ภาษาไทยกำเนิดแบบอักษรไทย  ท่านผู้รู้นักประวัติศาสตร์หลายท่าน คาดกันว่า การแปล - ภาษาไทยกำเนิดแบบอักษรไทย  ท่านผู้รู้นักประวัติศาสตร์หลายท่าน คาดกันว่า ไทย วิธีการพูด

ภาษาไทยกำเนิดแบบอักษรไทย ท่านผู้รู

ภาษาไทย
กำเนิดแบบอักษรไทย
ท่านผู้รู้นักประวัติศาสตร์หลายท่าน คาดกันว่า เริ่มจากแบบอักษรคฤนถ์ของอินเดียใต้ ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นอักษรขอม อักษรขอมนี้นำมาเขียนภาษาบาลี สันสกฤตได้สะดวก แต่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงเห็นว่าการนำมาเขียนเป็นภาษาไทยนั้นไม่สะดวก เพราะไม่มีวรรณยุกต์เป็นเครื่องหมายกำหนดเสียงสูงต่ำและมีสระน้อย ไม่เพียงพอจะเขียนภาษาไทยได้ตามต้องการ พระองค์จึงทรงมีพระราชดำริแก้ไขแบบอักษรเสียใหม่ให้เป็นลักษณะอักษรไทย (ซึ่งถ้าสังเกตถ้อยคำในศิลาจารึก จะเห็นคำว่า "นี้" อยู่ต่อคำว่า "ลายสือ" ทุกแห่ง คงจะมีความหมายว่าตัวอักษรแบบนี้ยังไม่เคยมี) พระองค์ทรงแก้รูปตัวอักษรให้เขียนได้รวดเร็วกว่าอักษรขอม ทั้งสระและพยัญชนะก็จะเขียนอยู่ในบรรทัดเดียวกัน
แม้ว่าพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจะมิได้เป็นผู้ทรงประดิษฐ์รูปอักษรขึ้นโดยพระองค์เองก็ตาม (๑) การที่พระองค์ทรงแก้ไขตัวอักษรเสียใหม่ในสมัยกรุงสุโขทัยนั้น นับเป็นการสำคัญ เป็นการพัฒนาต่อยอดทางความคิด คือ การนำภูมิความรู้ทั้งหลายที่มีอยู่เดิมในขณะนั้นมาพัฒนาให้เกิดความเหมาะสม ให้มีความสะดวกในการจารึกและอ่าน อีกทั้งเสียงที่ใช้นั้นก็มีความครบถ้วนตามลักษณะเสียงที่ใช้ในภาษาไทย สิ่งนี้นับเป็นคุณประโยชน์อย่างมหาศาล เป็นวิวัฒนาการ อันทำให้เกิดความเจริญก้าวหน้าทางความรู้และวิทยาการในสมัยนั้นเป็นอย่างยิ่ง แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยะภาพในเชิงภาษาศาสตร์และความเป็นนักปราชญ์ของพระองค์
ครั้นล่วงรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้ว จะเป็นระยะเวลานานเท่าใดไม่ปรากฏแน่ชัด มีผู้แก้ไขกลับไปใช้คุณลักษณะบางอย่างตามแบบหนังสือขอม ซึ่งมีสระอยู่ข้างหน้าพยัญชนะบ้าง อยู่ข้างหลังพยัญชนะบ้าง อย่างเช่นใช้ในแบบหนังสือไทยมาจนทุกวันนี้
ตัวอักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงคิดค้นขึ้นนี้ ได้มีผู้นำไปใช้กันแพร่หลายต่อไปในประเทศใกล้เคียงในสมัยนั้น เช่น ในล้านช้าง ล้านนา และประเทศข้างฝ่ายใต้ของอาณาจักรสุโขทัย คือ กรุงศรีอยุธยา




ลักษณะของตัวอักษรไทย

สระ ๒๐ ตัว

วรรณยุกต์ ๒ รูป ตัวเลข ๖ ตัว
พยัญชนะ ๓๙ ตัว
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาไทย
กำเนิดแบบอักษรไทย
ท่านผู้รู้นักประวัติศาสตร์หลายท่านคาดกันว่าเริ่มจากแบบอักษรคฤนถ์ของอินเดียใต้ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นอักษรขอมอักษรขอมนี้นำมาเขียนภาษาบาลีสันสกฤตได้สะดวก เพราะไม่มีวรรณยุกต์เป็นเครื่องหมายกำหนดเสียงสูงต่ำและมีสระน้อยไม่เพียงพอจะเขียนภาษาไทยได้ตามต้องการพระองค์จึงทรงมีพระราชดำริแก้ไขแบบอักษรเสียใหม่ให้เป็นลักษณะอักษรไทย (ซึ่งถ้าสังเกตถ้อยคำในศิลาจารึก "นี้" อยู่ต่อคำว่า "ลายสือ" ทุกแห่งคงจะมีความหมายว่าตัวอักษรแบบนี้ยังไม่เคยมี) พระองค์ทรงแก้รูปตัวอักษรให้เขียนได้รวดเร็วกว่าอักษรขอมทั้งสระและพยัญชนะก็จะเขียนอยู่ในบรรทัดเดียวกัน
คือ (๑) แม้ว่าพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจะมิได้เป็นผู้ทรงประดิษฐ์รูปอักษรขึ้นโดยพระองค์เองก็ตามการที่พระองค์ทรงแก้ไขตัวอักษรเสียใหม่ในสมัยกรุงสุโขทัยนั้นนับเป็นการสำคัญเป็นการพัฒนาต่อยอดทางความคิด ให้มีความสะดวกในการจารึกและอ่านอีกทั้งเสียงที่ใช้นั้นก็มีความครบถ้วนตามลักษณะเสียงที่ใช้ในภาษาไทยสิ่งนี้นับเป็นคุณประโยชน์อย่างมหาศาลเป็นวิวัฒนาการ แสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยะภาพในเชิงภาษาศาสตร์และความเป็นนักปราชญ์ของพระองค์
ครั้นล่วงรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้วจะเป็นระยะเวลานานเท่าใดไม่ปรากฏแน่ชัดมีผู้แก้ไขกลับไปใช้คุณลักษณะบางอย่างตามแบบหนังสือขอมซึ่งมีสระอยู่ข้างหน้าพยัญชนะบ้างอยู่ข้างหลังพยัญชนะบ้าง
ตัวอักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงคิดค้นขึ้นนี้ได้มีผู้นำไปใช้กันแพร่หลายต่อไปในประเทศใกล้เคียงในสมัยนั้นเช่นในล้านช้างล้านนาและประเทศข้างฝ่ายใต้ของอาณาจักรสุโขทัยคือกรุงศรีอยุธยา


ลักษณะของตัวอักษรไทย

สระ ๒๐ ตัว

วรรณยุกต์ ๒ รูปตัวเลข ๖ ตัว
พยัญชนะ ๓๙ ตัว
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
คาดกันว่า ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นอักษรขอมอักษรขอมนี้นำมาเขียนภาษาบาลีสันสกฤตได้สะดวก (ซึ่งถ้าสังเกตถ้อยคำในศิลาจารึกจะเห็นทุกแห่งคำว่า "นี้" อยู่ต่อคำว่า "ลายสือ" (1) นับเป็นการสำคัญเป็นการพัฒนาต่อยอดทางความคิดคือ ให้มีความสะดวกในการจารึกและอ่าน เป็นวิวัฒนาการ ซึ่งมีสระอยู่ข้างหน้าพยัญชนะบ้างอยู่ข้างหลังพยัญชนะบ้าง เช่นในล้านช้างล้านนา คือ 20 ตัววรรณยุกต์ 2 รูปตัวเลข 6 ตัว คนกับควาย 39 ตัว















การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ภาษาไทย

กำเนิดแบบอักษรไทยท่านผู้รู้นักประวัติศาสตร์หลายท่านคาดกันว่าเริ่มจากแบบอักษรคฤนถ์ของอินเดียใต้ได้ถูกนำมาดัดแปลงเป็นอักษรขอมอักษรขอมนี้นำมาเขียนภาษาบาลีสันสกฤตได้สะดวกเพราะไม่มีวรรณยุกต์เป็นเครื่องหมายกำหนดเสียงสูงต่ำและมีสระน้อยไม่เพียงพอจะเขียนภาษาไทยได้ตามต้องการพระองค์จึงทรงมีพระราชดำริแก้ไขแบบอักษรเสียใหม่ให้เป็นลักษณะอักษรไทย ( ซึ่งถ้าสังเกตถ้อยคำในศิลาจารึก" นี้ " อยู่ต่อคำว่า " ลายสือ " ทุกแห่งคงจะมีความหมายว่าตัวอักษรแบบนี้ยังไม่เคยมี ) พระองค์ทรงแก้รูปตัวอักษรให้เขียนได้รวดเร็วกว่าอักษรขอมทั้งสระและพยัญชนะก็จะเขียนอยู่ในบรรทัดเดียวกัน
แม้ว่าพ่อขุนรามคำแหงมหาราชจะมิได้เป็นผู้ทรงประดิษฐ์รูปอักษรขึ้นโดยพระองค์เองก็ตาม ( ๑ ) การที่พระองค์ทรงแก้ไขตัวอักษรเสียใหม่ในสมัยกรุงสุโขทัยนั้นนับเป็นการสำคัญเป็นการพัฒนาต่อยอดทางความคิดความให้มีความสะดวกในการจารึกและอ่านอีกทั้งเสียงที่ใช้นั้นก็มีความครบถ้วนตามลักษณะเสียงที่ใช้ในภาษาไทยสิ่งนี้นับเป็นคุณประโยชน์อย่างมหาศาลเป็นวิวัฒนาการแสดงให้เห็นถึงพระอัจฉริยะภาพในเชิงภาษาศาสตร์และความเป็นนักปราชญ์ของพระองค์
ครั้นล่วงรัชกาลพ่อขุนรามคำแหงมหาราชแล้วจะเป็นระยะเวลานานเท่าใดไม่ปรากฏแน่ชัดมีผู้แก้ไขกลับไปใช้คุณลักษณะบางอย่างตามแบบหนังสือขอมซึ่งมีสระอยู่ข้างหน้าพยัญชนะบ้างอยู่ข้างหลังพยัญชนะบ้าง
ตัวอักษรไทยที่พ่อขุนรามคำแหงมหาราชทรงคิดค้นขึ้นนี้ได้มีผู้นำไปใช้กันแพร่หลายต่อไปในประเทศใกล้เคียงในสมัยนั้นเช่นในล้านช้างล้านนาและประเทศข้างฝ่ายใต้ของอาณาจักรสุโขทัยความกรุงศรีอยุธยา




ลักษณะของตัวอักษรไทย

สระ๒๐ตัว

วรรณยุกต์๒รูปตัวเลขจากตัว๓๙ตัว

พยัญชนะ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: