ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลก การแปล - ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลก ไทย วิธีการพูด

ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษ

ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ
ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลก โดยชาวอังกฤษแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปี ซึ่งความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มต้นมาจากอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ แต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษเป็นคนแรกก็คือ แคทเธอรีนแห่งบราแกนซา สมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษ ในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670
โดยในระยะแรกนั้น การดื่มชาเป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้น ไม่ได้แพร่หลายโดยทั่วไปเพราะยังจัดว่าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย แต่ต่อมาราคาชาเริ่มถูกลง จึงทำให้ประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปสหราชอาณาจักร
โดยมีการจัดกิจกรรมหรือวัฒนธรรมเกี่ยวกับชามากมาย เช่น มีการจัดสวนชา (Tea garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่น หรือการจัดการเต้นรำชา (Tea dance) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำ ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ, เลี้ยงอาหารค่ำ และจบลงด้วยการดื่มชา
การดื่มชาเป็นมื้ออาหาร
ชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (Tea meal) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ ประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือร้านน้ำชา (tea room) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและสโคน (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (Clotted cream) ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนย และแยมผลไม้ การดื่มชากับสโคนกับครีมและแยม จะเรียกรวมกันว่า “Cream tea” แต่ประเพณีนี้หมดความนิยมลงตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จึงทำให้การดื่ม Cream tea จึงทำกันแต่ในบางโอกาส
วิธีดื่มชาของอังกฤษ
การดื่มชาในอังกฤษมักจะเป็นชาดำที่เสิร์ฟกับนมและบางครั้งก็น้ำตาลด้วย ส่วนชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่ที่เรียกว่า “mug” นั้น มักจะเรียกกันว่า “ชาคนงาน” (Builders tea)
โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษจะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลก แต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่น ตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็จะดื่มชากันวันละอาจจะถึงห้าหรือหกถ้วย แต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤษจะไม่มีประเพณีการดื่มชากันอย่างเป็นทางการหรือในโอกาสพิเศษ สำหรับชนชั้นที่ทำมาหากินมีอาชีพกันทั่วไปการพักดื่มชาก็เป็นส่วนสำคัญประจำวัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างก็มักจะอนุญาตให้มีการพักดื่มชาสายครั้งหนึ่งและบ่ายอีกครั้งหนึ่ง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษ ชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกโดยชาวอังกฤษแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปีซึ่งความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มต้นมาจากอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษแต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษเป็นคนแรกก็คือแคทเธอรีนแห่งบราแกนซาสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670 โดยในระยะแรกนั้น การดื่มชาเป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้น ไม่ได้แพร่หลายโดยทั่วไปเพราะยังจัดว่าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือย แต่ต่อมาราคาชาเริ่มถูกลง จึงทำให้ประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปสหราชอาณาจักร โดยมีการจัดกิจกรรมหรือวัฒนธรรมเกี่ยวกับชามากมาย เช่น มีการจัดสวนชา (Tea garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่น หรือการจัดการเต้นรำชา (Tea dance) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำ ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ, เลี้ยงอาหารค่ำ และจบลงด้วยการดื่มชาการดื่มชาเป็นมื้ออาหาร ชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้น แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (Tea meal) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ ประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือร้านน้ำชา (tea room) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและสโคน (คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (Clotted cream) ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนย และแยมผลไม้ การดื่มชากับสโคนกับครีมและแยม จะเรียกรวมกันว่า “Cream tea” แต่ประเพณีนี้หมดความนิยมลงตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สอง จึงทำให้การดื่ม Cream tea จึงทำกันแต่ในบางโอกาส วิธีดื่มชาของอังกฤษ
การดื่มชาในอังกฤษมักจะเป็นชาดำที่เสิร์ฟกับนมและบางครั้งก็น้ำตาลด้วย ส่วนชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่ที่เรียกว่า “mug” นั้น มักจะเรียกกันว่า “ชาคนงาน” (Builders tea)
โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษจะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลก แต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่น ตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็จะดื่มชากันวันละอาจจะถึงห้าหรือหกถ้วย แต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤษจะไม่มีประเพณีการดื่มชากันอย่างเป็นทางการหรือในโอกาสพิเศษ สำหรับชนชั้นที่ทำมาหากินมีอาชีพกันทั่วไปการพักดื่มชาก็เป็นส่วนสำคัญประจำวัน โดยทั่วไปแล้วนายจ้างก็มักจะอนุญาตให้มีการพักดื่มชาสายครั้งหนึ่งและบ่ายอีกครั้งหนึ่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!

2.1 กิโลกรัมต่อปี 19 แคทเธอรีนแห่งบราแกน ซา 2 แห่งอังกฤษในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษ 1660 ถึง 1670
โดยในระยะแรกนั้น แต่ต่อมาราคาชาเริ่มถูกลง
เช่นมีการจัดสวนชา (Tea Garden) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดิน เล่นหรือการจัดการเต้นรำชา (การเต้นรำชา) ที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟ, เลี้ยงอาหารค่ำ แต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย (มื้อที่ชา) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือ ไม่ (น้ำชา) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและ สโคน (คล้ายมัฟฟิน แต่ไม่หวาน) กับครีมข้น (clotted ครีม) ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือนเนยและ แยมผลไม้การดื่มชากับสโคนกับครีม และแยมจะเรียกรวมกันว่า "ชาครีม" จึงทำให้การดื่มชาครีม "แก้ว" นั้นมักจะเรียกกันว่า "ชาคนงาน" (ผู้สร้าง




การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประเพณีการดื่มชาของอังกฤษชาวอังกฤษเป็นชาติที่ดื่มชาเป็นลำดับสองของโลกโดยชาวอังกฤษแต่ละคนดื่มชาคนละประมาณ 2.1 กิโลกรัมต่อปีซึ่งความนิยมในการดื่มชามีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยเริ่มต้นมาจากอินเดียที่เคยเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษแต่ผู้ที่นำประเพณีการดื่มชาเข้ามาในอังกฤษเป็ นคนแรกก็คือแคทเธอรีนแห่งบราแกนซาสมเด็จพระราชินีในสมเด็จพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 แห่งอังกฤษในราวระหว่างคริสต์ทศวรรษถึง 1660 1670โดยในระยะแรกนั้นการดื่มชาเป็นประเพณีสำหรับชนชั้นสูงเท่านั้นไม่ได้แพร่หลายโดยทั่วไปเพราะยังจัดว่าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยแต่ต่อมาราคาชาเริ่มถูกลงจึงทำให้ประเพณีนี้เผยแพร่ทั่วไปสหราชอาณาจักรโดยมีการจัดกิจกรรมหรือวัฒนธรรมเกี่ยวกับชามากมายเช่นมีการจัดสวนชา ( สวนชา ) ที่เป็นสถานที่ดื่มชาและเดินเล่นหรือการจัดการเต้นรำชา ( การเต้นรำชา ) ที่อาจจะเป็นการเต้นรำตอนบ่ายหรือพลบค่ำที่อาจจะรวมทั้งการดูดอกไม้ไฟเลี้ยงอาหารค่ำและจบลงด้วยการดื่มชา ,การดื่มชาเป็นมื้ออาหารชาไม่เพียงเป็นแค่เครื่องดื่มเท่านั้นแต่ยังหมายถึงอาหารว่างมื้อบ่าย ( กากชา ) ไม่ว่าเครื่องดื่มจะเป็นชาหรือไม่ประเพณีอีกอย่างหนึ่งทีเคยเป็นที่นิยมคือร้านน้ำชา ( ชา ) ซึ่งเป็นสถานที่ที่เสิร์ฟชาและสโคน ( คล้ายมัฟฟินแต่ไม่หวาน ) กับครีมข้น ( แข็งตัวครีม ) ซึ่งเป็นครีมที่ข้นเหมือน เนยและแยมผลไม้การดื่มชากับสโคนกับครีมและแยมจะเรียกรวมกันว่า " ครีมชาเขียว " แต่ประเพณีนี้หมดความนิยมลงตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองจึงทำให้การดื่มจึงทำกันแต่ในบางโอกาสครีมชาวิธีดื่มชาของอังกฤษการดื่มชาในอังกฤษมักจะเป็นชาดำที่เสิร์ฟกับนมและบางครั้งก็น้ำตาลด้วยส่วนชาแก่ที่เสิร์ฟกับนมและน้ำตาลจำนวนมากในถ้วยใหญ่ที่เรียกว่า " แก้ว " นั้นมักจะเรียกกันว่า " ชาคนงาน " ( ชาผู้สร้าง )โดยทั่วไปแล้วการดื่มชาในอังกฤษจะไม่ใช่วัฒนธรรมชั้นสูงที่ละเอียดอ่อนอย่างที่เข้าใจกันทั่วโลกแต่เป็นเพียงกิจวัตรประจำวันเช่นเดียวกับการดื่มกาแฟของชาติอื่นตามปกติแล้วชาวอังกฤษก็จะดื่มชากันวันละอาจจะถึงห้าหรือหกถ้วยแต่ก็มิได้หมายความว่าชาวอังกฤ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: