งานประเพณีบุญบั้งไฟประเพณีบุญบั้งไฟ กำเนิดจากไหนนั้น ยังไม่ปรากฏหลักฐา การแปล - งานประเพณีบุญบั้งไฟประเพณีบุญบั้งไฟ กำเนิดจากไหนนั้น ยังไม่ปรากฏหลักฐา ไทย วิธีการพูด

งานประเพณีบุญบั้งไฟประเพณีบุญบั้งไฟ

งานประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟ กำเนิดจากไหนนั้น ยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน แต่ก็ยังปรากฏ ประเพณีนี้ในภาคเหนือ (เรียกว่า ประเพณีจิบอกไฟ)ส่วนหลักฐานเอกสารในภาคอีสาน ปรากฏใน วรรณกรรมท้องถิ่นเรื่อง ผาแดง-นางไอ่ ซึ่งกล่าวถึงตำนานบุญบั้งไฟบ้าง ส่วนความเป็นมาและตำนานเกี่ยวกับบุญบั้งไฟมีหลายประการ ด้วยผู้รู้หลายท่านได้กล่าวไว้ เช่น สิริวัฒน์ คำวันสา ได้ให้ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับต้นเหตุความเป็นมาของประเพณีบุญบั้งไฟ ในแง่ต่างๆไว้ว่าด้านศาสนาพราหมณ์ มีการบูชาเทพเจ้าด้วยไฟเป็นเครื่องบูชาเทพเจ้าบนสวรรค์ การจุดบั้งไฟ เป็นการละเล่นอย่างหนึ่งและเป็นการบูชาเพื่อให้พระองค์บันดาลในสิ่งที่ตนเองต้องการด้านศาสนาพุทธ เป็นการฉลองและบูชาเนื่องในวันวิสาขบูชามีการนำเอาดอกไม้ไฟแบบต่างๆ บั้งไฟ น้ำมัน ไฟธูปเทียนและดินประสิว มีการรักษาศีล ให้ทาน การบวชนาค การฮดสรง การนิมนต์พระเทศน์ ให้เกิดอานิสงส์ ด้านความเชื่อของชาวบ้าน ชาวบ้านเชื่อว่ามีโลกมนุษย์ โลกเทวดา และโลกบาดาล มนุษย์ อยู่ภายใต้อิทธิพลของเทวดา การรำผีฟ้า เป็นตัวอย่างแห่งการแสดงความนับถือเทวดา เทวดา คือ "แถน" "พญาแถน" เมื่อถือว่ามีพญาแถนก็ถือว่ามีฝน ฟ้า ลม เป็นอิทธิพลของพญาแถน หากทำให้พญาแถน โปรดปรานหรือพอใจแถนก็จะบันดาลความสุข จึงมีพิธีบูชาแถน การใช้บั้งไฟเชื่อว่าเป็นการบูชาพญาแถน ซึ่งแสดงความเคารพและแสดงความจงรักภักดีต่อแถน ชาวอีสานส่วนใหญ่จึงเชื่อว่าการจุดบูชาบั้งไฟเป็นการ ขอฝนพญาแถน และมีนิทานปรัมปราลักษณะนี้อยู่ทั่วไป แต่ความเชื่อนี้ยังไม่พบหลักฐานที่แน่นอน ในวรรณกรรมอีสานยังมีความเชื่ออย่างหนึ่ง คือ เรื่องพญาคันคาก พญาคันคากได้รบกับพญาแถนจนชนะแล้ว ให้พญาแถนบันดาลฝนตกลงมายังโลกมนุษย์ พระมหาปรีชา ปริญญาโน เล่าถึงมูลเหตุการทำบุญบั้งไฟไว้ว่า บนสวรรค์ชั้นฟ้ามีเทพบุตร นามว่า วัสสการเทพบุตร เทพบุตรองค์นี้เป็นผู้บันดาลให้ฝนตกลงมายังโลกมนุษย์ สิ่งหนึ่งที่เทพเจ้าองค์นี้ชอบ ก็คือ การบูชาไฟ ใครบูชาไฟถือว่าบูชาท่าน แล้วท่านจะบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล อาศัยเหตุนี้คนจึงพากันทำการบูชาไฟด้วยการทำบุญบั้งไฟและถือเป็นประเพณีจนทุกวันนี้ จารุบุตร เรืองสุวรรณ กล่าวถึงมูลเหตุแห่งการทำบั้งไฟว่าเป็นการทดสอบความพร้อมของ ประชาชนว่ามีความสามัคคีหรือไม่ และเตรียมอาวุธไว้ป้องกันสังคมของตนเอง เพราะสิ่งที่ใช้ทำบั้งไฟนั้นคือ ดินปืนนอกจากนี้ยังเป็นโอกาสให้ประชาชนมาร่วมชุมนุมกันเพื่อเปิดโอกาสให้มีการแสดงการละเล่นจนสุด เหวี่ยง ให้มีความสนุกสนานก่อนที่จะเริ่มทำงานหนักประจำปี จุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟ
จุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟ มีหลายอย่าง เช่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟกำเนิดจากไหนนั้นยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนแต่ก็ยังปรากฏประเพณีนี้ในภาคเหนือ (เรียกว่าประเพณีจิบอกไฟ) ส่วนหลักฐานเอกสารในภาคอีสานปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องผาแดง-นางไอ่ ส่วนความเป็นมาและตำนานเกี่ยวกับบุญบั้งไฟมีหลายประการด้วยผู้รู้หลายท่านได้กล่าวไว้เช่นสิริวัฒน์คำวันสาได้ให้ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับต้นเหตุความเป็นมาของประเพณีบุญบั้งไฟในแง่ต่างๆไว้ว่าด้านศาสนาพราหมณ์ การจุดบั้งไฟเป็นการละเล่นอย่างหนึ่งและเป็นการบูชาเพื่อให้พระองค์บันดาลในสิ่งที่ตนเองต้องการด้านศาสนาพุทธเป็นการฉลองและบูชาเนื่องในวันวิสาขบูชามีการนำเอาดอกไม้ไฟแบบต่าง ๆ บั้งไฟน้ำมัน มีการรักษาศีลให้ทานการบวชนาคการฮดสรงการนิมนต์พระเทศน์ให้เกิดอานิสงส์ด้านความเชื่อของชาวบ้านชาวบ้านเชื่อว่ามีโลกมนุษย์โลกเทวดาและโลกบาดาลมนุษย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของเทวดาการรำผีฟ้า เทวดาคือ "แถน" "พญาแถน" เมื่อถือว่ามีพญาแถนก็ถือว่ามีฝนฟ้าลมเป็นอิทธิพลของพญาแถนหากทำให้พญาแถนโปรดปรานหรือพอใจแถนก็จะบันดาลความสุขจึงมีพิธีบูชาแถนการใช้บั้งไฟเชื่อว่าเป็นการบูชาพญาแถน ชาวอีสานส่วนใหญ่จึงเชื่อว่าการจุดบูชาบั้งไฟเป็นการขอฝนพญาแถนและมีนิทานปรัมปราลักษณะนี้อยู่ทั่วไปแต่ความเชื่อนี้ยังไม่พบหลักฐานที่แน่นอนในวรรณกรรมอีสานยังมีความเชื่ออย่างหนึ่งคือเรื่องพญาคันคาก ให้พญาแถนบันดาลฝนตกลงมายังโลกมนุษย์พระมหาปรีชาปริญญาโนเล่าถึงมูลเหตุการทำบุญบั้งไฟไว้ว่าบนสวรรค์ชั้นฟ้ามีเทพบุตรนามว่าวัสสการเทพบุตรเทพบุตรองค์นี้เป็นผู้บันดาลให้ฝนตกลงมายังโลกมนุษย์ ก็คือการบูชาไฟใครบูชาไฟถือว่าบูชาท่านแล้วท่านจะบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลอาศัยเหตุนี้คนจึงพากันทำการบูชาไฟด้วยการทำบุญบั้งไฟและถือเป็นประเพณีจนทุกวันนี้จารุบุตรเรืองสุวรรณ ประชาชนว่ามีความสามัคคีหรือไม่และเตรียมอาวุธไว้ป้องกันสังคมของตนเองเพราะสิ่งที่ใช้ทำบั้งไฟนั้นคือดินปืนนอกจากนี้ยังเป็นโอกาสให้ประชาชนมาร่วมชุมนุมกันเพื่อเปิดโอกาสให้มีการแสดงการละเล่นจนสุดเหวี่ยง จุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟ
จุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟมีหลายอย่างเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

กำเนิดจากไหนนั้นยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจน แต่ก็ยังปรากฏประเพณีนี้ในภาคเหนือ (เรียกว่า ปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องผาแดง - นางไอ่ซึ่งกล่าวถึงตำนานบุญบั้งไฟบ้าง ด้วยผู้รู้หลายท่านได้กล่าวไว้เช่นสิริวัฒน์คำวันสา ในแง่ต่างๆไว้ว่าด้านศาสนาพราหมณ์ การจุดบั้งไฟ บั้งไฟน้ำมันไฟธูปเทียนและดินประสิวมีการรักษาศีลให้ทานการบวชนาคการฮดสรงการนิมนต์พระเทศน์ให้เกิดอานิสงส์ด้านความเชื่อของชาวบ้านชาวบ้านเชื่อว่ามีโลกมนุษย์โลกเทวดาและโลกบาดาลมนุษย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของ เทวดาการรำผีฟ้า เทวดาคือ "แถน" "พญาแถน" เมื่อถือว่ามีพญาแถนก็ถือว่ามีฝนฟ้าลมเป็นอิทธิพลของพญาแถนหากทำให้พญาแถน จึงมีพิธีบูชาแถน ขอฝนพญาแถน คือเรื่องพญาคันคากพญาคันคากได้รบกับพญาแถนจนชนะแล้ว พระมหาปรีชาปริญญาโน บนสวรรค์ชั้นฟ้ามีเทพบุตรนามว่าวัสสการเทพบุตร สิ่งหนึ่งที่เทพเจ้าองค์นี้ชอบก็คือการบูชาไฟใครบูชาไฟถือว่าบูชาท่าน จารุบุตรเรืองสุวรรณ ประชาชนว่ามีความสามัคคีหรือไม่ เพราะสิ่งที่ใช้ทำบั้งไฟนั้นคือ เหวี่ยง
มีหลายอย่างเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
งานประเพณีบุญบั้งไฟ
ประเพณีบุญบั้งไฟกำเนิดจากไหนนั้นยังไม่ปรากฏหลักฐานชัดเจนแต่ก็ยังปรากฏประเพณีนี้ในภาคเหนือ ( เรียกว่าประเพณีจิบอกไฟ ) ส่วนหลักฐานเอกสารในภาคอีสานปรากฏในวรรณกรรมท้องถิ่นเรื่องผาแดง - นางไอ่ส่วนความเป็นมาและตำนานเกี่ยวกับบุญบั้งไฟมีหลายประการด้วยผู้รู้หลายท่านได้กล่าวไว้เช่นสิริวัฒน์คำวันสาได้ให้ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับต้นเหตุความเป็นมาของประเพณีบุญบั้งไฟในแง่ต่างๆไว้ว่าด้านศาสนาพราหมณ์การจุดบั้งไฟเป็นการละเล่นอย่างหนึ่งและเป็นการบูชาเพื่อให้พระองค์บันดาลในสิ่งที่ตนเองต้องการด้านศาสนาพุทธเป็นการฉลองและบูชาเนื่องในวันวิสาขบูชามีการนำเอาดอกไม้ไฟแบบต่างๆบั้งไฟน้ำมันมีการรักษาศีลให้ทานการบวชนาคการฮดสรงการนิมนต์พระเทศน์ให้เกิดอานิสงส์ด้านความเชื่อของชาวบ้านชาวบ้านเชื่อว่ามีโลกมนุษย์โลกเทวดาและโลกบาดาลมนุษย์อยู่ภายใต้อิทธิพลของเทวดาการรำผีฟ้าเทวดาความ " แถน " พญาแถน " เมื่อถือว่ามีพญาแถนก็ถือว่ามีฝนฟ้าลมเป็นอิทธิพลของพญาแถนหากทำให้พญาแถนโปรดปรานหรือพอใจแถนก็จะบันดาลความสุขจึงมีพิธีบูชาแถนการใช้บั้งไฟเชื่อว่าเป็นการบูชาพญาแถนชาวอีสานส่วนใหญ่จึงเชื่อว่าการจุดบูชาบั้งไฟเป็นการขอฝนพญาแถนและมีนิทานปรัมปราลักษณะนี้อยู่ทั่วไปแต่ความเชื่อนี้ยังไม่พบหลักฐานที่แน่นอนในวรรณกรรมอีสานยังมีความเชื่ออย่างหนึ่งความเรื่องพญาคันคากให้พญาแถนบันดาลฝนตกลงมายังโลกมนุษย์พระมหาปรีชาปริญญาโนเล่าถึงมูลเหตุการทำบุญบั้งไฟไว้ว่าบนสวรรค์ชั้นฟ้ามีเทพบุตรนามว่าวัสสการเทพบุตรเทพบุตรองค์นี้เป็นผู้บันดาลให้ฝนตกลงมายังโลกมนุษย์ก็คือการบูชาไฟใครบูชาไฟถือว่าบูชาท่านแล้วท่านจะบันดาลให้ฝนตกต้องตามฤดูกาลอาศัยเหตุนี้คนจึงพากันทำการบูชาไฟด้วยการทำบุญบั้งไฟและถือเป็นประเพณีจนทุกวันนี้จารุบุตรเรืองสุวรรณประชาชนว่ามีความสามัคคีหรือไม่และเตรียมอาวุธไว้ป้องกันสังคมของตนเองเพราะสิ่งที่ใช้ทำบั้งไฟนั้นคือดินปืนนอกจากนี้ยังเป็นโอกาสให้ประชาชนมาร่วมชุมนุมกันเพื่อเปิดโอกาสให้มีการแสดงการละเล่นจนสุดเหวี่ยงจุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟ
จุดประสงค์ของการทำบุญบั้งไฟมีหลายอย่างเช่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: