ไทโส้ กุสุมาลย์ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โส้ ชาวโส้โดยลักษณะของกา การแปล - ไทโส้ กุสุมาลย์ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โส้ ชาวโส้โดยลักษณะของกา ไทย วิธีการพูด

ไทโส้ กุสุมาลย์ประวัติศาสตร์ของกลุ่

ไทโส้ กุสุมาลย์
ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โส้
ชาวโส้โดยลักษณะของการจัดกลุ่มชาติพันธุ์ของมนุษย์ชาติแล้ว ก็ถือว่าเป็นกลุ่มมองโกลอยด์ตระกูลออสโตรเอเชียติค มอญ- เขมร ชนเผ่าโส้นี้ Frank M. Lebar นักมนุยวิทยาที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งได้จัดชนเผ่าโส้ไว้อยู่ในกลุ่มข่าเช่นเดียวกับพวก กะเลิง และพวกแสก ในเอกสารชั้นต้นของไทยเมื่อกล่าวถึงโส้มักจะเรียกว่า “ ข่ากระโส้ ” มากกว่าเรียกว่า “ โส้ ” แสดงให้เห็นถึงการแตกแขนงของพวกข่ามากมายหลายพวกรวมทั้งพวกโส้ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของข่า
พันตรีอีริค ไซเด็นฟาเดน ได้บรรยายลักษณะรูปร่างของชาวโส้ในงานวิจัยภาคสนามที่อำเภอกุฉินารายณ์ โดยใช้ตนเองซึ่งเป็นชาวตะวันตก มาเปรียบเทียบ ตอนหนึ่งว่า “ ชาวโส้มีรูปร่างค่อนข้างอ้วน เตี้ย ความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1.40 เมตร ถึง 1.60 เมตร ผู้ชายส่วนมากผอมรูปใบหน้าของพวกโส้เป็นรูปไข่ แบน จมูกเล็กไม่โด่ง ปลายจมูกแบน ริมฝีปากมีสีน้ำเงินเข้มและเท่ากันทั้งล่างและบนผู้ชายบางคนปลูกหนวดที่คางแต่บางๆ ผมของชาวโส้ยาวประมาณครึ่งนิ้วและออกสีค่อนข้างเหลือง ส่วนผมของสตรีจะเป็นลอนโดยธรรมชาติ ขนตามร่างกายสั้น นิ่ม และออกสีค่อนข้างเหลือง นัยตาส่วนที่เป็นสีขาวออกสีเหลืองผิวของชาวโส้ที่อยู่ในร่มเสื้อผ้ามีสีแดงเรื่อๆ แต่ส่วนที่อยู่ข้างนอกจะออกสีคล้ำ เด็กเล็กๆจะมีจุดสีดำตามผิวหนัง แต่จุดนี้จะหายไปเมื่ออายุได้ 31 วันขึ้นไป ผู้ชายนิยมสักขาลายจากเหนือเข่าขึ้นไปถึงขาอ่อนผู้หญิงสักที่ท้องและเอวด้วยลวดลายแบบรวงข้าวหรือลายดอกไม้นานาพันธุ์ ” เป็นที่น่าสังเกตว่าในปัจจุบัน ความนิยมในการสักขาลายหรือท้องลายได้เสื่อมสลายไปและหาดูได้ยากในหมู่ชาวโส้ตลอดจนชนเผ่าพันธุ์อื่นๆ ทั้งนี้เพราะการวิจัยดังกล่าวได้เขียนขึ้นนานถึง 38 ปีแล้ว
ความเชื่อของชาวโส้เองก็ยังเชื่อว่าตนเป็นข่าพวกหนึ่งแต่มิใช่ข่าที่ป่าเถื่อนยังมิได้พัฒนา ความเชื่อที่ว่าพวกตนเองเป็นพวกข่านั้นเห็นได้จากประเพณีการลักพาตัวเจ้าสาวซึ่งยังมีเหลืออยู่บ้างในปัจจุบัน ตามแบบในวรรณกรรมเรื่องสินไซหรือสังข์ศิลป์ชัย แม้ว่าวรรณกรรมเรื่องนี้จะมีชนหลายกลุ่มอ้างว่าเป็นของตนแต่ชาวโส้ก็อ้างว่าเป็นวรรณกรรมของพวกอ้ายก๊ก หรือชนพวกแรกที่ออกมาจากน้ำเต้าด้วยการใช้เหล็กเผาไฟไซรูน้ำเต้าการอ้างตนเองว่าเป็นอ้ายก๊กนี้ยัง ปรากฏในนิทานของพวกโส้เรื่องกษัตริย์ อ้ายก๊ก ผู้ที่มีปัญหาและคิดประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้สอนประชาราษฎร์ของพระองค์ให้รู้จักอ่านเขียนหนังสือแต่โชคไม่ดีเมื่อพระองค์ทำสงครามกับศัตรูจนถูกทำร้ายจนสิ้นพระชนม์ในสนามรบ ยิ่งกว่านั้น สุนัขยังเข้าไปในบ้านพระองค์และคาบเอาหนังควายซึ่งบันทึกตัวอักษรไว้ไปกินเสียอีกจึงทำให้ ชาวโส้ไม่มีตัวอักษรขีดเขียนเหลือแต่ภาษาพูดเท่านั้น
ถิ่นเดิมก่อนอพยพ พงศาวดารเมืองแถงกล่าวถึงลักษณะบางประการที่พอจะใช้สันนิษฐานการตั้งถิ่นฐานของชาวโส้ได้ กล่าวคือ กลุ่มที่ออกมาจากน้ำเต้านั้นเริ่มด้วยข่าแจะ ผู้ไทยดำ ลาว พุงขาว ฮ่อ และพวกข่าแจะถือเป็นพี่ใหญ่เพราะออกจากน้ำเต้าปุงก่อนเพื่อน แต่ไม่สู่น้องๆไม่ได้ ที่สามารถตั้งบ้านเรือนทำมาหากินเป็นล่ำสันแต่ข่าแจะไม่มีบ้านเมืองเที่ยวตั้งตูบและกระท่อมอยู่ตามซอกเขาท้ายเขาทำนาข้าวไร่ อาศัยน้ำฝนน้ำค้างปลูกพริก มะเขือ และผักต่างๆ พอเลี้ยงชีวิตหารู้จักปั่นฝ้ายและทอผ้าไม่จึงเก็บข้าวผักต่างๆมาแลกผ้ากับน้องลาว และน้องไทยไปนุ่งห่มบางกลุ่มก็อาศัยกับพวกลาวหรือผู้ไทย จากข้อความดังกล่าวนี้อาจพิจารณาได้ว่าการตั้งเป็นกลุ่มเป็นชุมชนขนาดใหญ่ของพวกชาวโส้นั้น อาจหายากเมื่อเปรียบกับพวกผู้ไทยและจาลักษณะบางประการของชนพวกข่ามักไม่ค่อยออกมาทำมาหากินเผชิญกับสังคมภายนอก ในปัจจุบันตามท้องที่ในจังหวัดนครพนมและสกลนคร ด้วยเหตุนี้เองจึงไม่ปรากฏในเอกสารว่าเมืองของชาวโส้ในบริเวณฝั่งซ้ายนั้นมีเมืองอะไรบ้าง
อย่างไรก็ดีจากการสอบถามชาวโส้ในท้องที่อำเภอกุสุมาลย์และชาวโส้แห่งอื่นๆว่าบรรพบุรุษย้ายมาจากเมืองใด มักได้รับคำตอบว่ามาจากเมืองมหาชัยกองแก้ว โดยเจ้าเมืองยโสธรเป็นผู้ยกกองทัพไปตีเมืองมหาชัยกองแก้ว แต่ชาวโส้จำนวนไม่น้อยกล่าวว่าตนมาจากเมืองอู่เมืองวังหรือเมืองบ้ำ ซึ่งเป็นการยากต่อการสืบค้นชื่อเมืองเหล่านี้ว่าในปัจจุบัน หมายถึงเมืองอะไรนอกจากเมืองวัง ซึ่งหมายถึงเมืองวังในกลุ่มเมืองพิน เมืองนอก เมืองตะโปน
การอพยพเข้าสู่เมืองสกลนคร การที่ชาวโส้ยืนยันว่าบรรพบุรุษของตนเองมาจากเ มือง มหาชัยกองแก้วบ้าง มาจากเมืองบกเมืองวัง เมืองบ้ำเมืองวัง แสดงว่าชนกลุ่มโส้ที่อยู่ในอำเภอกุสุมาลย์นี้มาจากหลายแหล่งและมาหลายรุ่น จากการสอบถามชาวโส้ในกุสุมาลย์จะบอกแหล่งที่มาส่วนใหญ่คือ มหาชัยกองแก้วและกลุ่มเมืองวัง เพื่อการพิจารณาสาเหตุในการอพยพจึงควรกล่าวถึงประวัติของเมืองเหล่านี้ประกอบการสันนิษฐานเรื่องเมืองมหาชัยกองแก้วดังนี้
จากหลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าอนุวงศ์ในด้านการสงครามจะพบว่า กองทัพไทยได้เข้ายึดนครเวียงจันทน์ครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2371 หลังจากนั้นก็กลับมาทำลายนครเวียงจันทน์อีกครั้งหนึ่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2371 ขณะที่ไทยทำสงครามสู้รบกับกองทัพของเจ้าอนุนั้นเจ้าอนุได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากเจ้าจุลนี ( พระพรหมอาษา ) ซึ่งมีฐานะเป็นญาติพี่น้องโดยการแต่งงานให้ลูกชายและลูกสาวเป็นดองซึ่งกันและกัน เมื่อกองทัพไทยยกทัพมาปราบและโจมตีเวียงจันทน์เจ้าอนุได้หลบหนีมาอยู่เมืองมหาชัยกองแก้ว เมื่อกองทัพของพระยาราชสุภาวดียกกองทัพมาตีเมืองมหาชัยกองแก้วเจ้าอนุและเจ้าจุลนีพร้อมด้วยญาติพี่น้องจำนวนหนึ่งก็พากันหลบหนีไปทางเมืองเซ เมืองกะปอม และไปอาศัยในเขตแดนญวน ตัวเจ้าจุลนีได้ขอกำลังจากญวนเข้ายื้อแย่งเมืองมหาชัยกองแก้วจากทหารไทยแต่กองทัพไทยก็ลาดหลบหนีมาตั้งมั่นที่เมืองนครพนมและลงไปยึดเมืองคืนไว้ได้อีก พฤติการณ์ของเจ้าจุลนีแห่งเมืองมหาชัยกองแก้ว ทำให้แม่ทัพไทยไม่พอใจที่เจ้าจุลนีฝักใฝ่ต่อญวนซึ่งคล้ายกับเจ้าอนุจึงกวาดต้อนผู้คนในเมืองมหาชัยกองแก้วซึ่งอาจถือว่าเป็นเมืองใหญ่ เป็นแหล่งที่ชนกลุ่มน้อยเผ่าพันธุ์ต่างๆ รวมอยู่หนาแน่นกว่าแห่งอื่นๆ และกระจายออกไปเป็นบริเวณกว้าง กองทัพไทยได้กวาดต้อนไพร่บ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ไทโส้กุสุมาลย์ประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โส้ ชาวโส้โดยลักษณะของการจัดกลุ่มชาติพันธุ์ของมนุษย์ชาติแล้วก็ถือว่าเป็นกลุ่มมองโกลอยด์ตระกูลออสโตรเอเชียติคมอญ-เขมรชนเผ่าโส้นี้ Frank M. Lebar นักมนุยวิทยาที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งได้จัดชนเผ่าโส้ไว้อยู่ในกลุ่มข่าเช่นเดียวกับพวกกะเลิงและพวกแสกในเอกสารชั้นต้นของไทยเมื่อกล่าวถึงโส้มักจะเรียกว่า "ข่ากระโส้" มากกว่าเรียกว่า "โส้" แสดงให้เห็นถึงการแตกแขนงของพวกข่ามากมายหลายพวกรวมทั้งพวกโส้ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของข่า พันตรีอีริคไซเด็นฟาเดนได้บรรยายลักษณะรูปร่างของชาวโส้ในงานวิจัยภาคสนามที่อำเภอกุฉินารายณ์โดยใช้ตนเองซึ่งเป็นชาวตะวันตกมาเปรียบเทียบตอนหนึ่งว่า "ชาวโส้มีรูปร่างค่อนข้างอ้วนเตี้ยความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1.40 เมตรถึง 1.60 เมตรผู้ชายส่วนมากผอมรูปใบหน้าของพวกโส้เป็นรูปไข่แบนจมูกเล็กไม่โด่งปลายจมูกแบนริมฝีปากมีสีน้ำเงินเข้มและเท่ากันทั้งล่างและบนผู้ชายบางคนปลูกหนวดที่คางแต่บาง ๆ ผมของชาวโส้ยาวประมาณครึ่งนิ้วและออกสีค่อนข้างเหลืองส่วนผมของสตรีจะเป็นลอนโดยธรรมชาติขนตามร่างกายสั้นนิ่มและออกสีค่อนข้างเหลืองนัยตาส่วนที่เป็นสีขาวออกสีเหลืองผิวของชาวโส้ที่อยู่ในร่มเสื้อผ้ามีสีแดงเรื่อ ๆ แต่ส่วนที่อยู่ข้างนอกจะออกสีคล้ำเด็กเล็กๆจะมีจุดสีดำตามผิวหนังแต่จุดนี้จะหายไปเมื่ออายุได้ 31 วันขึ้นไปผู้ชายนิยมสักขาลายจากเหนือเข่าขึ้นไปถึงขาอ่อนผู้หญิงสักที่ท้องและเอวด้วยลวดลายแบบรวงข้าวหรือลายดอกไม้นานาพันธุ์ "เป็นที่น่าสังเกตว่าในปัจจุบันความนิยมในการสักขาลายหรือท้องลายได้เสื่อมสลายไปและหาดูได้ยากในหมู่ชาวโส้ตลอดจนชนเผ่าพันธุ์อื่น ๆ ทั้งนี้เพราะการวิจัยดังกล่าวได้เขียนขึ้นนานถึง 38 ปีแล้ว ความเชื่อของชาวโส้เองก็ยังเชื่อว่าตนเป็นข่าพวกหนึ่งแต่มิใช่ข่าที่ป่าเถื่อนยังมิได้พัฒนา ความเชื่อที่ว่าพวกตนเองเป็นพวกข่านั้นเห็นได้จากประเพณีการลักพาตัวเจ้าสาวซึ่งยังมีเหลืออยู่บ้างในปัจจุบัน ตามแบบในวรรณกรรมเรื่องสินไซหรือสังข์ศิลป์ชัย แม้ว่าวรรณกรรมเรื่องนี้จะมีชนหลายกลุ่มอ้างว่าเป็นของตนแต่ชาวโส้ก็อ้างว่าเป็นวรรณกรรมของพวกอ้ายก๊ก หรือชนพวกแรกที่ออกมาจากน้ำเต้าด้วยการใช้เหล็กเผาไฟไซรูน้ำเต้าการอ้างตนเองว่าเป็นอ้ายก๊กนี้ยัง ปรากฏในนิทานของพวกโส้เรื่องกษัตริย์ อ้ายก๊ก ผู้ที่มีปัญหาและคิดประดิษฐ์ตัวอักษรเพื่อใช้สอนประชาราษฎร์ของพระองค์ให้รู้จักอ่านเขียนหนังสือแต่โชคไม่ดีเมื่อพระองค์ทำสงครามกับศัตรูจนถูกทำร้ายจนสิ้นพระชนม์ในสนามรบ ยิ่งกว่านั้น สุนัขยังเข้าไปในบ้านพระองค์และคาบเอาหนังควายซึ่งบันทึกตัวอักษรไว้ไปกินเสียอีกจึงทำให้ ชาวโส้ไม่มีตัวอักษรขีดเขียนเหลือแต่ภาษาพูดเท่านั้นถิ่นเดิมก่อนอพยพ พงศาวดารเมืองแถงกล่าวถึงลักษณะบางประการที่พอจะใช้สันนิษฐานการตั้งถิ่นฐานของชาวโส้ได้ กล่าวคือ กลุ่มที่ออกมาจากน้ำเต้านั้นเริ่มด้วยข่าแจะ ผู้ไทยดำ ลาว พุงขาว ฮ่อ และพวกข่าแจะถือเป็นพี่ใหญ่เพราะออกจากน้ำเต้าปุงก่อนเพื่อน แต่ไม่สู่น้องๆไม่ได้ ที่สามารถตั้งบ้านเรือนทำมาหากินเป็นล่ำสันแต่ข่าแจะไม่มีบ้านเมืองเที่ยวตั้งตูบและกระท่อมอยู่ตามซอกเขาท้ายเขาทำนาข้าวไร่ อาศัยน้ำฝนน้ำค้างปลูกพริก มะเขือ และผักต่างๆ พอเลี้ยงชีวิตหารู้จักปั่นฝ้ายและทอผ้าไม่จึงเก็บข้าวผักต่างๆมาแลกผ้ากับน้องลาว และน้องไทยไปนุ่งห่มบางกลุ่มก็อาศัยกับพวกลาวหรือผู้ไทย จากข้อความดังกล่าวนี้อาจพิจารณาได้ว่าการตั้งเป็นกลุ่มเป็นชุมชนขนาดใหญ่ของพวกชาวโส้นั้น อาจหายากเมื่อเปรียบกับพวกผู้ไทยและจาลักษณะบางประการของชนพวกข่ามักไม่ค่อยออกมาทำมาหากินเผชิญกับสังคมภายนอก ในปัจจุบันตามท้องที่ในจังหวัดนครพนมและสกลนคร ด้วยเหตุนี้เองจึงไม่ปรากฏในเอกสารว่าเมืองของชาวโส้ในบริเวณฝั่งซ้ายนั้นมีเมืองอะไรบ้าง
อย่างไรก็ดีจากการสอบถามชาวโส้ในท้องที่อำเภอกุสุมาลย์และชาวโส้แห่งอื่นๆว่าบรรพบุรุษย้ายมาจากเมืองใด มักได้รับคำตอบว่ามาจากเมืองมหาชัยกองแก้ว โดยเจ้าเมืองยโสธรเป็นผู้ยกกองทัพไปตีเมืองมหาชัยกองแก้ว แต่ชาวโส้จำนวนไม่น้อยกล่าวว่าตนมาจากเมืองอู่เมืองวังหรือเมืองบ้ำ ซึ่งเป็นการยากต่อการสืบค้นชื่อเมืองเหล่านี้ว่าในปัจจุบัน หมายถึงเมืองอะไรนอกจากเมืองวัง ซึ่งหมายถึงเมืองวังในกลุ่มเมืองพิน เมืองนอก เมืองตะโปน
การอพยพเข้าสู่เมืองสกลนคร การที่ชาวโส้ยืนยันว่าบรรพบุรุษของตนเองมาจากเ มือง มหาชัยกองแก้วบ้าง มาจากเมืองบกเมืองวัง เมืองบ้ำเมืองวัง แสดงว่าชนกลุ่มโส้ที่อยู่ในอำเภอกุสุมาลย์นี้มาจากหลายแหล่งและมาหลายรุ่น จากการสอบถามชาวโส้ในกุสุมาลย์จะบอกแหล่งที่มาส่วนใหญ่คือ มหาชัยกองแก้วและกลุ่มเมืองวัง เพื่อการพิจารณาสาเหตุในการอพยพจึงควรกล่าวถึงประวัติของเมืองเหล่านี้ประกอบการสันนิษฐานเรื่องเมืองมหาชัยกองแก้วดังนี้
จากหลักฐานความสัมพันธ์ระหว่างพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวกับเจ้าอนุวงศ์ในด้านการสงครามจะพบว่า กองทัพไทยได้เข้ายึดนครเวียงจันทน์ครั้งแรกในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2371 หลังจากนั้นก็กลับมาทำลายนครเวียงจันทน์อีกครั้งหนึ่งในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2371 ขณะที่ไทยทำสงครามสู้รบกับกองทัพของเจ้าอนุนั้นเจ้าอนุได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนจากเจ้าจุลนี ( พระพรหมอาษา ) ซึ่งมีฐานะเป็นญาติพี่น้องโดยการแต่งงานให้ลูกชายและลูกสาวเป็นดองซึ่งกันและกัน เมื่อกองทัพไทยยกทัพมาปราบและโจมตีเวียงจันทน์เจ้าอนุได้หลบหนีมาอยู่เมืองมหาชัยกองแก้ว เมื่อกองทัพของพระยาราชสุภาวดียกกองทัพมาตีเมืองมหาชัยกองแก้วเจ้าอนุและเจ้าจุลนีพร้อมด้วยญาติพี่น้องจำนวนหนึ่งก็พากันหลบหนีไปทางเมืองเซ เมืองกะปอม และไปอาศัยในเขตแดนญวน ตัวเจ้าจุลนีได้ขอกำลังจากญวนเข้ายื้อแย่งเมืองมหาชัยกองแก้วจากทหารไทยแต่กองทัพไทยก็ลาดหลบหนีมาตั้งมั่นที่เมืองนครพนมและลงไปยึดเมืองคืนไว้ได้อีก พฤติการณ์ของเจ้าจุลนีแห่งเมืองมหาชัยกองแก้ว ทำให้แม่ทัพไทยไม่พอใจที่เจ้าจุลนีฝักใฝ่ต่อญวนซึ่งคล้ายกับเจ้าอนุจึงกวาดต้อนผู้คนในเมืองมหาชัยกองแก้วซึ่งอาจถือว่าเป็นเมืองใหญ่ เป็นแหล่งที่ชนกลุ่มน้อยเผ่าพันธุ์ต่างๆ รวมอยู่หนาแน่นกว่าแห่งอื่นๆ และกระจายออกไปเป็นบริเวณกว้าง กองทัพไทยได้กวาดต้อนไพร่บ
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ไทโส้ มอญ - เขมรชนเผ่าโส้นี้แฟรงก์เมตร Lebar กะเลิงและพวกแสก "ข่ากระโส้" มากกว่าเรียกว่า "โส้" ไซเด็นฟาเดน โดยใช้ตนเองซึ่งเป็นชาวตะวันตกมาเปรียบเทียบตอนหนึ่งว่า "ชาวโส้มีรูปร่างค่อนข้างอ้วนเตี้ยความสูงโดยเฉลี่ยประมาณ 1.40 เมตรถึง 1.60 เมตร แบนจมูกเล็กไม่โด่งปลายจมูกแบน ส่วนผมของสตรีจะเป็นลอนโดยธรรมชาติขนตามร่างกายสั้นนิ่มและออกสีค่อนข้างเหลือง แต่ส่วนที่อยู่ข้างนอกจะออกสีคล้ำเด็กเล็ก ๆ จะมีจุดสีดำตามผิวหนัง แต่จุดนี้จะหายไปเมื่ออายุได้ 31 วันขึ้นไป "เป็นที่น่าสังเกตว่าในปัจจุบัน 38 อ้ายก๊ก ยิ่งกว่านั้น กล่าวคือ ผู้ไทยดำลาวพุงขาวฮ่อ แต่ไม่สู่น้องๆไม่ได้ อาศัยน้ำฝนน้ำค้างปลูกพริกมะเขือและผักต่างๆ หมายถึงเมืองอะไรนอกจากเมืองวัง เมืองนอก มืองมหาชัยกองแก้วบ้างมาจากเมืองบกเมืองวังเมืองบ้ำเมืองวัง มหาชัยกองแก้วและกลุ่มเมืองวัง พ.ศ. 2371 พ.ศ. 2371 (พระพรหมอาษา) เมืองกะปอมและไปอาศัยในเขตแดนญวน รวมอยู่หนาแน่นกว่าแห่งอื่น ๆ และกระจายออกไปเป็นบริเวณกว้างกองทัพไทยได้กวาดต้อนไพร่บ







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ไทโส้กุสุมาลย์

ชาวโส้โดยลักษณะของการจัดกลุ่มชาติพันธุ์ของมนุษย์ชาติแล้วประวัติศาสตร์ของกลุ่มชาติพันธุ์โส้ก็ถือว่าเป็นกลุ่มมองโกลอยด์ตระกูลออสโตรเอเชียติคมอญ - เขมรชนเผ่าโส้นี้แฟรงค์ เอ็มลีบาร์นักมนุยวิทยาที่มีชื่อเสียงคนหนึ่งได้จัดชนเผ่าโส้ไว้อยู่ในกลุ่มข่าเช่นเดียวกับพวกกะเลิงและพวกแสกในเอกสารชั้นต้นของไทยเมื่อกล่าวถึงโส้มักจะเรียกว่า " ข่ากระโส้ " มากกว่าเรียกว่า " โส้ "
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: