กลุ่มชนพื้นเมืองประชากร ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ  การแปล - กลุ่มชนพื้นเมืองประชากร ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ  ไทย วิธีการพูด

กลุ่มชนพื้นเมืองประชากร ประเทศมาเลเ

กลุ่มชนพื้นเมือง
ประชากร

ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติ ในอดีตเคยเกิดสงครามกลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติ ประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายูร้อยละ 50.4 เป็นชาวภูมิบุตร (Bumiputra) คือบุตรแห่งแผ่นดิน รวมไปถึงชนดั้งเดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่ง ได้แก่กลุ่มชนเผ่าในรัฐซาราวัก และรัฐซาบาห์มีอยู่ร้อยละ 11[1] ซึ่งตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้น ชาวมลายูนั้นคือมุสลิม และอยู่ในกรอบวัฒนธรรมมลายู แต่ชาวภูมิบุตรที่ไม่ใช่ชาวมลายูนั้น มีจำนวนกว่าครึ่งของประชากรในรัฐซาราวัก (ได้แก่ชาวอิบัน ร้อยละ 30) และร้อยละ 60 ของประชากรรัฐซาบาห์ (ได้แก่ชาวกาดาซัน-ดูซุน ร้อยละ 18 และชาวบาเจา ร้อยละ 17) [1] นอกจากนี้ยังมีชนพื้นเมืองดั้งเดิมของคาบสมุทรมลายูอีกกลุ่มหนึ่ง คือ โอรัง อัสลี
ประชากรกลุ่มใหญ่ที่ไม่ใช่ชาวภูมิบุตรหรือชนดั้งเดิมเป็นพวกที่เข้ามาใหม่ โดยเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน มีอยู่ร้อยละ 23.7 ซึ่งมีประจายอยู่ทั่วประเทศ มีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดีย อีกร้อยละ 7.1 ของประชากร[1] ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬ แต่ยังมีชาวอินเดียกลุ่มอื่น อย่างเกรละ, ปัญจาบ, คุชรัต และปาร์ซี นอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมาเลเซียเชื้อสายไทย โดยอาศัยอยู่ในรัฐทางตอนเหนือของประเทศ มีคนเชื้อสายชวา และมินังกะเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่าง รัฐยะโฮร์
ชุมชนลูกครึ่งคริสตัง (โปรตุเกส-มลายู) ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก และชุมชนลูกครึ่งอื่นๆอย่าง ฮอลันดา และอังกฤษส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกา ส่วนลูกครึ่งเปอรานากัน หรือชาวจีนช่องแคบ (จีน-มลายู) ส่วนมากอาศัยอยู่ในรัฐมะละกา และมีชุมชนอยู่ในรัฐปีนัง
โอรังอัสลี
โอรังอัสลีเป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทรมลายู ชาวโอรังอัสลีแบ่งออกเป็นเผ่าหลัก 3 เผ่า ได้แก่ เนกริโต เซนอย และโปรโตมาเลย์ เผ่าเนกริโตมักจะอาศัยอยู่ในภาคเหนือ เผ่าเซนอยอาศัยอยู่ทางตอนกลาง และเผ่าโปรโตมาเลย์อาศัยอยู่ทางตอนใต้ แต่ละกลุ่มหรือกลุ่มย่อยจะมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นของตนเอง บางกลุ่มประกอบอาชีพเป็นชาวประมง เกษตรกร ในขณะที่บางกลุ่มเป็นชนเผ่ากึ่งเร่ร่อน
ซาบาห์

กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของซาบาห์คือกาดาซานดูซุน บาจาว และมูรุต

กาดาซานดูซุน
กาดาซานดูซุน คือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของรัฐซาบาห์ จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 30 ของประชากรของรัฐ ที่จริงแล้ว ชนพื้นเมืองกลุ่มนี้ประกอบด้วยชาวเผ่าสองเผ่า ได้แก่ คาดาซาน และดูซุน อย่างไรก็ตาม เราจัดให้ทั้งสองเผ่านี้อยู่ในกลุ่มเดียวกัน เนื่องจากทั้งสองเผ่าใช้ภาษาเดียวกัน และมีวัฒนธรรมเหมือนกัน อย่างไรก็ตาม ชาวคาดาซานส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ราบบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ ซึ่งเหมาะกับการปลูกพืชไร่ ในขณะที่เผ่าดูซานจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่เป็นภูเขาหรือเนินเขา ด้านในของรัฐซาบาห์มาแต่ดั้งเดิม

บาจาว
บาจาว คือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐซาบาห์ จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 15 ของประชากรของรัฐ ตามประวัติศาสตร์ พวกเขาคือชาวเผ่าเร่ร่อนในทะเลที่นับถือออมโบห์ดิลาอุต หรือเทพเจ้าแห่งท้องทะเล บางครั้ง พวกเขาถูกเรียกว่า ชาวยิปซีแห่งท้องทะเล ต่อมา ชาวบาจาวเลือกที่จะละทิ้งวิถีในท้องทะเลและหาเลี้ยงชีพด้วยการทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ ชาวบาจาวบกได้รับการขนานนามว่าเป็น "คาวบอยแห่งตะวันออก" เนื่องจากพวกเขามีทักษะการขี่ม้าที่ดีมาก ชาวบาจาวบกจะสาธิตการขี่ม้าในงานเทศกาลประจำปีชื่อทามู เบซาร์ ซึ่งจัดขึ้นในเมืองโคตาเบลุด

มูรุต
มูรุต คือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของรัฐซาบาห์ จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 3 ของประชากรของรัฐ แต่เดิม เผ่ามูรุตอาศัยอยู่ด้านในของเกาะบอร์เนียวตอนเหนือ พวกเขาคือกลุ่มชนพื้นเมืองกลุ่มสุดท้ายของรัฐซาบาห์ที่เลิกประเพณีการล่าศีรษะมนุษย์ ปัจจุบัน ชาวเผ่าส่วนใหญ่เปลี่ยนมาทำไร่ตามเนินเขาและปลูกมันสำปะหลัง ล่าสัตว์และหาปลาเป็นอาหารในบางครั้ง เข่นเดียวกับชนพื้นเมืองอื่นๆ ในรัฐซาบาห์ ชุดประจำเผ่าจะตกแต่งด้วยลูกปัดหลากสี
ซาราวัก

ชาวอิบัน (Iban) บีดายู (Bidayuh) และโอรังอูลู (Orang Ulu) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลักของรัฐซาราวัก โดยมักเรียกรวมๆ ว่าชาวดายัก (Dayaks) คำว่าดายักแปลว่าต้นน้ำหรือใจกลางแผ่นดิน ชาวมุสลิมที่อาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งใช้คำคำนี้เรียกแทนชนเผ่าต่างๆ ที่มีมากกว่า 200 เผ่า ชนเผ่าเหล่านี้มักอาศัยอยู่รวมกันในบ้านหลังยาวหรือที่รู้จักกันดีว่าลองเฮาส์ (Longhouse) โดยแต่ละหลังมีครอบครัวอาศัยอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 20 ถึง 100 ครอบครัว

อิบัน
ชาวอิบันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดของรัฐซาราวัก โดยมีจำนวนราว 30% ของประชากรทั้งหมด ชาวอิบันอาศัยอยู่ทางต้นน้ำในบริเวณใจกลางเขตกาลิมันตัน แต่ด้วยทักษะความชำนาญเกี่ยวกับเรือ จึงมักถูกเรียกผิดๆ ว่า ชาวดายักทะเล ในอดีต ชาวอิบันเป็นเผ่านักรบที่น่าครั่นคร้ามยิ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเผ่าผู้ล่าหัวมนุษย์และคอยปล้นสดมภ์ ในอดีตชาวอิบันนับถือเทพเจ้า 3 องค์ ซึ่งอยู่เบื้องใต้เทพซิงกาลัง บูรุง (Singalang Burung) หรือเทพเจ้านกแห่งสงคราม ในปัจจุบันแม้ชาวอิบันส่วนใหญ่จะหันมานับถือคริสตศาสนา แต่ชาวอิบันก็ยังคงสืบทอดประเพณีต่างๆ ของเผ่าเหมือนในอดีต

บีดายู
ชาวอิบันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดของรัฐซาราวัก โดยมีจำนวนราว 30% ของประชากรทั้งหมด ชาวอิบันอาศัยอยู่ทางต้นน้ำในบริเวณใจกลางเขตกาลิมันตัน แต่ด้วยทักษะความชำนาญเกี่ยวกับเรือ จึงมักถูกเรียกผิดๆ ว่า ชาวดายักทะเล ในอดีต ชาวอิบันเป็นเผ่านักรบที่น่าครั่นคร้ามยิ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเผ่าผู้ล่าหัวมนุษย์และคอยปล้นสดมภ์ ในอดีตชาวอิบันนับถือเทพเจ้า 3 องค์ ซึ่งอยู่เบื้องใต้เทพซิงกาลัง บูรุง (Singalang Burung) หรือเทพเจ้านกแห่งสงคราม ในปัจจุบันแม้ชาวอิบันส่วนใหญ่จะหันมานับถือคริสตศาสนา แต่ชาวอิบันก็ยังคงสืบทอดประเพณีต่างๆ ของเผ่าเหมือนในอดีต

โอรังอูลู
อีกนามหนึ่งของชาวโอรังอูลูก็คือชนเผ่าต้นน้ำแห่งรัฐซาราวัก ชาวโอรังอูลูมีจำนวนราว 5.5% ของประชากรรัฐซาราวัก โดยมีมากกว่า 100,000 เผ่า ชาวโอรังอูลูเป็นกลุ่มที่มีหัวทางศิลปะและรักความสวยงามมากที่สุดของรัฐซาราวัก อาศัยอย
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
กลุ่มชนพื้นเมืองประชากร ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติในอดีตเคยเกิดสงครามกลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายูร้อยละ 50.4 (Bumiputra) เป็นชาวภูมิบุตรคือบุตรแห่งแผ่นดินรวมไปถึงชนดั้งเดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่งได้แก่กลุ่มชนเผ่าในรัฐซาราวักและรัฐซาบาห์มีอยู่ร้อยละ 11 [1] ซึ่งตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้นชาวมลายูนั้นคือมุสลิมและอยู่ในกรอบวัฒนธรรมมลายูแต่ชาวภูมิบุตรที่ไม่ใช่ชาวมลายูนั้นมีจำนวนกว่าครึ่งของประชากรในรัฐซาราวัก (ได้แก่ชาวอิบันร้อยละ 30) และร้อยละ 60 ของประชากรรัฐซาบาห์ (ได้แก่ชาวกาดาซัน-ดูซุนร้อยละ 18 และชาวบาเจาร้อยละ 17) นอกจากนี้ยังมีชนพื้นเมืองดั้งเดิมของคาบสมุทรมลายูอีกกลุ่มหนึ่ง [1] คือโอรังอัสลีประชากรกลุ่มใหญ่ที่ไม่ใช่ชาวภูมิบุตรหรือชนดั้งเดิมเป็นพวกที่เข้ามาใหม่โดยเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีอยู่ร้อยละ 23.7 ซึ่งมีประจายอยู่ทั่วประเทศมีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดียอีกร้อยละ 7.1 [1] ของประชากรส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬแต่ยังมีชาวอินเดียกลุ่มอื่นอย่างเกรละ ปัญจาบ คุชรัตและปาร์ซีนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยโดยอาศัยอยู่ในรัฐทางตอนเหนือของประเทศมีคนเชื้อสายชวาและมินังกะเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่างรัฐยะโฮร์ชุมชนลูกครึ่งคริสตัง (โปรตุเกส-มลายู) ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและชุมชนลูกครึ่งอื่นๆอย่างฮอลันดาและอังกฤษส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกาส่วนลูกครึ่งเปอรานากันหรือชาวจีนช่องแคบ (จีน-มลายู) ส่วนมากอาศัยอยู่ในรัฐมะละกาและมีชุมชนอยู่ในรัฐปีนังโอรังอัสลี โอรังอัสลีเป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทรมลายูชาวโอรังอัสลีแบ่งออกเป็นเผ่าหลัก 3 เผ่าได้แก่เนกริโตเซนอยและโปรโตมาเลย์เผ่าเนกริโตมักจะอาศัยอยู่ในภาคเหนือเผ่าเซนอยอาศัยอยู่ทางตอนกลางและเผ่าโปรโตมาเลย์อาศัยอยู่ทางตอนใต้แต่ละกลุ่มหรือกลุ่มย่อยจะมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นของตนเองบางกลุ่มประกอบอาชีพเป็นชาวประมงเกษตรกรในขณะที่บางกลุ่มเป็นชนเผ่ากึ่งเร่ร่อนซาบาห์กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของซาบาห์คือกาดาซานดูซุนบาจาวและมูรุต กาดาซานดูซุน กาดาซานดูซุนคือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของรัฐซาบาห์จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 30 ของประชากรของรัฐที่จริงแล้วชนพื้นเมืองกลุ่มนี้ประกอบด้วยชาวเผ่าสองเผ่าได้แก่คาดาซานและดูซุนอย่างไรก็ตามเราจัดให้ทั้งสองเผ่านี้อยู่ในกลุ่มเดียวกันเนื่องจากทั้งสองเผ่าใช้ภาษาเดียวกันและมีวัฒนธรรมเหมือนกันอย่างไรก็ตามชาวคาดาซานส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ราบบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำซึ่งเหมาะกับการปลูกพืชไร่ในขณะที่เผ่าดูซานจะอาศัยอยู่ในบริเวณที่เป็นภูเขาหรือเนินเขาด้านในของรัฐซาบาห์มาแต่ดั้งเดิม บาจาว บาจาว คือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสองของรัฐซาบาห์ จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 15 ของประชากรของรัฐ ตามประวัติศาสตร์ พวกเขาคือชาวเผ่าเร่ร่อนในทะเลที่นับถือออมโบห์ดิลาอุต หรือเทพเจ้าแห่งท้องทะเล บางครั้ง พวกเขาถูกเรียกว่า ชาวยิปซีแห่งท้องทะเล ต่อมา ชาวบาจาวเลือกที่จะละทิ้งวิถีในท้องทะเลและหาเลี้ยงชีพด้วยการทำการเกษตรและเลี้ยงสัตว์ ชาวบาจาวบกได้รับการขนานนามว่าเป็น "คาวบอยแห่งตะวันออก" เนื่องจากพวกเขามีทักษะการขี่ม้าที่ดีมาก ชาวบาจาวบกจะสาธิตการขี่ม้าในงานเทศกาลประจำปีชื่อทามู เบซาร์ ซึ่งจัดขึ้นในเมืองโคตาเบลุด มูรุต มูรุต คือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับสามของรัฐซาบาห์ จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 3 ของประชากรของรัฐ แต่เดิม เผ่ามูรุตอาศัยอยู่ด้านในของเกาะบอร์เนียวตอนเหนือ พวกเขาคือกลุ่มชนพื้นเมืองกลุ่มสุดท้ายของรัฐซาบาห์ที่เลิกประเพณีการล่าศีรษะมนุษย์ ปัจจุบัน ชาวเผ่าส่วนใหญ่เปลี่ยนมาทำไร่ตามเนินเขาและปลูกมันสำปะหลัง ล่าสัตว์และหาปลาเป็นอาหารในบางครั้ง เข่นเดียวกับชนพื้นเมืองอื่นๆ ในรัฐซาบาห์ ชุดประจำเผ่าจะตกแต่งด้วยลูกปัดหลากสี ซาราวัก ชาวอิบัน (Iban) บีดายู (Bidayuh) และโอรังอูลู (Orang Ulu) เป็นกลุ่มชาติพันธุ์หลักของรัฐซาราวัก โดยมักเรียกรวมๆ ว่าชาวดายัก (Dayaks) คำว่าดายักแปลว่าต้นน้ำหรือใจกลางแผ่นดิน ชาวมุสลิมที่อาศัยอยู่ตามแนวชายฝั่งใช้คำคำนี้เรียกแทนชนเผ่าต่างๆ ที่มีมากกว่า 200 เผ่า ชนเผ่าเหล่านี้มักอาศัยอยู่รวมกันในบ้านหลังยาวหรือที่รู้จักกันดีว่าลองเฮาส์ (Longhouse) โดยแต่ละหลังมีครอบครัวอาศัยอยู่ร่วมกันตั้งแต่ 20 ถึง 100 ครอบครัว อิบัน ชาวอิบันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดของรัฐซาราวัก โดยมีจำนวนราว 30% ของประชากรทั้งหมด ชาวอิบันอาศัยอยู่ทางต้นน้ำในบริเวณใจกลางเขตกาลิมันตัน แต่ด้วยทักษะความชำนาญเกี่ยวกับเรือ จึงมักถูกเรียกผิดๆ ว่า ชาวดายักทะเล ในอดีต ชาวอิบันเป็นเผ่านักรบที่น่าครั่นคร้ามยิ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเผ่าผู้ล่าหัวมนุษย์และคอยปล้นสดมภ์ ในอดีตชาวอิบันนับถือเทพเจ้า 3 องค์ ซึ่งอยู่เบื้องใต้เทพซิงกาลัง บูรุง (Singalang Burung) หรือเทพเจ้านกแห่งสงคราม ในปัจจุบันแม้ชาวอิบันส่วนใหญ่จะหันมานับถือคริสตศาสนา แต่ชาวอิบันก็ยังคงสืบทอดประเพณีต่างๆ ของเผ่าเหมือนในอดีต
บีดายู
ชาวอิบันเป็นกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มใหญ่ที่สุดของรัฐซาราวัก โดยมีจำนวนราว 30% ของประชากรทั้งหมด ชาวอิบันอาศัยอยู่ทางต้นน้ำในบริเวณใจกลางเขตกาลิมันตัน แต่ด้วยทักษะความชำนาญเกี่ยวกับเรือ จึงมักถูกเรียกผิดๆ ว่า ชาวดายักทะเล ในอดีต ชาวอิบันเป็นเผ่านักรบที่น่าครั่นคร้ามยิ่ง เป็นที่รู้จักกันดีในฐานะเผ่าผู้ล่าหัวมนุษย์และคอยปล้นสดมภ์ ในอดีตชาวอิบันนับถือเทพเจ้า 3 องค์ ซึ่งอยู่เบื้องใต้เทพซิงกาลัง บูรุง (Singalang Burung) หรือเทพเจ้านกแห่งสงคราม ในปัจจุบันแม้ชาวอิบันส่วนใหญ่จะหันมานับถือคริสตศาสนา แต่ชาวอิบันก็ยังคงสืบทอดประเพณีต่างๆ ของเผ่าเหมือนในอดีต

โอรังอูลู
อีกนามหนึ่งของชาวโอรังอูลูก็คือชนเผ่าต้นน้ำแห่งรัฐซาราวัก ชาวโอรังอูลูมีจำนวนราว 5.5% ของประชากรรัฐซาราวัก โดยมีมากกว่า 100,000 เผ่า ชาวโอรังอูลูเป็นกลุ่มที่มีหัวทางศิลปะและรักความสวยงามมากที่สุดของรัฐซาราวัก อาศัยอย
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประชากรกลุ่มชนพื้นเมือง


ประเทศมาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชื้อชาติในอดีตเคยเกิดสงครามกลางเมืองเนื่องจากการกีดกันทางเชื้อชาติประเทศมาเลเซียประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายูร้อยละ 504 เป็นชาวภูมิบุตร ( ภูมิบุตร ) คือบุตรแห่งแผ่นดินรวมไปถึงชนดั้งเดิมของประเทศอีกส่วนหนึ่งได้แก่กลุ่มชนเผ่าในรัฐซาราวักและรัฐซาบาห์มีอยู่ร้อยละ 11 [ 1 ] ซึ่งตามรัฐธรรมนูญของมาเลเซียนั้นชาวมลายูนั้นคือมุสลิมแต่ชาวภูมิบุตรที่ไม่ใช่ชาวมลายูนั้นมีจำนวนกว่าครึ่งของประชากรในรัฐซาราวัก ( ได้แก่ชาวอิบันร้อยละ 30 ) และร้อยละ 60 ของประชากรรัฐซาบาห์ ( ได้แก่ชาวกาดาซัน - ดูซุนร้อยละ 18 และชาวบาเจาร้อยละ 17 ) [ 1 ]ความโอรังอัสลี
ประชากรกลุ่มใหญ่ที่ไม่ใช่ชาวภูมิบุตรหรือชนดั้งเดิมเป็นพวกที่เข้ามาใหม่โดยเป็นชาวมาเลเซียเชื้อสายจีนมีอยู่ร้อยละ 23.7 ซึ่งมีประจายอยู่ทั่วประเทศมีชาวมาเลเซียเชื้อสายอินเดียอีกร้อยละ 71 ของประชากร [ 1 ] ส่วนใหญ่สืบเชื้อสายมาจากชาวทมิฬแต่ยังมีชาวอินเดียกลุ่มอื่นอย่างเกรละปัญจาบ , ,คุชรัตและปาร์ซีนอกจากนี้ยังมีกลุ่มชาวมาเลเซียเชื้อสายไทยโดยอาศัยอยู่ในรัฐทางตอนเหนือของประเทศมีคนเชื้อสายชวาและมินังกะเบาในรัฐทางตอนใต้ของคาบสมุทรอย่างรัฐยะโฮร์
ชุมชนลูกครึ่งคริสตัง ( โปรตุเกส - มลายู ) ที่นับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิกและชุมชนลูกครึ่งอื่นๆอย่างฮอลันดาและอังกฤษส่วนมากอาศัยในรัฐมะละกาส่วนลูกครึ่งเปอรานากันหรือชาวจีนช่องแคบ ( จีน - มลายู )และมีชุมชนอยู่ในรัฐปีนัง
โอรังอัสลี
โอรังอัสลีเป็นคำที่ใช้เรียกกลุ่มชนพื้นเมืองที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทรมลายูชาวโอรังอัสลีแบ่งออกเป็นเผ่าหลัก 3 เผ่าได้แก่เนกริโตเซนอยและโปรโตมาเลย์เผ่าเนกริโตมักจะอาศัยอยู่ในภาคเหนือและเผ่าโปรโตมาเลย์อาศัยอยู่ทางตอนใต้แต่ละกลุ่มหรือกลุ่มย่อยจะมีภาษาและวัฒนธรรมเป็นของตนเองบางกลุ่มประกอบอาชีพเป็นชาวประมงเกษตรกรในขณะที่บางกลุ่มเป็นชนเผ่ากึ่งเร่ร่อน
ซาบาห์




กลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของซาบาห์คือกาดาซานดูซุนบาจาวและมูรุตกาดาซานดูซุนกาดาซานดูซุนคือกลุ่มชนพื้นเมืองที่มีขนาดใหญ่ที่สุดของรัฐซาบาห์จำนวนประชากรของชนพื้นเมืองกลุ่มนี้คิดเป็นร้อยละ 30 ของประชากรของรัฐที่จริงแล้วชนพื้นเมืองกลุ่มนี้ประกอบด้วยชาวเผ่าสองเผ่าได้แก่คาดาซานอย่างไรก็ตามเราจัดให้ทั้งสองเผ่านี้อยู่ในกลุ่มเดียวกันเนื่องจากทั้งสองเผ่าใช้ภาษาเดียวกันและมีวัฒนธรรมเหมือนกันอย่างไรก็ตามชาวคาดาซานส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในพื้นที่ราบบริเวณสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: