การโป๊อย่างมีศิลปะ มีมาตั้งแต่ยุคโบราณ มาจนถึงปัจจุบัน Nude เป็นที่ยอม การแปล - การโป๊อย่างมีศิลปะ มีมาตั้งแต่ยุคโบราณ มาจนถึงปัจจุบัน Nude เป็นที่ยอม ไทย วิธีการพูด

การโป๊อย่างมีศิลปะ มีมาตั้งแต่ยุคโบ

การโป๊อย่างมีศิลปะ มีมาตั้งแต่ยุคโบราณ มาจนถึงปัจจุบัน Nude เป็นที่ยอมรับต่อสังคมโลก เกือบจะทั่วโลก
Nude ไม่ใช่เรื่องลามก หรือ อนาจาร และไม่ผิดกฏหมาย รวมถึงกฏหมาย IT
บ้างก็ว่า คำว่านู๊ดกับโป๊นั้นมีเส้นกั้นเพียงบางๆ แต่บ้างก็ว่า นู๊ดกับโป๊มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
สำหรับผมเรียนจบมาจากเพาะช่าง เคยวาดภาพศิลปะประเภทนี้มามาก
ศิลปะมีข้อแตกต่างกับกับคำว่าโป้ โดยสิ้นเชิง คำว่าโป้ คือเปลือยอย่างไม่มีศิลปะ เช่นแต่งตัวโป้ นุ่งกระโปงสั้นมากๆ ใส่เสื้อเปิดอกลึก ไปจนถึงการเปลือยกาย
คำว่าอนาจาร คือการเปลือยกายในที่สาธารณะ โดยตั้งใจที่จะเปิดเผยให้ผู้ือื่นได้เห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อสังคม
คำว่าลามก คือการจงใจที่จะกระทำพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม ต่อบุคคลที่ 2 และต่อสาธารณะ ซึ่งขัดต่อวัฒนธรรม ประเภณี
ทั้งนี้ทั้งนั้นสรุปแล้วโดยรวมก็ให้ความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า .. นู๊ดหรือภาพเปลือยเชิงศิลปะนั้น
ไม่สามารถกระตุ้นอารมณ์ทางเพศได้หาก แต่ทำให้เกิดความเคลิบเคลิ้มในความงดงามอ่อนช้อย
ของเส้นเว้าเส้นโค้งบนเรือนร่าง
ส่วน ..โป๊ แต่เป็นโป๊โดยเจตนาชัดที่จะให้ผู้อื่นได้เห็น คือเรียกร้องความสนใจ และสื่อให้เกิดความรู้สึกทางเพศ
ไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตาม
ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องโป๊ๆ ก็คงจะทำมาหากินต่อไปได้ และนู๊ดกับโป๊ที่มีความแตกต่างก็จะยังคงถูกบิดเบือนความหมายกันต่อไป
ด้วยเส้นกั้นที่มีอยู่ และเราเองควรจะต้องเป็นผู้ขีดย้ำมิใช่ให้ใครมากล่อม หรือชี้นำว่าโป๊หรือไม่โป๊ เซ็กส์หรือศิลปะ
การเปลือยร่างในสังคมมนุษย์
สังคม ไทยในปัจจุบันกำลังตกอยู่ในสภาวะ “ตื่นกลัว” การเปลือยร่างของผู้หญิง และผู้ชายต่อสาธารณะ โดยเฉพาะภาพเปลือยที่เปิดเผยร่างกายของนายแบบและนางแบบในนิตยสารแฟชั่นหลาย ฉบับ ผู้ปกครอง นักการเมือง และนักอนุรักษ์นิยมขวาจัดลุกขึ้นมาต่อต้าน ประณาม และลงโทษบุคคลทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการเปลือยร่างในธุรกิจแฟชั่น ผู้ที่ตกเป็นจำเลยของสังคมทุกวันนี้คือ ปัจเจกบุคคล ที่กล้าเปิดเผยเรือนร่าง รวมทั้งบุคคลที่สนับสนุนให้มีการเปลือยร่างทั้งหลาย
เราจะอธิบาย ปรากฏการณ์เหล่านี้อย่างไร สังคมไทยต้องการสร้างระบบศีลธรรมต่อเรื่องนี้อย่างไร สิ่งเหล่านี้ถูกผิดหรือไม่ และเราถูกทำให้เชื่อว่าภาพเปลือยคือความเลว และนำไปสู่หุบเหวของการกามารมณ์ใช่หรือไม่ การเปลือยร่างในสังคมบริโภคนิยม ถูกทำให้เป็นสินค้าหรือไม่ บุคคลที่เปลือยร่างเลวกว่าคนทั่วไปหรือไม่ คนไทยมีวิธีคิดต่อร่างกายอย่างไร
คำถามเหล่านี้ ต้องการคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจว่า การเปลือยร่างในสังคมมนุษย์ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ หากแต่มีอยู่ในสังคมมานานแล้วตั้งแต่ที่มนุษย์ยังเร่ร่อนหากินในธรรมชาติจวบ จนถึงยุคเทคโนโลยีดิจิตอล
นักมานุษยวิทยาได้ศึกษาเปรียบเทียบวิธีคิดของมนุษย์ในหลายวัฒนธรรมเพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า
มนุษย์ ปฏิบัติต่อร่างกายของตนเองอย่างไร ตั้งแต่สังคมชนเผ่า ไปจนถึงสังคมเมืองที่ซับซ้อน ในหลายกรณีการเปิดเผยร่างกายเกิดขึ้นในสภาวะพิเศษ มีลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์ ในสังคมชนเผ่าในแอฟริกาและหมู่เกาะแปซิฟิก มนุษย์อาจมีการตกแต่งเรือนร่างด้วยการเขียนลวดลาย หรือประดับด้วยกิ่งไม้ ใบไม้ ในสังคมตะวันตก การเปลือยร่างอาจขึ้นอยู่กับยุคสมัย ยุคหนึ่งอาจเป็นความงดงาม อีกยุคหนึ่งอาจเป็นความอนาจาร ยุคหนึ่งศาสนาอาจเข้ามานิยามคุณค่าของร่างกาย ต่อมาวิทยาศาสตร์การแพทย์อาจเข้ามาให้คุณค่าใหม่ ดังนั้นวิธีคิดเกี่ยวกับเรือนร่างจึงเปลี่ยนแปลงมาตามลำดับ
ตัวอย่าง ในสังคมชนเผ่า Yanomami ในลุ่มน้ำอะเมซอน การเปลือยกายของชายหญิงเป็นเรื่องปกติ ผู้หญิงอาจเปลือยท่อนบน และอาจใช้ผ้าปกปิดอวัยวะเพศเล็กน้อย ชายหญิงในเผ่า Yanomami นิยมการเขียนลวดลายบนใบหน้า ลำตัว แขนและขา ดังนั้นการเปลือยร่างจึงเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับการสร้างสรรค์งานศิลปะบน เรือนร่าง เมื่อชาว Yanomami ติดต่อกับโลกภายนอก การสวมเสื้อผ้าจึงเกิดขึ้น ความรู้สึกอายต่อการเปิดเผยเรือนร่างเป็นเรื่องทางวัฒนธรรม
นัก มนุษยวิทยาพบว่าสังคมตะวันตกจะมีแนวคิดเรื่องความอาย เพราะถูกศาสนาเข้ามาควบคุม ในสังคมตะวันตกจึงมีการควบคุมร่างกายมนุษย์อย่างเข้มงวด ในขณะเดียวกันก็มีผู้ลุกขึ้นมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อการ เปลือยร่าง เช่น ในช่วงทศวรรษที่ 60 กลุ่มหนุ่มสาวรุ่นใหม่ออกมาจัดงานเปลือยกาย อาจกล่าวได้ว่าการออกมาประณามการเปลือยกายเกิดขึ้นเฉพาะบางสังคมที่คิดว่า เรื่องการเปลือยกายเป็นสิ่งผิดศีลธรรม
บทความของ Corey Mangold อาจทำให้เรามองเห็นประวัติศาสตร์ และพัฒนาการของการเปลือยกายในสังคมตะวันตก และอาจนำมาเปรียบเทียบกับสังคมไทย เพื่อที่จะทำให้เรากลับมาทบทวนว่า วิธีคิดต่อเรือนร่างในวัฒนธรรมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาอย่างไรบ้าง
ศิลปะการถ่ายภาพ
ภาพสาวสวยในชุด บีกินนี่ เป็นภาพค่อนข้างโป้สำหรัีบความคิดของคนหัวโบราณ
แต่หากใช้ศิลปะของการถ่ายภาพ คือเทคนิคการถ่ายภาพผู้หญิงให้มีศิลปะ ให้ดูงดงาม และไม่ให้สื่อออกไปทางลามก
ภาพเหล่านั้นก็จะดูเป็นภาพศิลปะชนิดหนึ่ง ที่เรียกกันว่า ศิลปะการถ่ายภาพ
อาจจะเป็นชุดนอนแบบสบายๆชิวๆ หรือเจตนาในการยั่วยวนใจสามีก็เป็นได้
แต่การถ่ายภาพนี้ เน้นแสดงให้เห็นว่าจัดอยู่ในประเภท ภาพศิลปะ แล้วคุณว่ามันเป็นศิลปแบบไหนละ
ภาพแบบนี้ก็คือ ศิลปะการถ่ายภาพ อาจจะใช้ในไปในทางโฆษณาสินค้า ประเภทชุดชันใน หรือชุดนอนที่สุดแสนจะเซ็กส์ซี่
จะเห็นได้ว่ามีการจัดท่วงท่าที่ลงตัว เน้นความงดงามของร่างกายผู้หญิง บวกกับชุดเสื้อผ้าที่ต้องการโปรโมดสินค้า
ซึ่งเมื่อมองไปแล้วจะพบว่า ไม่ได้เน้นไปทางลามก หรือ อนาจารแต่อย่างใด
การมองภาพเหล่านี้ จึงต้องแยกแยะให้ออกว่า เป็นภาพชนิดใหน และต้องการจะสื่อไปในทางใดได้บ้าง
สำหรับภาพ สาววัยรุ่นดูโป๊ในชุดชั้นใน มีจักรยานเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นภาพที่ดูแล้วลงตัวในความน่ารักแบบสดใสวัยทีน
ถึงแม้จะจงใจจับสาววัยทีนมาเปลือยให้ดูเหมือนโป๊ เหลือแต่ชุดชั้นใน แต่เมื่อมองดูแล้วก็ไม่สามารถหาจุดไหนที่จะบ่งบอกได้เลยว่า มีสิ่งใดที่สื่อออกไปทางลามก อนาจาร เช่นการจัดท่วงท่า การโพสท่าทาง การแสดงอารมณ์ และสายตาซึ่งดูแล้วใสซื่อแบบไร้เดียงสา
และนี้ก็คือ ศิลปะการถ่ายภาพ หรือเทคนิคในการถ่ายภาพ
หลักการพิจารณาศิลปะกับอนาจาร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
เกือบจะทั่วโลกการโป๊อย่างมีศิลปะมีมาตั้งแต่ยุคโบราณมาจนถึงปัจจุบันเป็นที่ยอมรับต่อสังคมโลกเปลือย ไม่ใช่เรื่องลามกเปลือยหรืออนาจารและไม่ผิดกฏหมายรวมถึงกฏหมายมันบ้างก็ว่าคำว่านู๊ดกับโป๊นั้นมีเส้นกั้นเพียงบาง ๆ แต่บ้างก็ว่านู๊ดกับโป๊มีความแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง สำหรับผมเรียนจบมาจากเพาะช่างเคยวาดภาพศิลปะประเภทนี้มามาก ศิลปะมีข้อแตกต่างกับกับคำว่าโป้โดยสิ้นเชิงคำว่าโป้คือเปลือยอย่างไม่มีศิลปะเช่นแต่งตัวโป้นุ่งกระโปงสั้นมาก ๆ ใส่เสื้อเปิดอกลึกไปจนถึงการเปลือยกาย คำว่าอนาจารคือการเปลือยกายในที่สาธารณะโดยตั้งใจที่จะเปิดเผยให้ผู้ือื่นได้เห็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมต่อสังคม คำว่าลามกคือการจงใจที่จะกระทำพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสมต่อบุคคลที่ 2 และต่อสาธารณะซึ่งขัดต่อวัฒนธรรมประเภณีทั้งนี้ทั้งนั้นสรุปแล้วโดยรวมก็ให้ความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกันว่า... นู๊ดหรือภาพเปลือยเชิงศิลปะนั้นไม่สามารถกระตุ้นอารมณ์ทางเพศได้หากแต่ทำให้เกิดความเคลิบเคลิ้มในความงดงามอ่อนช้อยของเส้นเว้าเส้นโค้งบนเรือนร่าง ส่วน... โป๊แต่เป็นโป๊โดยเจตนาชัดที่จะให้ผู้อื่นได้เห็นคือเรียกร้องความสนใจและสื่อให้เกิดความรู้สึกทางเพศไม่ว่าจะมากหรือน้อยก็ตามธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเรื่องโป๊ ๆ ก็คงจะทำมาหากินต่อไปได้และนู๊ดกับโป๊ที่มีความแตกต่างก็จะยังคงถูกบิดเบือนความหมายกันต่อไปด้วยเส้นกั้นที่มีอยู่และเราเองควรจะต้องเป็นผู้ขีดย้ำมิใช่ให้ใครมากล่อมหรือชี้นำว่าโป๊หรือไม่โป๊เซ็กส์หรือศิลปะการเปลือยร่างในสังคมมนุษย์สังคม ไทยในปัจจุบันกำลังตกอยู่ในสภาวะ “ตื่นกลัว” การเปลือยร่างของผู้หญิง และผู้ชายต่อสาธารณะ โดยเฉพาะภาพเปลือยที่เปิดเผยร่างกายของนายแบบและนางแบบในนิตยสารแฟชั่นหลาย ฉบับ ผู้ปกครอง นักการเมือง และนักอนุรักษ์นิยมขวาจัดลุกขึ้นมาต่อต้าน ประณาม และลงโทษบุคคลทั้งหลายที่เกี่ยวข้องกับการเปลือยร่างในธุรกิจแฟชั่น ผู้ที่ตกเป็นจำเลยของสังคมทุกวันนี้คือ ปัจเจกบุคคล ที่กล้าเปิดเผยเรือนร่าง รวมทั้งบุคคลที่สนับสนุนให้มีการเปลือยร่างทั้งหลายเราจะอธิบายปรากฏการณ์เหล่านี้อย่างไรสังคมไทยต้องการสร้างระบบศีลธรรมต่อเรื่องนี้อย่างไรสิ่งเหล่านี้ถูกผิดหรือไม่และเราถูกทำให้เชื่อว่าภาพเปลือยคือความเลวและนำไปสู่หุบเหวของการกามารมณ์ใช่หรือไม่การเปลือยร่างในสังคมบริโภคนิยมถูกทำให้เป็นสินค้าหรือไม่บุคคลที่เปลือยร่างเลวกว่าคนทั่วไปหรือไม่คนไทยมีวิธีคิดต่อร่างกายอย่างไรคำถามเหล่านี้ต้องการคำอธิบายเพื่อทำความเข้าใจว่าการเปลือยร่างในสังคมมนุษย์ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่หากแต่มีอยู่ในสังคมมานานแล้วตั้งแต่ที่มนุษย์ยังเร่ร่อนหากินในธรรมชาติจวบจนถึงยุคเทคโนโลยีดิจิตอลนักมานุษยวิทยาได้ศึกษาเปรียบเทียบวิธีคิดของมนุษย์ในหลายวัฒนธรรมเพื่อที่จะทำความเข้าใจว่า มนุษย์ ปฏิบัติต่อร่างกายของตนเองอย่างไร ตั้งแต่สังคมชนเผ่า ไปจนถึงสังคมเมืองที่ซับซ้อน ในหลายกรณีการเปิดเผยร่างกายเกิดขึ้นในสภาวะพิเศษ มีลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์ ในสังคมชนเผ่าในแอฟริกาและหมู่เกาะแปซิฟิก มนุษย์อาจมีการตกแต่งเรือนร่างด้วยการเขียนลวดลาย หรือประดับด้วยกิ่งไม้ ใบไม้ ในสังคมตะวันตก การเปลือยร่างอาจขึ้นอยู่กับยุคสมัย ยุคหนึ่งอาจเป็นความงดงาม อีกยุคหนึ่งอาจเป็นความอนาจาร ยุคหนึ่งศาสนาอาจเข้ามานิยามคุณค่าของร่างกาย ต่อมาวิทยาศาสตร์การแพทย์อาจเข้ามาให้คุณค่าใหม่ ดังนั้นวิธีคิดเกี่ยวกับเรือนร่างจึงเปลี่ยนแปลงมาตามลำดับตัวอย่าง ในสังคมชนเผ่า Yanomami ในลุ่มน้ำอะเมซอน การเปลือยกายของชายหญิงเป็นเรื่องปกติ ผู้หญิงอาจเปลือยท่อนบน และอาจใช้ผ้าปกปิดอวัยวะเพศเล็กน้อย ชายหญิงในเผ่า Yanomami นิยมการเขียนลวดลายบนใบหน้า ลำตัว แขนและขา ดังนั้นการเปลือยร่างจึงเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับการสร้างสรรค์งานศิลปะบน เรือนร่าง เมื่อชาว Yanomami ติดต่อกับโลกภายนอก การสวมเสื้อผ้าจึงเกิดขึ้น ความรู้สึกอายต่อการเปิดเผยเรือนร่างเป็นเรื่องทางวัฒนธรรม
นัก มนุษยวิทยาพบว่าสังคมตะวันตกจะมีแนวคิดเรื่องความอาย เพราะถูกศาสนาเข้ามาควบคุม ในสังคมตะวันตกจึงมีการควบคุมร่างกายมนุษย์อย่างเข้มงวด ในขณะเดียวกันก็มีผู้ลุกขึ้นมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกเพื่อการ เปลือยร่าง เช่น ในช่วงทศวรรษที่ 60 กลุ่มหนุ่มสาวรุ่นใหม่ออกมาจัดงานเปลือยกาย อาจกล่าวได้ว่าการออกมาประณามการเปลือยกายเกิดขึ้นเฉพาะบางสังคมที่คิดว่า เรื่องการเปลือยกายเป็นสิ่งผิดศีลธรรม
บทความของ Corey Mangold อาจทำให้เรามองเห็นประวัติศาสตร์ และพัฒนาการของการเปลือยกายในสังคมตะวันตก และอาจนำมาเปรียบเทียบกับสังคมไทย เพื่อที่จะทำให้เรากลับมาทบทวนว่า วิธีคิดต่อเรือนร่างในวัฒนธรรมไทยมีการเปลี่ยนแปลงมาอย่างไรบ้าง
ศิลปะการถ่ายภาพ
ภาพสาวสวยในชุด บีกินนี่ เป็นภาพค่อนข้างโป้สำหรัีบความคิดของคนหัวโบราณ
แต่หากใช้ศิลปะของการถ่ายภาพ คือเทคนิคการถ่ายภาพผู้หญิงให้มีศิลปะ ให้ดูงดงาม และไม่ให้สื่อออกไปทางลามก
ภาพเหล่านั้นก็จะดูเป็นภาพศิลปะชนิดหนึ่ง ที่เรียกกันว่า ศิลปะการถ่ายภาพ
อาจจะเป็นชุดนอนแบบสบายๆชิวๆ หรือเจตนาในการยั่วยวนใจสามีก็เป็นได้
แต่การถ่ายภาพนี้ เน้นแสดงให้เห็นว่าจัดอยู่ในประเภท ภาพศิลปะ แล้วคุณว่ามันเป็นศิลปแบบไหนละ
ภาพแบบนี้ก็คือ ศิลปะการถ่ายภาพ อาจจะใช้ในไปในทางโฆษณาสินค้า ประเภทชุดชันใน หรือชุดนอนที่สุดแสนจะเซ็กส์ซี่
จะเห็นได้ว่ามีการจัดท่วงท่าที่ลงตัว เน้นความงดงามของร่างกายผู้หญิง บวกกับชุดเสื้อผ้าที่ต้องการโปรโมดสินค้า
ซึ่งเมื่อมองไปแล้วจะพบว่า ไม่ได้เน้นไปทางลามก หรือ อนาจารแต่อย่างใด
การมองภาพเหล่านี้ จึงต้องแยกแยะให้ออกว่า เป็นภาพชนิดใหน และต้องการจะสื่อไปในทางใดได้บ้าง
สำหรับภาพ สาววัยรุ่นดูโป๊ในชุดชั้นใน มีจักรยานเป็นองค์ประกอบหลัก เป็นภาพที่ดูแล้วลงตัวในความน่ารักแบบสดใสวัยทีน
ถึงแม้จะจงใจจับสาววัยทีนมาเปลือยให้ดูเหมือนโป๊ เหลือแต่ชุดชั้นใน แต่เมื่อมองดูแล้วก็ไม่สามารถหาจุดไหนที่จะบ่งบอกได้เลยว่า มีสิ่งใดที่สื่อออกไปทางลามก อนาจาร เช่นการจัดท่วงท่า การโพสท่าทาง การแสดงอารมณ์ และสายตาซึ่งดูแล้วใสซื่อแบบไร้เดียงสา
และนี้ก็คือ ศิลปะการถ่ายภาพ หรือเทคนิคในการถ่ายภาพ
หลักการพิจารณาศิลปะกับอนาจาร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
การโป๊อย่างมีศิลปะมีมาตั้งแต่ยุคโบราณมาจนถึงปัจจุบันเปลือยเป็นที่ยอมรับต่อสังคมโลกเกือบจะทั่วโลกเปลือยไม่ใช่เรื่องลามกหรืออนาจารและไม่ผิดกฏหมายรวมถึงกฏหมายไอทีบ้างก็ว่า แต่บ้างก็ว่า คำสิ้นเชิงโดยว่าได้คือโป้เปลือยอย่างไม่มีศิลปะเช่นแต่งตัวโป้นุ่งกระโปงสั้นมาก ๆ ใส่เสื้อเปิดอกลึกไปจนถึงหัวเรื่อง: การเปลือยกายคำว่าได้อนาจารคือหัวเรื่อง: การเปลือยกายในที่สาธารณะ ต่อบุคคลที่ 2 และต่อสาธารณะซึ่งขัดต่อวัฒนธรรม .. .. โป๊ คือเรียกร้องความสนใจ ก็คงจะทำมาหากินต่อไปได้ หรือชี้นำว่าโป๊หรือไม่โป๊ ไทยในปัจจุบันกำลังตกอยู่ในสภาวะ "ตื่นกลัว" การเปลือยร่างของผู้หญิงและผู้ชายต่อสาธารณะ ฉบับผู้ปกครองนักการเมือง ประณาม ปัจเจกบุคคลที่กล้าเปิดเผยเรือนร่าง ปรากฏการณ์เหล่านี้อย่างไร สิ่งเหล่านี้ถูกผิดหรือไม่ การเปลือยร่างในสังคมบริโภคนิยมถูกทำให้เป็นสินค้าหรือไม่ ปฏิบัติต่อร่างกายของตนเองอย่างไรตั้งแต่สังคมชนเผ่าไปจนถึงสังคมเมืองที่ซับซ้อน มีลักษณะของความศักดิ์สิทธิ์ หรือประดับด้วยกิ่งไม้ใบไม้ในสังคมตะวันตก ยุคหนึ่งอาจเป็นความงดงามอีกยุคหนึ่งอาจเป็นความอนาจาร ในสังคมชนเผ่า Yanomami ในลุ่มน้ำอะเมซอน ผู้หญิงอาจเปลือยท่อนบน ชายหญิงในเผ่า Yanomami นิยมการเขียนลวดลายบนใบหน้าลำตัวแขนและขา เรือนร่างเมื่อชาว Yanomami ติดต่อกับโลกภายนอกการสวมเสื้อผ้าจึงเกิดขึ้น เพราะถูกศาสนาเข้ามาควบคุม เปลือยร่างเช่นในช่วงทศวรรษที่ 60 คอเรย์ Mangold อาจทำให้เรามองเห็นประวัติศาสตร์ และอาจนำมาเปรียบเทียบกับสังคมไทยเพื่อที่จะทำให้เรากลับมาทบทวนว่า บีกินนี่ ให้ดูงดงาม ที่เรียกกันว่า เน้นแสดงให้เห็นว่าจัดอยู่ในประเภทภาพศิลปะ ศิลปะการถ่ายภาพอาจจะใช้ในไปในทางโฆษณาสินค้าประเภทชุดชันใน เน้นความงดงามของร่างกายผู้หญิง ได้เน้นไม่ไปทางลามกอนาจารหรือ แต่อย่างใดหัวเรื่อง: การมองภาพเหล่านี้จึงคุณต้องแยกแยะให้ออกว่าได้เป็นภาพชนิดใหน สาววัยรุ่นดูโป๊ในชุดชั้นในมีจักรยานเป็นองค์ประกอบหลัก เหลือ แต่ชุดชั้นใน มีสิ่งใดที่สื่อออกไปทางลามกอนาจารเช่นการจัดท่วงท่าการโพสท่าทางการแสดงอารมณ์ ศิลปะการถ่ายภาพ



































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: