• ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มี การแปล - • ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มี ไทย วิธีการพูด

• ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์

• ยุคสมัยศิลปะไทย•

การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้ มีเนื้อหาพอสังเขปเพียงเพื่อ ให้รู้ว่าศิลปะในประเทศไทย แต่ละสมัยมีลักษณเด่นะเฉพาะอย่างไร เพื่อนำไปใช้ประกอบการศึกษา ด้านความงาม การวิจารณ์ศิลปะ ต่อไป ซึ่งหากผู้สนใจในรายละเอียด ก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ จากวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ วิชาศิลปะนิยม และวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

หากจะย้อนกลับมาพิจารณาศิลปกรรมไทยโดยส่วนกว้าง เราก็จะพบว่าศิลปกรรมไทยก็มิได้แตกต่างไปจากศิลปกรรม ของชาติอื่น ๆ ในประเด็นที่มีการคลี่คลายเปลี่ยนแปลงเสมอมา โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นมีทั้งลักษณะค่อยเป็นค่อยไป และมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเฉพาะรูปแบบหรือประเด็นปลีกย่อย และมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระชนิดแยกขาดออกจากสิ่งเดิมอย่างชัดเจน ซึ่งในประเด็นหลังนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อโครงสร้างใหญ่ ๆ ของสังคมเปลี่ยนไปนั่นเอง

สำหรับยุคสมัยของศิลปกรรมไทยนั้น นักประวัติศาสตร์ศิลป์ได้แบ่งออกได้ ตามแนวทางใหญ่ ๆ 3 แนวทางคือ

แนวทางที่ 1 แบ่งตามลักษณะของการก่อตั้งราชอาณาจักร หรือศูนย์กลาง อำนาจ ทางการเมืองเป็นเครื่องแบ่ง เช่นอาจแบ่งใหญ่ ๆ ออกได้เป็น 2 สมัย คือ สมัยแรก ก่อนที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศ และสมัยหลังที่ชนชาติไทยเข้าปกครอง ประเทศแล้ว สมัยแรกแบ่งออกได้อีกเป็น 5 สมัย คือ สมัยวัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทย สมัยทวาราวดี สมัยเทวรูปรุ่นเก่าสมัยศรีวิชัย และสมัยลพบุรี สมัยหลังก็แบ่งออกเป็น 5 สมัยเช่นกัน คือ สมัยเชียงแสน สุโขทัย อู่ทอง อยุธยา และ สมัยรัตนโกสินทร์

แนวทางที่ 2 แบ่งตามสกุลศิลปะพระพุทธรูปในประเทศไทย โดยยึดหลัก รูปแบบของการ รับอิทธิพล มาเป็นเครื่องวัดโดยแบ่งเป็นสกุลศิลปไทย–คุปตะ สกุลศิลปไทย-ปาละ สกุลศิลปไทย ปาละ-เสนะ สกุลศิลปไทย-โจฬะ เป็นต้น

แนวทางที่ 3 แบ่งนักประวัติศาสตร์บางท่านก็แบ่งตามแบบอย่างศิลปะ ที่แสดงออกเป็น 8 สมัย คือ สมัยทวาราวดี สมัยศรีวิชัย สมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอู่ทอง สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร์

แนวทางการการแบ่งยุคสมัยของศิลปไทยที่กล่าวมา แม้จะมีความแตกต่างกัน แต่ก็ยึดตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ร่วมกัน คือ
1. เกณฑ์ทางศูนย์กลางแห่งความเจริญของอาณาจักร
2. เกณฑ์ทางอิทธิพลทางการปกครองและทางศาสนา
3. เกณฑ์ทางรูปแบบอย่างศิลปกรรมที่แตกต่างกัน
4. เกณฑ์ทางวิวัฒนาการของสังคม

ในบทนี้ จะแบ่งศิลปะในประเทศไทยตามแแนวทางที่ 3 เพราะแนวทางนี้ ทำให้ได้เห็นการพัฒนา แบบอย่าง และแนวทางการสร้างงานตามสังคม และอิทธิพล ที่ได้รับอย่างเด่นชัด ซึ่งแบ่งออกเป็น 8 สมัย คือ



1. สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12 - 16)
2. สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13 - 18)
3. สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16 - 18)
4. สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษที่ 16 - 23)
5. สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19 - 20)
6. สมัยอู่ทอง (พุทธศตวรรษที่ 17 - 22)
7 . สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 18 - 23)
8 . สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 - ปัจจุบัน)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
•ยุคสมัยศิลปะไทย•การศึกษาทัศนศิลป์ในประเทศไทยดังจะกล่าวถึงต่อไปนี้มีเนื้อหาพอสังเขปเพียงเพื่อให้รู้ว่าศิลปะในประเทศไทยแต่ละสมัยมีลักษณเด่นะเฉพาะอย่างไรเพื่อนำไปใช้ประกอบการศึกษาด้านความงามการวิจารณ์ศิลปะต่อไปซึ่งหากผู้สนใจในรายละเอียดก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากวิชาประวัติศาสตร์ศิลปะวิชาศิลปะนิยมและวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องหากจะย้อนกลับมาพิจารณาศิลปกรรมไทยโดยส่วนกว้างเราก็จะพบว่าศิลปกรรมไทยก็มิได้แตกต่างไปจากศิลปกรรมของชาติอื่นๆ ในประเด็นที่มีการคลี่คลายเปลี่ยนแปลงเสมอมาโดยการเปลี่ยนแปลงนั้นมีทั้งลักษณะค่อยเป็นค่อยไปและมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเฉพาะรูปแบบหรือประเด็นปลีกย่อยและมีทั้งที่เปลี่ยนแปลงเนื้อหาสาระชนิดแยกขาดออกจากสิ่งเดิมอย่างชัดเจนซึ่งในประเด็นหลังนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อโครงสร้างใหญ่ๆ ของสังคมเปลี่ยนไปนั่นเองแนวทางคือๆ 3 สำหรับยุคสมัยของศิลปกรรมไทยนั้นนักประวัติศาสตร์ศิลป์ได้แบ่งออกได้ตามแนวทางใหญ่แนวทางที่ 1 แบ่งตามลักษณะของการก่อตั้งราชอาณาจักรหรือศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองเป็นเครื่องแบ่งเช่นอาจแบ่งใหญ่ๆ ออกได้เป็น 2 สมัยคือสมัยแรกก่อนที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศและสมัยหลังที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศแล้วสมัยแรกแบ่งออกได้อีกเป็น 5 สมัยคือสมัยวัตถุรุ่นเก่าที่ค้นพบในประเทศไทยสมัยทวาราวดีสมัยเทวรูปรุ่นเก่าสมัยศรีวิชัยและสมัยลพบุรีสมัยหลังก็แบ่งออกเป็น 5 สมัยเช่นกันคือสมัยเชียงแสนสุโขทัยอู่ทองอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์แนวทางที่ 2 แบ่งตามสกุลศิลปะพระพุทธรูปในประเทศไทยโดยยึดหลักรูปแบบของการรับอิทธิพลมาเป็นเครื่องวัดโดยแบ่งเป็นสกุลศิลปไทย-คุปตะสกุลศิลปไทยปาละสกุลศิลปไทยปาละเสนะสกุลศิลปไทยโจฬะเป็นต้นแนวทางที่ 3 แบ่งนักประวัติศาสตร์บางท่านก็แบ่งตามแบบอย่างศิลปะที่แสดงออกเป็น 8 สมัยคือสมัยทวาราวดีสมัยศรีวิชัยสมัยลพบุรีสมัยเชียงแสนสมัยสุโขทัยสมัยอู่ทองสมัยอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์แนวทางการการแบ่งยุคสมัยของศิลปไทยที่กล่าวมาแม้จะมีความแตกต่างกันแต่ก็ยึดตามเกณฑ์ใหญ่ๆ ร่วมกันคือ 1. เกณฑ์ทางศูนย์กลางแห่งความเจริญของอาณาจักร 2. เกณฑ์ทางอิทธิพลทางการปกครองและทางศาสนา 3. เกณฑ์ทางรูปแบบอย่างศิลปกรรมที่แตกต่างกัน 4. เกณฑ์ทางวิวัฒนาการของสังคมในบทนี้จะแบ่งศิลปะในประเทศไทยตามแแนวทางที่ 3 เพราะแนวทางนี้ทำให้ได้เห็นการพัฒนาแบบอย่างและแนวทางการสร้างงานตามสังคมและอิทธิพลที่ได้รับอย่างเด่นชัดซึ่งแบ่งออกเป็น 8 สมัยคือ 1. สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12-16)2. สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-18)3. สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-18)4. สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษที่ 16-23)5. สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20)6. สมัยอู่ทอง (พุทธศตวรรษที่ 17-22)7 สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 18-23)8 สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 - ปัจจุบัน)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
• มีเนื้อหาพอสังเขปเพียงเพื่อให้รู้ ว่าศิลปะในประเทศไทยแต่ละสมัยมีลักษณเด่นะเฉพาะอย่างไรเพื่อนำไปใช้ประกอบการศึกษาด้านความงามการวิจารณ์ศิลปะต่อไปซึ่งหากผู้สนใจในรายละเอียดก็สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากวิชาประวัติศาสตร์ ศิลปะวิชาศิลปะนิยมและวิชาอื่น ๆ ของชาติอื่น ๆ ๆ ตามแนวทางใหญ่ ๆ 3 คือแนวทางแนวทางที่ 1 หรือศูนย์กลางอำนาจทางการเมืองเป็นเครื่องแบ่ง เช่นอาจแบ่งใหญ่ ๆ ออกได้เป็น 2 สมัยคือสมัยแรกก่อนที่ชนชาติไทย เข้าปกครองประเทศและสมัยหลังที่ชนชาติไทยเข้าปกครองประเทศแล้วสมัยแรกแบ่งออกได้อีกเป็น 5 สมัยคือ สมัยทวาราวดีสมัยเทวรูปรุ่นเก่า สมัยศรีวิชัยและสมัยลพบุรีสมัยหลังก็แบ่งออกเป็น 5 เช่นกันสมัยคือสมัยเชียงแสนสุโขทัยอู่ทองอยุธยาและสมัยรัตนโกสินทร์แนวทางที่ 2 โดยยึดหลักรูปแบบของการรับ อิทธิพล สกุลศิลปไทย - ปาละสกุลศิลปไทยปาละ - เสนะสกุลศิลปไทย - ฬะเป็นต้นโจแนวทางที่ 3 ที่แสดงออกเป็น 8 สมัยคือสมัยทวาราวดีสมัยศรี วิชัยสมัยลพบุรีสมัยเชียงแสนสมัยสุโขทัยสมัยอู่ทองสมัยอยุธยา แม้จะมีความแตกต่างกัน แต่ ก็ยึดตามเกณฑ์ใหญ่ ๆ ร่วมกันคือ 1 ทางวิวัฒนาการทางทหารของสังคมในห้างหุ้นส่วนจำกัดบทนี้ 3 เพราะแนวทางนี้ทำให้ได้เห็นการพัฒนา แบบอย่างและแนวทางการสร้างงานตามสังคมและอิทธิพลที่ได้รับอย่างเด่นชัดซึ่งแบ่งออกเป็น 8 สมัยคือ1 สมัยทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12-16) 2 สมัยศรีวิชัย (พุทธศตวรรษที่ 13-18) 3 สมัยลพบุรี (พุทธศตวรรษที่ 16-18) 4 สมัยเชียงแสน (พุทธศตวรรษที่ 16-23) 5 สมัยสุโขทัย (พุทธศตวรรษที่ 19-20) 6 สมัยอู่ทอง (พุทธศตวรรษที่ 17-22) 7 สมัยอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 18-23) 8 สมัยรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 24 - ปัจจุบัน)































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: