(ความหมายของการบริหารจัดการ) 1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ ธุรกิจหรือ การแปล - (ความหมายของการบริหารจัดการ) 1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ ธุรกิจหรือ ไทย วิธีการพูด

(ความหมายของการบริหารจัดการ) 1.1 คว

(ความหมายของการบริหารจัดการ)
1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ
ธุรกิจหรือองค์กร แสดงให้เห็นจากกลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการประสานงานเป็นหลักการชัดเจนแน่ชัด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ (Ricky W. Griffin, 1999, p.6) ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ประกอบด้วย คน (Man) เงิน (Money) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) วิธีการ (Method) และการบริหาร (Management) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6M’s
ความหมายของการบริหารจัดการนั้น สามารถจำกัดออกมาตามความเข้าใจได้ โดย คำว่า “Management” อาจแปลว่า การจัดการหรือการบริหารหรือการบริหารจัดการก็ได้ซึ่งในหนังสือองค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์ โดย รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ (2545, น.18-19) ได้รวบรวม ความหมายของคำว่า “การบริหารจัดการ” และ “การจัดการ” ได้ดังนี้
1. คำว่า “การบริหาร” (Administration) จะใช้ในการบริหารระดับสูง โดยเน้นที่การกำหนดนโยบายที่สำคัญและการกำหนดแผนของผู้บริหารระดับสูง เป็นคำนิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ (Public Administration) หรือใช้ในหน่วยงานราชการ และคำว่า “ผู้บริหาร” (Administrator) จะหมาถึง ผู้บริหารที่ทำงานอยู่ในองค์กรของรัฐ หรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไร (Schermerhorn, 1999, p.G-2)
การบริหาร คือกลุ่มของกิจกรรม ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) การสั่งการ (Leading/Directing) หรือการอำนวย และการควบคุม (Controlling) ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยากรขององค์กร (6 M’s) เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และด้วยจุดมุ่งหมายสำคัญในการบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลครบถ้วน
2. คำว่า “การจัดการ” (Management) จะเน้นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) ซึ่งนิยมใช้ในการจัดการธุรกิจ (Business management) ส่วนคำว่า “ผู้จัดการ” (Manager) จะหมายถึงบุคคลในองค์กรซึ่งทำหน้าที่รับผิดชอบต่อกิจกรรมในการบริหารทรัพยากรและกิจการงานอื่นๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ขององค์กร
การบริหารจัดการ (Management) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ (A set of functions) ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กร การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึง การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่า (Cost-effective) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (Effective) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (Right decision) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ ดังนั้นผลสำเร็จของการบริหารจัดการจึงจำเป็นต้องมีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล ควบคู่กัน (Griffin, 1997, p.4)
ในอีกแนวหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าการบริหารจัดการ หมายถึง กระบวนการของการมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กรจากการทำงานร่วมกัน โดยใช้บุคคลและทรัพยากรอื่นๆ (Certo, 2000, p.555) หรือเป็นกระบวนการออกแบบและรักษาสภาพแวดล้อมที่บุคคลทำงานร่วมกันในกลุ่มให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
คำว่า “การบริหาร” (Administration) และ “การจัดการ” (Management) มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย โดยการบริหารจะสนใจและสัมพันธ์กับการกำหนดนโยบายไปลงมือปฏิบัติ นักวิชาการบางท่านไห้ความเห็นว่าการบริหารใช้ในภาครัฐ ส่วนการจัดการใช้ในภาคเอกชน อย่างไรก็ดี ในตำราหรือหนังสือส่วนใหญ่ทั้ง 2 คำนี้มีความหมายไม่แตกต่างกัน สามารถใช้แทนกันได้และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป (สุรัสวดี ราชกุลชัย, 2543, น.3)
จากความหมายต่างๆ ข้างต้น การบริหารจัดการจึงเป็นกระบวนการของกิจกรรมที่ต่อเนื่องและประสานงานกัน ซึ่งผู้บริหารต้องเข้ามาช่วยเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ประเด็นสำคัญของการบริการจัดการ (Management) มีดังนี้
1) การบริหารจัดการสามารถประยุกต์ใช้กับองค์กรใดองค์กรหนึ่งได้
2) เป้าหมายของผู้บริหารทุกคนคือ การสร้างกำไร
3) การบริหารจัดการเกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลผลิต (Productivity) โดยมุ่งสู่ประสิทธิภาพ (Efficiency) (วิธีการใช้ทรัพยากรโดยประหยัดที่สุด) และประสิทธิผล (Effectiveness) (บรรลุเป้าหมายคือประโยชน์สูงสุด)
4) การบริหารจัดการสามารถนำมาใช้สำหรับผู้บริหารในทุกระดับชั้นขององค์กร

กระบวนการการบริหารจัดการ (Management Process) หมายถึง กระบวนการเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กร ซึ่งกระบวนการการบริหารจัดการนี้สามารถแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกันได้อย่างมี ปฏิสัมพันธ์สอดคล้องและต่อเนื่องดังแสดงให้เห็นดังภาพที่ 1.2


ทั้งนี้หน้าที่ของการบริหารประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐาน 4 ประการหรืออาจแบ่งในลักษณะที่เป็นขั้นตอนดังนี้
1) การวางแผน (Planning) เป็นสิ่งที่องค์กรต้องการเปลี่ยนแปลงในอนาคต การวางแผนเป็นสะพานเชื่อมระหว่างเหตุการณ์ปัจจุบันและอนาคตซึ่งทำได้โดยการให้บรรลุเป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการ การวางแผนจึงต้องอาศัยการกำหนดกลยุทธ์ที่ประสิทธิภาพ แม้ว่าพื้นฐานของการจัดการโดยทั่วไปเป็นงานของผู้บริหารการวางแผนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการปฏิบัติตามกลยุทธ์ให้ประสบความสำเร็จและการประเมินกลยุทธ์ เพราะว่า การจัดการองค์กร การจูงใจ การจัดบุคคลเข้าทำงาน และกิจกรรมควบคุม ขึ้นกับการวางแผน กระบวนการวางแผนจะต้องประกอบด้วยผู้บริหารและพนักงานภายในองค์กร
การวางแผนจะช่วยให้องค์กรกำหนดข้อดีจากโอกาสภายนอกและทำให้เกิดผลกระทบจากอุปสรรคภายนอกต่ำสุด โดยต้องมองเหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบันเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขั้นในอนาคต การวางแผน ประกอบด้วย การพัฒนาภารกิจ (Mission) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบัน เหตุการณ์อนาคต และแนวโน้ม การกำหนดวัตถุประสงค์ และการเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
การวางแผนจะช่วยให้ธุรกิจปรับตัวสู่การเปลี่ยนแปลงของตลาดและสามารถกำหนดเป้าหมายได้ การบริหารเชิงกลยุทธ์นั้นต้องการให้องค์กรติดตามในลักษณะเชิงรุก (Proactive) มากกว่าที่จะเป็นเชิงรับ (Reactive) องค์กรที่ประสบความสำเร็จจะต้องควบคุมอนาคตขององค์กรมากกว่าที่จะรอรับผลจากอิทธิพลสภาพแวดล้อมภายนอกและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น การตัดสินใจ (Decision Making) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน การปรับตัวเป็นสิ่งจำเป็นเพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงของตลาด เศรษฐกิจ และคู่แข่งขันทั่วโลก จุดเริ่มต้นของความสำเร็จที่ดีของธุรกิจคือการวางแผนที่เหมาะสม เห็นผลได้จริง ยืดหยุ่น มีประสิทธิผล และทรงประสิทธิภาพ
2) การจัดการองค์กร (Organizing) จุดมุ่งหมายของการจัดการองค์กรคือ การใช้ความ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
(ความหมายของการบริหารจัดการ) 1.1 ความหมายของการบริหารจัดการ ธุรกิจหรือองค์กรแสดงให้เห็นจากกลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการประสานงานเป็นหลักการชัดเจนแน่ชัดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ (W. ริกกริฟฟอน 1999, p.6) ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจประกอบด้วยคน (Man) เงิน (เงิน) วัตถุดิบ (วัสดุ) เครื่องจักร (เครื่อง) วิธีการ (วิธีการ) และการบริหาร (การจัดการ) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6M ความหมายของการบริหารจัดการนั้นสามารถจำกัดออกมาตามความเข้าใจได้โดยคำว่า "การจัดการ" อาจแปลว่าการจัดการหรือการบริหารหรือการบริหารจัดการก็ได้ซึ่งในหนังสือองค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์โดยรศ.ศิริวรรณเสรีรัตน์และคณะ (2545, น.18-19) ได้รวบรวมความหมายของคำว่า "การบริหารจัดการ" และ "ยังคง" ได้ดังนี้ 1. คำว่า "การบริหาร" (บริหาร) จะใช้ในการบริหารระดับสูงโดยเน้นที่การกำหนดนโยบายที่สำคัญและการกำหนดแผนของผู้บริหารระดับสูงเป็นคำนิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ (ราชการ) หรือใช้ในหน่วยงานราชการและคำว่า "ผู้บริหาร" (ผู้ดูแลระบบ) จะหมาถึงผู้บริหารที่ทำงานอยู่ในองค์กรของรัฐหรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไร (Schermerhorn, 1999, p.G-2) และเกิดประสิทธิผลครบถ้วนเพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์และด้วยจุดมุ่งหมายสำคัญในการบรรลุความสำเร็จตามเป้าหมายขององค์กรอย่างมีประสิทธิภาพการบริหารคือกลุ่มของกิจกรรมประกอบด้วยการวางแผน (วางแผน) การจัดองค์กร (การจัดการ) (ผู้นำ/ผู้กำกับ) การสั่งการหรือการอำนวยและการควบคุม (การควบคุม) ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยากรขององค์กร (6 M ของ) 2. คำว่า "ยังคง" (การจัดการ) จะเน้นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบาย (แผนที่วางไว้) ซึ่งนิยมใช้ในการจัดการธุรกิจ (บริหารธุรกิจ) ส่วนคำว่า "ผู้จัดการ" (ผู้จัดการ) จะหมายถึงบุคคลในองค์กรซึ่งทำหน้าที่รับผิดชอบต่อกิจกรรมในการบริหารทรัพยากรและกิจการงานอื่น ๆ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ขององค์กรการบริหารจัดการ (การจัดการ) (ชุดงาน) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่าง ๆ ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กรการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (ประสิทธิภาพ) หมายถึงการใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่าการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (คุ้มค่า) (มีประสิทธิภาพ) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง (การตัดสินใจด้านขวา) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ดังนั้นผลสำเร็จของการบริหารจัดการจึงจำเป็นต้องมีทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผลควบคู่กัน (กริฟฟอน 1997, p.4) ในอีกแนวหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าการบริหารจัดการหมายถึงกระบวนการของการมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กรจากการทำงานร่วมกันโดยใช้บุคคลและทรัพยากรอื่น ๆ (Certo, 2000, p.555) หรือเป็นกระบวนการออกแบบและรักษาสภาพแวดล้อมที่บุคคลทำงานร่วมกันในกลุ่มให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ คำว่า "การบริหาร" (บริหาร) และ "ยังคง" (การจัดการ) มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อยโดยการบริหารจะสนใจและสัมพันธ์กับการกำหนดนโยบายไปลงมือปฏิบัตินักวิชาการบางท่านไห้ความเห็นว่าการบริหารใช้ในภาครัฐส่วนการจัดการใช้ในภาคเอกชนอย่างไรก็ดีในตำราหรือหนังสือส่วนใหญ่ทั้ง 2 คำนี้มีความหมายไม่แตกต่างกันสามารถใช้แทนกันได้และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป (สุรัสวดีราชกุลชัย 2543, น.3)จากความหมายต่าง ๆ ข้างต้นการบริหารจัดการจึงเป็นกระบวนการของกิจกรรมที่ต่อเนื่องและประสานงานกันซึ่งผู้บริหารต้องเข้ามาช่วยเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรมีดังนี้ประเด็นสำคัญของการบริการจัดการ (การจัดการ) 1) การบริหารจัดการสามารถประยุกต์ใช้กับองค์กรใดองค์กรหนึ่งได้ 2) เป้าหมายของผู้บริหารทุกคนคือการสร้างกำไร 3) โดยมุ่งสู่ประสิทธิภาพการบริหารจัดการเกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลผลิต (ผลผลิต) (ประสิทธิภาพ) (วิธีการใช้ทรัพยากรโดยประหยัดที่สุด) และประสิทธิผล (ประสิทธิภาพ) (บรรลุเป้าหมายคือประโยชน์สูงสุด) 4) การบริหารจัดการสามารถนำมาใช้สำหรับผู้บริหารในทุกระดับชั้นขององค์กร กระบวนการการบริหารจัดการ (การจัดการ) หมายถึงกระบวนการเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรซึ่งกระบวนการการบริหารจัดการนี้สามารถแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกันได้อย่างมีปฏิสัมพันธ์สอดคล้องและต่อเนื่องดังแสดงให้เห็นดังภาพที่ 1.2 ประการหรืออาจแบ่งในลักษณะที่เป็นขั้นตอนดังนี้ทั้งนี้หน้าที่ของการบริหารประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐาน 4 1) (วางแผน) การวางแผนเป็นสิ่งที่องค์กรต้องการเปลี่ยนแปลงในอนาคตการวางแผนเป็นสะพานเชื่อมระหว่างเหตุการณ์ปัจจุบันและอนาคตซึ่งทำได้โดยการให้บรรลุเป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการการวางแผนจึงต้องอาศัยการกำหนดกลยุทธ์ที่ประสิทธิภาพแม้ว่าพื้นฐานของการจัดการโดยทั่วไปเป็นงานของผู้บริหารการวางแผนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการปฏิบัติตามกลยุทธ์ให้ประสบความสำเร็จและการประเมินกลยุทธ์เพราะว่าการจัดการองค์กรการจูงใจการจัดบุคคลเข้าทำงานและกิจกรรมควบคุมขึ้นกับการวางแผนกระบวนการวางแผนจะต้องประกอบด้วยผู้บริหารและพนักงานภายในองค์กร การวางแผนจะช่วยให้องค์กรกำหนดข้อดีจากโอกาสภายนอกและทำให้เกิดผลกระทบจากอุปสรรคภายนอกต่ำสุดโดยต้องมองเหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบันเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขั้นในอนาคตการวางแผนประกอบด้วยการพัฒนาภารกิจ (ภารกิจ) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบันเหตุการณ์อนาคตและแนวโน้มการกำหนดวัตถุประสงค์และการเลือกกลยุทธ์ที่ใช้ การวางแผนจะช่วยให้ธุรกิจปรับตัวสู่การเปลี่ยนแปลงของตลาดและสามารถกำหนดเป้าหมายได้การบริหารเชิงกลยุทธ์นั้นต้องการให้องค์กรติดตามในลักษณะเชิงรุกมากกว่าที่จะเป็นเชิงรับ (เชิงรุก) องค์กรที่ประสบความสำเร็จจะต้องควบคุมอนาคตขององค์กรมากกว่าที่จะรอรับผลจากอิทธิพลสภาพแวดล้อมภายนอกและเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น (ปฏิกิริยา) การตัดสินใจ (ตัดสินใจ) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนการปรับตัวเป็นสิ่งจำเป็นเพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงของตลาดเศรษฐกิจและคู่แข่งขันทั่วโลกจุดเริ่มต้นของความสำเร็จที่ดีของธุรกิจคือการวางแผนที่เหมาะสมเห็นผลได้จริงยืดหยุ่นมีประสิทธิผลและทรงประสิทธิภาพ 2 การใช้ความจุดมุ่งหมายของการจัดการองค์กรคือการจัดการองค์กร (การจัดการ)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(ความหมายของการบริหารจัดการ)
1.1
(ดับเบิลยูริคกี้ริฟฟิน, 1999, p.6) ประกอบด้วยคน (Man) เงิน (เงิน) วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักร (Machine) วิธีการ (Method) และการบริหาร (Management) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6M
ของความหมายของการบริหารจัดการนั้นสามารถ จำกัด ออกมาตามความเข้าใจได้ โดยคำว่า "การจัดการ" อาจแปลว่า โดยรศ. ศิริวรรณเสรีรัตน์และคณะ (2545, น. 18-19) ได้รวบรวมความหมายของคำว่า "การบริหารจัดการ" และ "การจัดการ" ได้ดังนี้
1 คำว่า "การบริหาร" (บริหาร) จะใช้ในการบริหารระดับสูง เป็นคำนิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ (Public Administration) หรือใช้ในหน่วยงานราชการและคำว่า "ผู้บริหาร" (Administrator) จะหมาถึง หรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไร (Schermerhorn 1999 PG-2)
การบริหารคือกลุ่มของกิจกรรมประกอบด้วยการวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (จัด) การสั่งการ (ชั้นนำ / ผู้กำกับ) หรือการอำนวยและการควบคุม (การควบคุม ) (6 เอ็ม) และเกิดประสิทธิผลครบถ้วน
2 คำว่า "การจัดการ" (Management) (แผนที่วางไว้) ซึ่งนิยมใช้ในการจัดการธุรกิจ (การจัดการธุรกิจ) ส่วนคำว่า "ผู้จัดการ" (ผู้จัดการ)
(Management) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ (ชุดของฟังก์ชั่น) เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กรการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient) หมายถึง (ต้นทุนที่มีประสิทธิภาพ) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล (มีผลบังคับใช้) (การตัดสินใจขวา) ควบคู่กัน (กริฟฟิปี 1997
หมายถึง โดยใช้บุคคลและทรัพยากรอื่น ๆ (Certo, 2000, p.555)
"การบริหาร" (บริหาร) และ "การจัดการ" (Management) มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย ส่วนการจัดการใช้ในภาคเอกชนอย่างไรก็ดีในตำราหรือหนังสือส่วนใหญ่ทั้ง 2 คำนี้มีความหมายไม่แตกต่างกัน (สุรัสวดีราชกุลชัย, 2543, น. 3)
จากความหมายต่างๆข้างต้น ประเด็นสำคัญของการบริการจัดการ (Management) มีดังนี้
1)
เป้าหมายของผู้บริหารทุกคนคือการสร้างกำไร
3) (Productivity) โดยมุ่งสู่ประสิทธิภาพ (Efficiency) และประสิทธิผล (Effectiveness) (บรรลุเป้าหมายคือประโยชน์สูงสุด)
4) (การจัดการกระบวนการ) หมายถึง 4 การวางแผน (Planning) เพราะว่าการจัดการองค์กรการจูงใจการจัดบุคคลเข้าทำงานและกิจกรรมควบคุมขึ้นกับการวางแผน การวางแผนประกอบด้วยการพัฒนาภารกิจ (Mission) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบันเหตุการณ์อนาคตและแนวโน้มการกำหนดวัตถุประสงค์ (เชิงรุก) มากกว่าที่จะเป็นเชิงรับ (Reactive) การตัดสินใจ (การตัดสินใจ) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผน เศรษฐกิจและคู่แข่งขันทั่วโลก เห็นผลได้จริงยืดหยุ่นมีประสิทธิผลและทรงประสิทธิภาพ2) การจัดการองค์กร (จัด) จุดมุ่งหมายของการจัดการองค์กรคือการใช้ความ








การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
Flexible, effective and powerful
.2) enterprise management (Organizing) the aim of enterprise management is the use of.ธุรกิจหรือองค์กรแสดงให้เห็นจากกลุ่มของบุคคลที่มาร่วมกันทำงานด้วยโครงสร้างและการประสานงานเป็นหลักการชัดเจนแน่ชัดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้บรรลุผลสำเร็จตามที่กำหนดเป้าหมายไว้ ( ริคกี้ ดับเบิลยู กริฟฟิน , 2542 , หน้า( ความหมายของการบริหารจัดการ )

ความหมายของการบริหารจัดการ 1.16 ) ซึ่งต้องใช้ทรัพยากรจากสภาพแวดล้อมทางธุรกิจประกอบด้วยคน ( ผู้ชาย ) เงิน ( เงิน ) วัตถุดิบ ( วัสดุ ) เครื่องจักร ( เครื่อง ) วิธีการ ( วิธี ) และการบริหาร ( การจัดการ ) หรือที่นิยมเรียกกันว่า 6m
ความหมายของการบริหารจัดการนั้นสามารถจำกัดออกมาตามความเข้าใจได้โดยคำว่า " การจัดการ " อาจแปลว่าการจัดการหรือการบริหารหรือการบริหารจัดการก็ได้ซึ่งในหนังสือองค์การและการจัดการฉบับสมบูรณ์โดยรศ .ศิริวรรณเสรีรัตน์และคณะ ( 2545 , น . 18-19 ) ได้รวบรวมความหมายของคำว่า " การบริหารจัดการ " และ " การจัดการ " ได้ดังนี้
1คำว่า " การบริหาร " ( บริหาร ) จะใช้ในการบริหารระดับสูงโดยเน้นที่การกำหนดนโยบายที่สำคัญและการกำหนดแผนของผู้บริหารระดับสูงเป็นคำนิยมใช้ในการบริหารรัฐกิจ ( รัฐประศาสนศาสตร์ ) หรือใช้ในหน่วยงานราชการและคำว่า( ผู้บริหาร ) จะหมาถึงผู้บริหารที่ทำงานอยู่ในองค์กรของรัฐหรือองค์กรที่ไม่มุ่งหวังกำไร ( เชอร์เมอร์เฮิร์น ,1999 )
p.g-2การบริหารคือกลุ่มของกิจกรรมประกอบด้วยการวางแผน ( การวางแผน ) การจัดองค์กร ( จัด ) การสั่งการ ( ผู้นำ / กำกับ ) หรือการอำนวยและการควบคุม ( การควบคุม ) ซึ่งจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับทรัพยากรขององค์กร ( 6 เมตร )และเกิดประสิทธิผลครบถ้วน
2 .คำว่า " การจัดการ " ( การจัดการ ) จะเน้นการปฏิบัติการให้เป็นไปตามนโยบาย ( แผนที่วางไว้ ) ซึ่งนิยมใช้ในการจัดการธุรกิจ ( การจัดการธุรกิจ ) ส่วนคำว่า " ผู้จัดการ " ( ผู้จัดการ )เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ขององค์กร
การบริหารจัดการ ( การจัดการ ) หมายถึงชุดของหน้าที่ต่างๆ ( ชุดของฟังก์ชัน ) ที่กำหนดทิศทางในการใช้ทรัพยากรทั้งหลายอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายขององค์กรการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ( มีประสิทธิภาพ )การใช้ทรัพยากรได้อย่างเฉลียวฉลาดและคุ้มค่า ( คุ้มค่า ) การใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิผล ( มีประสิทธิภาพ ) นั้นหมายถึงการตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง ( ถูกต้อง ) และมีการปฏิบัติการสำเร็จตามแผนที่กำหนดไว้ควบคู่กัน ( กริฟฟิน555 ) หรือเป็นกระบวนการออกแบบและรักษาสภาพแวดล้อมที่บุคคลทำงานร่วมกันในกลุ่มให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
1997 p.4 )
ในอีกแนวหนึ่งอาจกล่าวได้ว่าการบริหารจัดการหมายถึงกระบวนการของการมุ่งสู่เป้าหมายขององค์กรจากการทำงานร่วมกันโดยใช้บุคคลและทรัพยากรอื่นๆ ( แน่ใจ , 2543 , หน้าคำว่า " การบริหาร " ( บริหาร ) และ " การจัดการ " ( การจัดการ ) มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อยโดยการบริหารจะสนใจและสัมพันธ์กับการกำหนดนโยบายไปลงมือปฏิบัตินักวิชาการบางท่านไห้ความเห็นว่าการบริหารใช้ในภาครัฐอย่างไรก็ดีในตำราหรือหนังสือส่วนใหญ่ทั้ง 2 คำนี้มีความหมายไม่แตกต่างกันสามารถใช้แทนกันได้และเป็นที่ยอมรับโดยทั่วไป ( ราชกุลชัยสุรัสวดี ,2543 , Rear )
3จากความหมายต่างๆข้างต้นการบริหารจัดการจึงเป็นกระบวนการของกิจกรรมที่ต่อเนื่องและประสานงานกันซึ่งผู้บริหารต้องเข้ามาช่วยเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรประเด็นสำคัญของการบริการจัดการมีดังนี้
( การจัดการ )1 ) การบริหารจัดการสามารถประยุกต์ใช้กับองค์กรใดองค์กรหนึ่งได้
2 )
เป้าหมายของผู้บริหารทุกคนคือการสร้างกำไร3 ) การบริหารจัดการเกี่ยวข้องกับการเพิ่มผลผลิต ( การผลิต ) โดยมุ่งสู่ประสิทธิภาพ ( ประสิทธิภาพ ) ( วิธีการใช้ทรัพยากรโดยประหยัดที่สุด ) และประสิทธิผล ( ประสิทธิผล ) ( บรรลุเป้าหมายคือประโยชน์สูงสุด )
4 ) การบริหารจัดการสามารถนำมาใช้สำหรับผู้บริหารในทุกระดับชั้นขององค์กร

กระบวนการการบริหารจัดการ ( การจัดการ ) หมายถึงกระบวนการเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมายขององค์กรซึ่งกระบวนการการบริหารจัดการนี้สามารถแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกันได้อย่างมี1 .2


ทั้งนี้หน้าที่ของการบริหารประกอบด้วยกิจกรรมพื้นฐานประการหรืออาจแบ่งในลักษณะที่เป็นขั้นตอนดังนี้
41 ) การวางแผน ( การวางแผน ) เป็นสิ่งที่องค์กรต้องการเปลี่ยนแปลงในอนาคตการวางแผนเป็นสะพานเชื่อมระหว่างเหตุการณ์ปัจจุบันและอนาคตซึ่งทำได้โดยการให้บรรลุเป้าหมายผลลัพธ์ที่ต้องการแม้ว่าพื้นฐานของการจัดการโดยทั่วไปเป็นงานของผู้บริหารการวางแผนเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการปฏิบัติตามกลยุทธ์ให้ประสบความสำเร็จและการประเมินกลยุทธ์เพราะว่าการจัดการองค์กรการจูงใจการจัดบุคคลเข้าทำงานขึ้นกับการวางแผนกระบวนการวางแผนจะต้องประกอบด้วยผู้บริหารและพนักงานภายในองค์กร
การวางแผนจะช่วยให้องค์กรกำหนดข้อดีจากโอกาสภายนอกและทำให้เกิดผลกระทบจากอุปสรรคภายนอกต่ำสุดโดยต้องมองเหตุการณ์ในอดีตและปัจจุบันเพื่อคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขั้นในอนาคตการวางแผนประกอบด้วย( ภารกิจ ) การคาดคะเนเหตุการณ์ปัจจุบันเหตุการณ์อนาคตและแนวโน้มการกำหนดวัตถุประสงค์และการเลือกกลยุทธ์ที่ใช้
การตัดสินใจ ( การตัดสินใจ ) ถือเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนการปรับตัวเป็นสิ่งจำเป็นเพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงของตลาดเศรษฐกิจและคู่แข่งขันทั่วโลกจุดเริ่มต้นของความสำเร็จที่ดีของธุรกิจคือการวางแผนที่เหมาะสมการวางแผนจะช่วยให้ธุรกิจปรับตัวสู่การเปลี่ยนแปลงของตลาดและสามารถกำหนดเป้าหมายได้การบริหารเชิงกลยุทธ์นั้นต้องการให้องค์กรติดตามในลักษณะเชิงรุก ( เชิงรุก ) มากกว่าที่จะเป็นเชิงรับ ( Reactive )ยืดหยุ่นมีประสิทธิผลและทรงประสิทธิภาพ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: