เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททอง เรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เ การแปล - เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททอง เรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เ ไทย วิธีการพูด

เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททอง เรื

เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททอง เรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๓๑ คัดและถ่ายทอดโดย นายเกษียร มะปะโม นักภาษาโบราณกองหอสมุดแห่งชาติ เรื่องนี้มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า พระมหาราชครูมเหธร ประพันธ์ขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๐๐-๒๒๓๐ เป็นคำฉันท์ เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระประวัติพระเจ้าปราสาททอง ตั้งแต่ประสูติ เสวยราชสมบัติ โปรดให้ลบศักราช การทำนุบำรุงบ้านเมือง และสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ เป็นเอกสารที่มีค่ามากเล่มหนึ่งทางประวัติศาสตร์

เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว วรรณกรรมกรุงศรีอยุธยาก็ซบเซาไป ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ (สมเด็จพระสรรเพ็ชญที่ ๙) มี โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ บรรยายการชะลอเลื่อนองค์พระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมก ซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารริมน้ำตลิ่งถูกเซาะใกล้จะพังลง ให้พ้นแล้วสร้างพระวิหารใหม่ แต่งเป็นโคลง ๖๙ บท บรรยายการชะลอเลื่อนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ได้สำเร็จ ซึ่งแสดงถึงความสามารถในทางช่างของคนไทยสมัยนั้น
ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ ยังมีเรื่อง โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย ซึ่งเจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ ทรงพระนิพนธ์ เป็นโคลงสี่สุภาพ ๒๕ บท เล่าเรื่องการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ วงกวีได้รุ่งเรืองขึ้นอีกวาระหนึ่ง กวีเอกของยุคนี้ ได้แก่ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ หรือเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง
เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ได้ทรงพระนิพนธ์บทกวีไว้หลายเรื่องหลายแบบ ซึ่งล้วนมีคุณค่าในทางวรรณคดี ได้แก่ นันโทปนันทสูตรคำหลวง นันโทปนันทสูตร เป็นสูตรหนึ่งในคัมภีร์ทีฆนิกาย เป็นภาษาบาลี เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ได้ทรงพระนิพนธ์เป็นภาษาไทย เนื้อความกล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงส่งพระโมคคัลลานเถระไปทรมาน “นันทนาคราช”ให้พ้นจากมิจฉาทิฐิ มาตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททองเรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรกพ.ศ. ๒๕๓๑ คัดและถ่ายทอดโดยนายเกษียรมะปะโมนักภาษาโบราณกองหอสมุดแห่งชาติเรื่องนี้มีหลักฐานบันทึกไว้ว่าพระมหาราชครูมเหธรประพันธ์ขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชระหว่างพ.ศ ๒๒๐๐ - ๒๒๓๐ เป็นคำฉันท์เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระประวัติพระเจ้าปราสาททองตั้งแต่ประสูติเสวยราชสมบัติโปรดให้ลบศักราชการทำนุบำรุงบ้านเมืองและสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศเป็นเอกสารที่มีค่ามากเล่มหนึ่งทางประวัติศาสตร์เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ววรรณกรรมกรุงศรีอยุธยาก็ซบเซาไปในสมัยพระเจ้าท้ายสระ (สมเด็จพระสรรเพ็ชญที่ ๙) มีโคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์บรรยายการชะลอเลื่อนองค์พระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารริมน้ำตลิ่งถูกเซาะใกล้จะพังลงให้พ้นแล้วสร้างพระวิหารใหม่แต่งเป็นโคลง ๖๙ บทบรรยายการชะลอเลื่อนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ได้สำเร็จซึ่งแสดงถึงความสามารถในทางช่างของคนไทยสมัยนั้น ในสมัยพระเจ้าท้ายสระยังมีเรื่องโคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัยซึ่งเจ้าฟ้าอภัยพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าท้ายสระทรงพระนิพนธ์เป็นโคลงสี่สุภาพ ๒๕ บทเล่าเรื่องการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศวงกวีได้รุ่งเรืองขึ้นอีกวาระหนึ่งกวีเอกของยุคนี้ได้แก่เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือเจ้าฟ้ากุ้ง เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าบรมโกศได้ทรงพระนิพนธ์บทกวีไว้หลายเรื่องหลายแบบซึ่งล้วนมีคุณค่าในทางวรรณคดีได้แก่นันโทปนันทสูตรคำหลวงนันโทปนันทสูตรเป็นสูตรหนึ่งในคัมภีร์ทีฆนิกายเป็นภาษาบาลีเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ได้ทรงพระนิพนธ์เป็นภาษาไทยเนื้อความกล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงส่งพระโมคคัลลานเถระไปทรมาน "นันทนาคราช" ให้พ้นจากมิจฉาทิฐิมาตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททอง เรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรก พ.ศ. ๒๕๓๑ คัดและถ่ายทอดโดย นายเกษียร มะปะโม นักภาษาโบราณกองหอสมุดแห่งชาติ เรื่องนี้มีหลักฐานบันทึกไว้ว่า พระมหาราชครูมเหธร ประพันธ์ขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ระหว่าง พ.ศ. ๒๒๐๐-๒๒๓๐ เป็นคำฉันท์ เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระประวัติพระเจ้าปราสาททอง ตั้งแต่ประสูติ เสวยราชสมบัติ โปรดให้ลบศักราช การทำนุบำรุงบ้านเมือง และสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ เป็นเอกสารที่มีค่ามากเล่มหนึ่งทางประวัติศาสตร์

เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ว วรรณกรรมกรุงศรีอยุธยาก็ซบเซาไป ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ (สมเด็จพระสรรเพ็ชญที่ ๙) มี โคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์ บรรยายการชะลอเลื่อนองค์พระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมก ซึ่งประดิษฐานอยู่ในวิหารริมน้ำตลิ่งถูกเซาะใกล้จะพังลง ให้พ้นแล้วสร้างพระวิหารใหม่ แต่งเป็นโคลง ๖๙ บท บรรยายการชะลอเลื่อนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ได้สำเร็จ ซึ่งแสดงถึงความสามารถในทางช่างของคนไทยสมัยนั้น
ในสมัยพระเจ้าท้ายสระ ยังมีเรื่อง โคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัย ซึ่งเจ้าฟ้าอภัย พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าท้ายสระ ทรงพระนิพนธ์ เป็นโคลงสี่สุภาพ ๒๕ บท เล่าเรื่องการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ วงกวีได้รุ่งเรืองขึ้นอีกวาระหนึ่ง กวีเอกของยุคนี้ ได้แก่ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ หรือเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือ เจ้าฟ้ากุ้ง
เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ ได้ทรงพระนิพนธ์บทกวีไว้หลายเรื่องหลายแบบ ซึ่งล้วนมีคุณค่าในทางวรรณคดี ได้แก่ นันโทปนันทสูตรคำหลวง นันโทปนันทสูตร เป็นสูตรหนึ่งในคัมภีร์ทีฆนิกาย เป็นภาษาบาลี เจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ได้ทรงพระนิพนธ์เป็นภาษาไทย เนื้อความกล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงส่งพระโมคคัลลานเถระไปทรมาน “นันทนาคราช”ให้พ้นจากมิจฉาทิฐิ มาตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
เฉลิมพระเกียรติพระเจ้าปราสาททองเรื่องนี้กรมศิลปากรได้จัดพิมพ์เผยแพร่เป็นครั้งแรกพ . ศ .๒๕๓๑คัดและถ่ายทอดโดยนายเกษียรมะปะโมนักภาษาโบราณกองหอสมุดแห่งชาติเรื่องนี้มีหลักฐานบันทึกไว้ว่าพระมหาราชครูมเหธรประพันธ์ขึ้นในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชระหว่างพ . ศ .๒๒๐๐ - ๒๒๓๐เป็นคำฉันท์เนื้อเรื่องกล่าวถึงพระประวัติพระเจ้าปราสาททองตั้งแต่ประสูติเสวยราชสมบัติโปรดให้ลบศักราชการทำนุบำรุงบ้านเมืองและสร้างสัมพันธ์ไมตรีกับต่างประเทศ
เมื่อสิ้นรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแล้ววรรณกรรมกรุงศรีอยุธยาก็ซบเซาไปในสมัยพระเจ้าท้ายสระ ( สมเด็จพระสรรเพ็ชญที่ซ้งโคย ) คอนโดโคลงชะลอพระพุทธไสยาสน์บรรยายการชะลอเลื่อนองค์พระพุทธไสยาสน์วัดป่าโมกให้พ้นแล้วสร้างพระวิหารใหม่แต่งเป็นโคลง๖๙บทบรรยายการชะลอเลื่อนพระพุทธรูปขนาดใหญ่ได้สำเร็จซึ่งแสดงถึงความสามารถในทางช่างของคนไทยสมัยนั้น
ในสมัยพระเจ้าท้ายสระยังมีเรื่องโคลงนิราศเจ้าฟ้าอภัยซึ่งเจ้าฟ้าอภัยพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าท้ายสระทรงพระนิพนธ์เป็นโคลงสี่สุภาพ๒๕บทเล่าเรื่องการเดินทางจากกรุงศรีอยุธยาไปลพบุรี
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศวงกวีได้รุ่งเรืองขึ้นอีกวาระหนึ่งกวีเอกของยุคนี้ได้แก่เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์หรือเจ้าฟ้ากุ้ง
เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์เป็นพระราชโอรสสมเด็จพระเจ้าบรมโกศได้ทรงพระนิพนธ์บทกวีไว้หลายเรื่องหลายแบบซึ่งล้วนมีคุณค่าในทางวรรณคดีได้แก่นันโทปนันทสูตรคำหลวงนันโทปนันทสูตรเป็นสูตรหนึ่งในคัมภีร์ทีฆนิกายเจ้าฟ้าธรรมธิเบศร์ได้ทรงพระนิพนธ์เป็นภาษาไทยเนื้อความกล่าวถึงพระพุทธเจ้าทรงส่งพระโมคคัลลานเถระไปทรมาน " นันทนาคราช " ให้พ้นจากมิจฉาทิฐิมาตั้งอยู่ในสัมมาทิฐิ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: