2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนาน ตั้งแต่เร การแปล - 2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนาน ตั้งแต่เร ไทย วิธีการพูด

2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืช พืชเป็นสิ่ง

2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืช พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนาน ตั้งแต่เริ่มแรกของโลกในยุคพรีแคมเบรียน ที่พบซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน จนกระทั่งถึงประมาณสี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมา พืชบนโลกส่วนมากก็ยังคงเป็นสาหร่ายที่อยู่ในน้ำ ซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายจะพบน้อยมาก ยกเว้นพวกที่อยู่กันเป็นกลุ่มก้อน และที่มีโครงร่างเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต ต่อมาพืชวิวัฒนาการขึ้นมาอยู่บนบกและได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะทั้งภายนอกและภายในเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมบนบกโดยมีการพัฒนาของระบบท่อลำเลียงและเนื้อไม้ให้แข็งแกร่ง มีโครงร่างที่แข็งแรง เหมาะสมต่อการยังชีพบนบกได้
จากการพัฒนาเหล่านี้ ทำให้พืชได้แพร่กระจายขึ้นมาสู่สภาพแวดล้อมบนบกที่เกิดขึ้นบนโลก ตั้งแต่ยุคไซลูเรียน (ประมาณ 435 ล้านปี) เป็นต้นมา เริ่มแรกจะเป็นพืชที่เป็นหัว เป็นหน่อ ยังไม่มีใบ ต่อมาจึงมีพืชจำพวกเฟิร์นเกิดขึ้น ตามมาด้วยพืชที่คล้ายปาล์ม สน แล้วพันธุ์พืชชั้นสูงก็เกิดตามขึ้นมาเรื่อย ๆ

ซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่พบในหิน มีเกือบทุกส่วนของพืช ตั้งแต่ลำต้น กิ่งก้าน ใบ และมักพบในหินที่สะสมตัวในสภาพแวดล้อมเป็นกรด เช่น ในหินโคลน และหินดินดาน และมักจะมีกระบวนการเกิดที่สัมพันธ์กับการเกิดถ่านหิน ซึ่งในเหมืองถ่านหินของประเทศไทย ก็เป็นแหล่งที่จะหาซากดึกดำบรรพ์ของพืชได้ดีเช่นกัน นอกจากนั้นก็อาจพบซากพืชในหินทราย และมักจะพบส่วนที่เป็นลำต้นซึ่งเกิดจากการที่สารละลายของแร่แทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อของต้นไม้ ที่ล้มตายลงอย่างช้า ๆ จนในที่สุดก็แทรกซึมไปทั่วทั้งต้น เมื่อแข็งตัวกลายเป็นหิน ก็เรียกว่า ไม้กลายเป็นหิน (petrified wood) ซึ่งอายุของไม้กลายเป็นหินในประเทศไทยจะพบมากในช่วง 200 – 65 ล้านปี (ยุคมีโซโซอิก) ในบริเวณที่ราบสูงโคราช และภาคใต้ของไทย

2.3 ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง สัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่พบมากที่สุด ทั้งนี้เพราะสัตว์พวกนี้มีเปลือกแข็ง อยู่กันเป็นกลุ่มหนาแน่น และอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดซากดึกดำบรรพ์ในขณะเสียชีวิต
ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังนี้พัฒนาสืบเนื่องมาตั้งแต่ 3,500 ล้านปี จนกระทั่งมาเริ่มมีลักษณะเด่นชัดในยุคแคมเบรียน (545 ล้านปีที่ผ่านมา) เช่น ฟองน้ำ แมงกระพรุน และปะการัง ในบรรดาสัตว์เหล่านี้ แมงกระพรุนจะพบเห็นเป็นซากดึกดำบรรพ์น้อยมาก แต่ซากดึกดำบรรพ์ส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกปะการัง นอกจากนั้นก็พบสิ่งมีชีวิตพวกโปรโตซัวที่อยู่ในทะเลและอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ซึ่งเริ่มพบตั้งแต่สี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน หอยตะเกียง หรือแบรคิโอพอด เป็นหอยทะเลที่มีฝาสองฝาไม่เท่ากัน พบเป็นซากดึกดำบรรพ์หลายชนิด มีช่วงอายุตั้งแต่ 545 ล้านปีถึงปัจจุบัน แต่บางชนิดเป็นซากที่เด่นของยุคคาร์บอนิเฟอรัส –เพอร์เมียน
นอกจากนั้นซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่สำคัญซึ่งพบในไทย เป็นพวก “อาร์โทรพอด” ซึ่งได้แก่สัตว์ที่มีกระดอง เช่น ปู กุ้ง แมลง และไทรโลไบท์(ลักษณะคล้ายแมงดาทะเล) บางชนิดเป็นซากดึกดำบรรพ์ดัชนีของยุคแคมเบรียน เช่น ไทรโลไบต์ที่พบในหินทรายที่เกาะตรุเตา ซากดึกดำบรรพ์ชนิด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืชพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนานตั้งแต่เริ่มแรกของโลกในยุคพรีแคมเบรียนที่พบซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินจนกระทั่งถึงประมาณสี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมาพืชบนโลกส่วนมากก็ยังคงเป็นสาหร่ายที่อยู่ในน้ำซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายจะพบน้อยมากยกเว้นพวกที่อยู่กันเป็นกลุ่มก้อนและที่มีโครงร่างเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตต่อมาพืชวิวัฒนาการขึ้นมาอยู่บนบกและได้เปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะทั้งภายนอกและภายในเพื่อให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมบนบกโดยมีการพัฒนาของระบบท่อลำเลียงและเนื้อไม้ให้แข็งแกร่งมีโครงร่างที่แข็งแรงเหมาะสมต่อการยังชีพบนบกได้จากการพัฒนาเหล่านี้ทำให้พืชได้แพร่กระจายขึ้นมาสู่สภาพแวดล้อมบนบกที่เกิดขึ้นบนโลกตั้งแต่ยุคไซลูเรียน (ประมาณ 435 ล้านปี) เป็นต้นมาเริ่มแรกจะเป็นพืชที่เป็นหัวเป็นหน่อยังไม่มีใบต่อมาจึงมีพืชจำพวกเฟิร์นเกิดขึ้นตามมาด้วยพืชที่คล้ายปาล์มสนแล้วพันธุ์พืชชั้นสูงก็เกิดตามขึ้นมาเรื่อยๆซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่พบในหินมีเกือบทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลำต้นกิ่งก้านใบและมักพบในหินที่สะสมตัวในสภาพแวดล้อมเป็นกรดเช่นในหินโคลนและหินดินดานและมักจะมีกระบวนการเกิดที่สัมพันธ์กับการเกิดถ่านหินซึ่งในเหมืองถ่านหินของประเทศไทยก็เป็นแหล่งที่จะหาซากดึกดำบรรพ์ของพืชได้ดีเช่นกันนอกจากนั้นก็อาจพบซากพืชในหินทรายและมักจะพบส่วนที่เป็นลำต้นซึ่งเกิดจากการที่สารละลายของแร่แทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อของต้นไม้ที่ล้มตายลงอย่างช้าๆ จนในที่สุดก็แทรกซึมไปทั่วทั้งต้นเมื่อแข็งตัวกลายเป็นหินก็เรียกว่าไม้กลายเป็นหิน (ไม้ดึกดำบรรพ์) ซึ่งอายุของไม้กลายเป็นหินในประเทศไทยจะพบมากในช่วง 200 – 65 ล้านปี (ยุคมีโซโซอิก) ในบริเวณที่ราบสูงโคราชและภาคใต้ของไทย2.3 ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่พบมากที่สุดทั้งนี้เพราะสัตว์พวกนี้มีเปลือกแข็งอยู่กันเป็นกลุ่มหนาแน่นและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเกิดซากดึกดำบรรพ์ในขณะเสียชีวิตซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังนี้พัฒนาสืบเนื่องมาตั้งแต่ 3,500 ล้านปี จนกระทั่งมาเริ่มมีลักษณะเด่นชัดในยุคแคมเบรียน (545 ล้านปีที่ผ่านมา) เช่น ฟองน้ำ แมงกระพรุน และปะการัง ในบรรดาสัตว์เหล่านี้ แมงกระพรุนจะพบเห็นเป็นซากดึกดำบรรพ์น้อยมาก แต่ซากดึกดำบรรพ์ส่วนใหญ่ที่พบเป็นพวกปะการัง นอกจากนั้นก็พบสิ่งมีชีวิตพวกโปรโตซัวที่อยู่ในทะเลและอาศัยอยู่เป็นกลุ่ม ซึ่งเริ่มพบตั้งแต่สี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบัน หอยตะเกียง หรือแบรคิโอพอด เป็นหอยทะเลที่มีฝาสองฝาไม่เท่ากัน พบเป็นซากดึกดำบรรพ์หลายชนิด มีช่วงอายุตั้งแต่ 545 ล้านปีถึงปัจจุบัน แต่บางชนิดเป็นซากที่เด่นของยุคคาร์บอนิเฟอรัส –เพอร์เมียนนอกจากนั้นซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่สำคัญซึ่งพบในไทยเป็นพวก "อาร์โทรพอด" ซึ่งได้แก่สัตว์ที่มีกระดองเช่นปูกุ้งแมลงและไทรโลไบท์(ลักษณะคล้ายแมงดาทะเล)บางชนิดเป็นซากดึกดำบรรพ์ดัชนีของยุคแคมเบรียนเช่นไทรโลไบต์ที่พบในหินทรายที่เกาะตรุเตาซากดึกดำบรรพ์ชนิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2.2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืช ยกเว้นพวกที่อยู่กันเป็นกลุ่มก้อน มีโครงร่างที่แข็งแรง
ตั้งแต่ยุคไซลูเรียน (ประมาณ 435 ล้านปี) เป็นต้นมาเริ่มแรกจะเป็นพืชที่เป็นหัวเป็นหน่อยังไม่มีใบต่อมาจึงมีพืชจำพวกเฟิร์นเกิดขึ้นตามมาด้วยพืชที่คล้ายปาล์มสน ๆซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่พบในหินมีเกือบทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลำต้นกิ่งก้านใบ เช่นในหินโคลนและหินดินดาน ซึ่งในเหมืองถ่านหินของประเทศไทย นอกจากนั้นก็อาจพบซากพืชในหินทราย ที่ล้มตายลงอย่างช้า ๆ จนในที่สุดก็แทรกซึมไปทั่วทั้งต้นเมื่อแข็งตัวกลายเป็นหินก็เรียกว่าไม้กลายเป็นหิน (หินไม้) 200-65 ล้านปี (ยุคมีโซโซอิก) ในบริเวณที่ราบสูงโคราชและภาคใต้ของไทย2.3 อยู่กันเป็นกลุ่มหนาแน่น 3,500 ล้านปี (545 ล้านปีที่ผ่านมา) เช่นฟองน้ำแมงกระพรุนและปะการังในบรรดาสัตว์เหล่านี้ หอยตะเกียงหรือแบรคิโอพอดเป็นหอยทะเลที่มีฝาสองฝาไม่เท่ากันพบเป็นซากดึกดำบรรพ์หลายชนิดมีช่วงอายุตั้งแต่ 545 ล้านปีถึงปัจจุบัน เป็นพวก "อาร์โทรพอด" ซึ่ง ได้แก่ สัตว์ที่มีกระดองเช่นปูกุ้งแมลงและไทรโลไบท์ (ลักษณะคล้ายแมงดาทะเล) เช่น ซากดึกดำบรรพ์ชนิด





การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
2 .2 ซากดึกดำบรรพ์ของพืชพืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มีประวัติยาวนานตั้งแต่เริ่มแรกของโลกในยุคพรีแคมเบรียนที่พบซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินจนกระทั่งถึงประมาณสี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมาซากดึกดำบรรพ์ของสาหร่ายจะพบน้อยมากยกเว้นพวกที่อยู่กันเป็นกลุ่มก้อนและที่มีโครงร่างเป็นแคลเซียมคาร์บอเนตมีโครงร่างที่แข็งแรงเหมาะสมต่อการยังชีพบนบกได้
จากการพัฒนาเหล่านี้ทำให้พืชได้แพร่กระจายขึ้นมาสู่สภาพแวดล้อมบนบกที่เกิดขึ้นบนโลกตั้งแต่ยุคไซลูเรียน ( ประมาณ 435 ล้านปี ) เป็นต้นมาเริ่มแรกจะเป็นพืชที่เป็นหัวเป็นหน่อยังไม่มีใบตามมาด้วยพืชที่คล้ายปาล์มสนจะแล้วพันธุ์พืชชั้นสูงก็เกิดตามขึ้นมาเรื่อย

ซากดึกดำบรรพ์ของพืชที่พบในหินมีเกือบทุกส่วนของพืชตั้งแต่ลำต้นกิ่งก้านใบและมักพบในหินที่สะสมตัวในสภาพแวดล้อมเป็นกรดเช่นในหินโคลนและหินดินดานและมักจะมีกระบวนการเกิดที่สัมพันธ์กับการเกิดถ่านหินก็เป็นแหล่งที่จะหาซากดึกดำบรรพ์ของพืชได้ดีเช่นกันนอกจากนั้นก็อาจพบซากพืชในหินทรายและมักจะพบส่วนที่เป็นลำต้นซึ่งเกิดจากการที่สารละลายของแร่แทรกซึมเข้าไปในเนื้อเยื่อของต้นไม้ที่ล้มตายลงอย่างช้าไม่มีเมื่อแข็งตัวกลายเป็นหินก็เรียกว่าไม้กลายเป็นหิน ( ไม้กลายเป็นหิน ) ซึ่งอายุของไม้กลายเป็นหินในประเทศไทยจะพบมากในช่วง 200 – 65 ล้านปี ( ยุคมีโซโซอิก ) ในบริเวณที่ราบสูงโคราชและภาคใต้ของไทย

2 .3 ซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังสัตว์ที่ไม่มีกระดูกสันหลังเป็นซากดึกดำบรรพ์ที่พบมากที่สุดทั้งนี้เพราะสัตว์พวกนี้มีเปลือกแข็งอยู่กันเป็นกลุ่มหนาแน่นซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังนี้พัฒนาสืบเนื่องมาตั้งแต่ 3500 ล้านปีจนกระทั่งมาเริ่มมีลักษณะเด่นชัดในยุคแคมเบรียน ( 545 ล้านปีที่ผ่านมา ) เช่นฟองน้ำแมงกระพรุนและปะการังในบรรดาสัตว์เหล่านี้แมงกระพรุนจะพบเห็นเป็นซากดึกดำบรรพ์น้อยมากนอกจากนั้นก็พบสิ่งมีชีวิตพวกโปรโตซัวที่อยู่ในทะเลและอาศัยอยู่เป็นกลุ่มซึ่งเริ่มพบตั้งแต่สี่ร้อยล้านปีที่ผ่านมาจนถึงปัจจุบันหอยตะเกียงหรือแบรคิโอพอดเป็นหอยทะเลที่มีฝาสองฝาไม่เท่ากันมีช่วงอายุตั้งแต่ 545 ล้านปีถึงปัจจุบันแต่บางชนิดเป็นซากที่เด่นของยุคคาร์บอนิเฟอรัส–เพอร์เมียน
นอกจากนั้นซากดึกดำบรรพ์ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่สำคัญซึ่งพบในไทยเป็นพวก " อาร์โทรพอด " ซึ่งได้แก่สัตว์ที่มีกระดองเช่นปูกุ้งแมลงและไทรโลไบท์ ( ลักษณะคล้ายแมงดาทะเล )เช่นไทรโลไบต์ที่พบในหินทรายที่เกาะตรุเตาซากดึกดำบรรพ์ชนิด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: