปีก 2 ปีกปลายมนมีเส้นตามยาว 3 เส้นปีกอีก 3 ปีกมีลักษณะสั้นมากคล้ายหูหนูผลแก่ระหว่างเดือนพฤษภาคม - มิถุนายนพบขึ้นในที่ลุ่มต่ำริมห้วยลำธาร350 เมตรในต่างประเทศพบที่บังคลาเทศพม่าลาวกัมพูชาเวียดนามใต้และมาเลเซียการขยายพันธุ์และการผลิตกล้าขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดเป็นไม้กลางแจ้งเจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินแทบทุกชนิด


ดินปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูกชอบดินที่มีอินทรียวัตถุค่อนข้างอุดมสมบูรณ์ชอบความชื้นปานกลาง

ความชื้นแสงลูกไม้ยางนาชอบขึ้นบริเวณใต้ร่มเงาต้นไม้ใหญ่ที่มีแสงแดดส่องถึง ( แดดรำไร ) เมื่อพ้นระยะลูกไม้ ( หลังยางนาอายุ 1 . ) ต้องการแสงแดดเต็มวันจึงควรทยอยเปิดร่มเงาออก


การปลูกดูแลบำรุงรักษาการคัดเลือกพื้นที่และเตรียมพื้นที่ปลูกก่อนนำเมล็ดไปเพาะควรนำเมล็ดมาตัดปีกออกก่อนวัสดุที่ใช้เพาะเมล็ดไม้
ปกตินิยมใช้ทรายท้องน้ำคั่วหรือราดยาฆ่าเชื้อราก่อนเพื่อป้องกันไม่ให้ราทำลายกล้าไม้ที่จะงอกใหม่ๆได้วางเรียงเมล็ดไม้ที่ตัดปีกออกแล้วให้ส่วนที่เป็นปลายรากหงายขึ้นมา ( ส่วนที่เป็นรอยต่อของเมล็ดกับปีก )ขลุยมะพร้าวบางๆรดน้ำทุกวันเช้า - เย็นให้ความชุ่มชื่นนี้พอเพียงเมล็ดใหม่จะงอกหลังจากเพาะแล้ว 4-5 วันจากนั้นจึงทำการย้ายเมล็ดที่งอกลงใน

ถุงเพาะชำต่อไปวิธีการปลูกและระยะปลูกที่เหมาะสมควรทำในช่วงฤดูฝนประมาณเดือนมิถุนายนระยะปลูกที่เหมาะสมควรใช้ระยะห่าง 4x4 เมตรอัตราการรอดตายสูงมากและเจริญเติบโตได้ดีหลุมปลูกควรมีขนาด 30x30x30 ซม .ก้นหลุมควรมีผิดดินที่ร่วนซุยหรืออาจใช้ปุ๋ยอินทรีย์รองก้นหลุมเมื่อปลูกแล้วควรกลบหลุมให้ระดับผิวดินอย่าให้น้ำขัง


โรคและแมลงโรคพืชที่พบในไม้วงศ์ยางได้แก่เชื้อจุรินทรีย์ที่ให้โทษได้แก่ - ระยะที่เป็นเมล็ดได้แก่เชื้อราที่ทำให้เมล็ดเสื่อมคุณภาพเร็วขึ้น ( มีประมาณ 50 ชนิด ) ระยะที่เป็นกล้าไม้ได้แก่โรคเน่าคอดินแมลงกินใบได้แก่พวกหนอนไหมป่าหนอนบุ้ง , ,ด้วงค่อมทองแมลงเจาะเปลือกได้แก่ด้วงงวงเจาะเปลือกแมลงเจาะลำต้นได้แก่ด้วยหนวดยาวเจาะลำต้นอัตราการเจริญเติบโตยางนาเป็นไม้ที่มีอัตราการเจริญเติบโตช้าโดยไม้ที่มีอายุประมาณ 14 .82 .84 ซม . มีปริมาตร 3.83 ลบ . แอง . / ไร่ ( 7 ตัน / ไร่ )

การเก็บรักษา
ไม้ยางนาถ้านำไปอาบน้ำยาสามารถทนทานต่อการทำลายของปลวกและเชื้อราได้ดีจึงทำให้มีอายุการใช้งานนาน ( มากกว่า 10 ปีขึ้นไป )

การแปรรูปเนื่องจากเนื้อไม้มีสีน้ำตาลแดงหรือน้ำตาลเทาเสี้ยนตรงเนื้อไม้หยาบแข็งปานกลางเลื่อยไสกบตกแต่งให้เรียบได้ง่ายจึงนิยามนำมาเลื่อยทำฝาบ้านทำไม้คร่าวไม้ระแนงโครงหลังคาทำพื้นเพดานรอดตงและจะการใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้ใช้ในการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนใช้ทำเรือขุดเรือขนาดย่อมเครื่องเรือนใช้ทำพื้นฝาเพดานรอดตงเป็นไม้หมอนรองรางรถไฟฯลฯการใช้ประโยชน์ทางด้านนิเวศน์ควบคุมอุณหภูมิในอากาศกำบังลมให้ความชุ่มชื้นป้องกันการพังทลายของหน้าดินฯลฯการใช้ประโยชน์ทางด้านภูมิสถาปัตย์ปลูกสองฝั่งถนนเพื่อความสวยงามการใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนาการไม่พบประโยชน์ทางตรงป่าดิบชื้นซึ่งเรียกว่าเห็ดยางซึ่งนำไปเป็นอาหารได้การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพรต้นสรรพคุณมีน้ำมันยาง


พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้มีพระราชปรารถเมื่อปีพ . ศ . ๒๕๐๔ด้วยทรงห่วงในสถานการณ์ของไม้ยางนาเมื่อกว่า๔๐ปีที่แล้วว่า
" ไม้ยางนาในประเทศไทยได้ถูกตัดไปใช้สอยและทำเป็นสินค้ากันเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปีเป็นที่น่าวิตกว่าหากมิได้ทำการบำรุงส่งเสริมและดำเนินการปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้วปริมาณยางนาก็จะลดน้อยลงไปทุกที"
ยางนา ( ยางนา ช้าพลู) เป็นเสมือนพยาไม้แห่งเอเชียอาคเนย์เพราะมีขนาดสูงใหญ่มีถิ่นกำเนิดอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ของทวีปเอเชียอาจมีความสูงถึง๕๐เมตรและมีเส้นรอบวงที่ระดับอกถึง๗เมตรในประเทศไทยพบอยู่ทั่วไปตำบลอำเภอที่มีคำว่า " ยาง " อยู่ในทุกภาคของประเทศเช่นอำเภอท่ายางท่าสองยางยางตลาดและยางชุมน้อยเป็นไม้เอนกประสงค์แทบทุกส่วนสามารถก่อให้เกิดประโยชน์ได้ทั้งทางตรงและทางอ้อมเป็นแหล่งอาหารป่าน้ำมันยากสมุนไพรและเนื้อไม้สำหรับใช้สอยทั่วไปจนพระราชบัญญัติป่าไม้พ .ศ . ๒๔๕๔ได้ให้ความสำคัญของไม้ยางเท่าเทียมกับไม้สักด้วยการกำหนดว่าทั้ง " ไม้สักและไม้ยางนาทั่วไปในราชอาณาจักรไม่ว่าจะขึ้นอยู่กับที่ใด ( รวมทั้งในเอกชน ) เป็นไม้หวงห้ามประเภท . .( ไม้หวงธรรมดา ) ซึ่งการทำไม้จะต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่ " แม้ในปีพ . ศ . ๒๕๔๖ประเทศไทยก็ยังต้องนำเข้าไม้ยางถึง๑๔๑๘๒๔ลูกบาศก์เมตรคิดเป็นมูลค่าบ , ,
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: