พฤติกรรมมนุษย์ - ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยาปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่ การแปล - พฤติกรรมมนุษย์ - ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยาปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่ ไทย วิธีการพูด

พฤติกรรมมนุษย์ - ปัจจัยพื้นฐานด้านจ

พฤติกรรมมนุษย์ - ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยา

ปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ ได้แก่ ปัจจัยทางจิตวิทยา ซึ่งมีปัจจัยย่อยอยู่หลายปัจจัย ปัจจัยทางจิตวิทยา จะทำหน้าที่ เป็นสื่อกลางในการรับรู้และตีความสิ่งเร้าก่อนที่ร่างกายจะแสดงพฤติกรรมต่าง ๆ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่สำคัญ ประกอบด้วย แรงจูงใจและ การเรียนรู้

1. แรงจูงใจ

1.1 ความหมาย ประเภทและปัจจัย
แรงผลักดันจากภายในที่ทำให้ให้มนุษย์เกิดพฤติกรรมตอบสนองอย่างมีทิศทางและ เป้าหมาย เรียกว่า แรงจูงใจ คนที่มีแรงจูงใจ ที่จะทำ พฤติกรรมหนึ่งสูงกว่า จะใช้ความพยายามนำ การกระทำไปสู่เป้าหมายสูงกว่า คนที่มีแรงจูงใจต่ำกว่า แรงจูงใจของมนุษย์จำแนกได้เป็น 2 ประเภทหลัก ประเภทแรก ได้แก่ แรงจูงใจทางกาย ที่ทำให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมสนองความต้องการ ที่จำเป็นทางกาย เช่น หาน้ำ และอาหารมา ดื่มกิน เมื่อกระหายและหิว ประเภทที่สอง ได้แก่ แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับ ความต้องการทางสังคม เช่น ความต้องการความสำเร็จ เงิน คำชมอำนาจ กลุ่มและพวก เป็นต้น ปัจจัยที่ทำให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์ ประกอบด้วย

1.1.1 ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความต้องการจำเป็นของชีวิต คือ อาหาร น้ำ ความปลอดภัย
1.1.2 ปัจจัยทางอารมณ์ เช่น ความตื่นเต้น วิตกกังวล กลัว โกรธ รัก เกลียด และความรู้สึกอื่นใด ที่ให้คนมีพฤติกรรม ตั้งแต่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จนถึง การฆ่าผู้อื่น
1.1.3 ปัจจัยทางความคิด เป็นปัจจัยที่กำหนดให้บุคคลกระทำในเรื่องที่คิดว่า เหมาะสมและเป็นไปได้ และตามความคาดหวังว่า ผู้อื่นจะสนองตอบ การกระทำของตนอย่างไร
1.1.4 ปัจจัยทางสังคม เป็นปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมของมนุษย์ เพื่อให้สอดคล้องกับสังคม และเป็นที่ยอมรับ ของบุคคลในสังคมนั้นด้วย การกระทำของผู้อื่นและผลกรรมที่ได้รับจึงทำให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคม ซึ่งเป็นไปกฏระเบียบ และตัวแบบทางสังคม

1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจ

นักจิตวิทยาได้พัฒนาทฤษฎีเพื่ออธิบายถึงแรงจูงใจของมนุษย์ เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ปรากฏ แต่ละทฤษฎีมีจุดที่เป็น ความแนวคิด เกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างกันไป ที่สำคัญได้แก่ ทฤษฎีสัญชาติญาณ ทฤษฎีแรงขับ ทฤษฎีการตื่นตัว และทฤษฎีสิ่งล่อใจ


1.2.1 ทฤษฎีสัญชาติญาน (Instinct Theory)
สัญชาติญาน เป็น พฤติกรรมที่มนุษย์ แสดงออกโดยอัตโนมัติ ตามธรรมชาติของชีวิต เป็นความพร้อม ที่จะทำ พฤติกรรม ได้ในทันที เมื่อปรากฎ สิ่งเร้า เฉพาะต่อพฤติกรรมนั้น สัญชาติญาณ จึงมีความสำคัญต่อ ความอยู่รอด ของชีวิต ในสัตว์บางชนิด เช่นปลากัดตัวผู้จะแสดงการก้าวร้าว พร้อมต่อสู้ ทันทีที่เห็นตัวผู้ตัวอื่น สำหรับ ใน มนุษย์ สัญชาติญาณ อาจจะไม่แสดงออกมา อย่างชัดเจนในสัตว์ชั้นต่ำ แต่บุคคลสามารถรู้สึกได้ เช่น ความใกล้ชิด ระหว่าง ชายหญิง ทำให้เกิด ความต้องการทางเพศได้ พฤติกรรมนี้ไม่ต้องเรียนรู้ เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัว แน่นอน ซึ่งกำหนดมา ตามธรรมชาติจาก ปัจจัยทางชีวภาพ ในปัจจุบันการศึกษา สัญชาตญาน เป็นเพียงต้องการ ศึกษา ลักษณะ การตอบสนอง ขั้นพื้นฐาน เพื่อความเข้าใจ พฤติกรรม เบื้องต้นเท่านั้น


1.2.2 ทฤษฎีแรงขับ (Drive Reduction Theory)
แรงขับ (Drive) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระ ให้คงสภาพสมดุลในเรื่องต่าง ๆ ไว้ เพื่อทำให้ ร่างกายเป็น ปกติ หรืออยู่ในสภาพ โฮมิโอสแตซิส (Homeostasis) โดยการปรับระบบให้เข้ากับ การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ทฤษฎีแรงขับอธิบายว่า เมื่อเสียสมดุลในระบบ โฮมิโอสแตซิส จะทำให้เกิดความต้องการ (Need) ขึ้น เป็นความต้องการทางชีวภาพเพื่อรักษาความคงอยู่ของชีวิต และความต้องการนี้ จะทำให้เกิด แรงขับ อีกต่อหนึ่ง
แรงขับเป็น สภาวะตื่นตัว ที่พร้อมจะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง ให้กลับคืนสู่สภาพสมดุลเพื่อลดแรงขับนั้น (Drive Reduction) ตัวอย่างเช่น การขาดน้ำในร่างกาย จะทำให้เสียสมดุลทางเคมี ในเลือด เกิดความต้องการเพิ่มน้ำ ในร่างกาย แรงขับ ที่เกิดจากต้องการน้ำคือ ความกระหาย จูงใจให้เราดื่มน้ำหรือหาน้ำมาดื่ม หลังจากดื่มสม ความต้องการแล้ว แรงขับก็ลดลง กล่าวได้ว่า แรงขับผลักดันให้คนเรามีพฤติกรรม ตอบสนอง ความต้องการ เพื่อทำให้ แรงขับ ลดลงสำหรับที่ร่างกาย จะได้กลับสู่ สภาพสมดุล อีกครั้งหนึ่ง

แรงขับ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) และ แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) แรงขับที่เกิดจาก ความต้องการพื้นฐานทางชีวภาพ เช่น ความต้องการอาหาร น้ำ ความต้องการและแรงขับประเภทนี้ เกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้ เป็นแรงขับ ประเภทปฐมภูมิ ส่วนแรงขับทุติยภูมิ เป็นแรงขับที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แรงขับประเภทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะจูงใจคนให้กระทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการอย่างไม่มีวันสิ้นสุด เช่น คนเรียนรู้ว่า เงินมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการสนองความต้องการอาหาร ที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ อีกมาก การไม่มีเงิน จึงเป็นแรงขับทุติยภูมิสามารถจูงใจให้คนกระทำพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้เงินมาตั้งแต่การทำงานหนัก จนถึงการทำ สิ่งที่ผิดกฎหมาย เช่น การปล้นธนาคาร

1.2.3 ทฤษฎีการตื่นตัว (Arousal Theory)
มนุษย์ถูกจูงใจให้กระทำพฤติกรรมบางอย่าง เพื่อรักษาระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะ (Optimal level of arousal) เมื่อมีระดับการตื่นตัวต่ำลง ก็จะถูกกระตุ้นให้เพิ่มขึ้น และเมื่อการตื่นตัวมีระดับสูงเกินไปก็จะถูกดึงให้ลดลง เช่น เมื่อรู้สึกเบื่อคน จะแสวงหาการกระทำที่ตื่นเต้น เมื่อตื่นเต้นเร้าใจมานานระยะหนึ่ง จะต้องการพักผ่อน เป็นต้น คนแต่ละคนจะมีระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะแตกต่างกัน
การตื่นตัวคือ ระดับการทำงานที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ระบบของร่างกาย สามารถวัดระดับการทำงานนี้ได้จากคลื่นสมอง การเต้นของหัวใจ การเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือจากสภาวะของอวัยวะต่าง ๆ ขณะที่หลับสนิทระดับการตื่นตัวจะต่ำที่สุด และสูงสุดเมื่อตกใจหรือตื่นเต้นสุดขีด การตื่นตัวเพิ่มขึ้นได้จากความหิว กระหายน้ำหรือแรงขับทางชีวภาพอื่น ๆ หรือจากสิ่งเร้าที่เข้มข้น รุนแรง เหตุการณ์ไม่คาดหวังไว้ก่อน หรือจากสารกระตุ้นในกาแฟ และยาบางชนิด
การทำงานจะที่มีประสิทธิภาพสูง เมื่อมีระดับการตื่นตัวปานกลาง ระดับการตื่นตัวที่สูงเกินไปจะรบกวนความใส่ใจ การรับรู้ การคิด สมาธิ กล้ามเนื้อทำงานประสานกันได้ยาก เมื่อระดับการตื่นตัวต่ำ คนเราทำงานที่ยากและมีรายละเอียดได้ดี แต่ถ้าเป็นงานที่ง่ายจะทำได้ดีเมื่อระดับ การตื่นตัวสูง คนที่มีระดับการตื่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พฤติกรรมมนุษย์ - ปัจจัยพื้นฐานด้านจิตวิทยาปัจจัยสำคัญอีกปัจจัยหนึ่งซึ่งมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ได้แก่ปัจจัยทางจิตวิทยาซึ่งมีปัจจัยย่อยอยู่หลายปัจจัยปัจจัยทางจิตวิทยาจะทำหน้าที่เป็นสื่อกลางในการรับรู้และตีความสิ่งเร้าก่อนที่ร่างกายจะแสดงพฤติกรรมต่างๆ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่สำคัญประกอบด้วยแรงจูงใจและการเรียนรู้1. แรงจูงใจ1.1 ความหมายประเภทและปัจจัย แรงผลักดันจากภายในที่ทำให้ให้มนุษย์เกิดพฤติกรรมตอบสนองอย่างมีทิศทางและเป้าหมายเรียกว่าแรงจูงใจคนที่มีแรงจูงใจที่จะทำพฤติกรรมหนึ่งสูงกว่าจะใช้ความพยายามนำการกระทำไปสู่เป้าหมายสูงกว่าคนที่มีแรงจูงใจต่ำกว่าแรงจูงใจของมนุษย์จำแนกได้เป็น 2 ประเภทหลักประเภทแรกได้แก่แรงจูงใจทางกายที่ทำให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมสนองความต้องการที่จำเป็นทางกายเช่นหาน้ำและอาหารมาดื่มกินเมื่อกระหายและหิวประเภทที่สองได้แก่แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับความต้องการทางสังคมเช่นความต้องการความสำเร็จเงินคำชมอำนาจกลุ่มและพวกเป็นต้นปัจจัยที่ทำให้เกิดแรงจูงใจในมนุษย์ประกอบด้วย1.1.1 ปัจจัยทางชีวภาพได้แก่ความต้องการจำเป็นของชีวิตคืออาหารน้ำความปลอดภัย1.1.2 ปัจจัยทางอารมณ์เช่นความตื่นเต้นวิตกกังวลกลัวโกรธรักเกลียดและความรู้สึกอื่นใดที่ให้คนมีพฤติกรรมตั้งแต่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จนถึงการฆ่าผู้อื่น1.1.3 ปัจจัยทางความคิดเป็นปัจจัยที่กำหนดให้บุคคลกระทำในเรื่องที่คิดว่าเหมาะสมและเป็นไปได้และตามความคาดหวังว่าผู้อื่นจะสนองตอบการกระทำของตนอย่างไร1.1.4 ปัจจัยทางสังคมเป็นปัจจัยที่กำหนดพฤติกรรมของมนุษย์เพื่อให้สอดคล้องกับสังคมและเป็นที่ยอมรับของบุคคลในสังคมนั้นด้วยการกระทำของผู้อื่นและผลกรรมที่ได้รับจึงทำให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมทางสังคมซึ่งเป็นไปกฏระเบียบและตัวแบบทางสังคม1.2 ทฤษฎีแรงจูงใจนักจิตวิทยาได้พัฒนาทฤษฎีเพื่ออธิบายถึงแรงจูงใจของมนุษย์เพื่อตอบคำถามเกี่ยวกับพฤติกรรมที่ปรากฏแต่ละทฤษฎีมีจุดที่เป็นความแนวคิดเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ที่แตกต่างกันไปที่สำคัญได้แก่ทฤษฎีสัญชาติญาณทฤษฎีแรงขับทฤษฎีการตื่นตัวและทฤษฎีสิ่งล่อใจ1.2.1 คำทฤษฎีสัญชาติญาน (ทฤษฎีสัญชาตญาณ)สัญชาติญานเป็นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติของชีวิตเป็นความพร้อมที่จะทำพฤติกรรมได้ในทันทีเมื่อปรากฎสิ่งเร้าเฉพาะต่อพฤติกรรมนั้นสัญชาติญาณจึงมีความสำคัญต่อความอยู่รอดของชีวิตในสัตว์บางชนิดเช่นปลากัดตัวผู้จะแสดงการก้าวร้าวพร้อมต่อสู้ทันทีที่เห็นตัวผู้ตัวอื่นสำหรับในมนุษย์สัญชาติญาณอาจจะไม่แสดงออกมาอย่างชัดเจนในสัตว์ชั้นต่ำแต่บุคคลสามารถรู้สึกได้เช่นความใกล้ชิดระหว่างชายหญิงทำให้เกิดความต้องการทางเพศได้พฤติกรรมนี้ไม่ต้องเรียนรู้เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัวแน่นอนซึ่งกำหนดมาตามธรรมชาติจากปัจจัยทางชีวภาพในปัจจุบันการศึกษาสัญชาตญานเป็นเพียงต้องการศึกษาลักษณะการตอบสนองขั้นพื้นฐานเพื่อความเข้าใจพฤติกรรมเบื้องต้นเท่านั้น1.2.2 ทฤษฎีแรงขับ (ทฤษฎีลดไดรฟ์)แรงขับ (ไดรฟ์) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระให้คงสภาพสมดุลในเรื่องต่างๆ ไว้เพื่อทำให้ร่างกายเป็นปกติหรืออยู่ในสภาพโฮมิโอสแตซิส (ภาวะธำรงดุล) โดยการปรับระบบให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทฤษฎีแรงขับอธิบายว่าเมื่อเสียสมดุลในระบบโฮมิโอสแตซิสจะทำให้เกิดความต้องการ (จำเป็น) ขึ้นเป็นความต้องการทางชีวภาพเพื่อรักษาความคงอยู่ของชีวิตและความต้องการนี้จะทำให้เกิดแรงขับอีกต่อหนึ่ง แรงขับเป็นสภาวะตื่นตัวที่พร้อมจะทำอย่างใดอย่างหนึ่งให้กลับคืนสู่สภาพสมดุลเพื่อลดแรงขับนั้น (ไดรฟ์ลด) ตัวอย่างเช่นการขาดน้ำในร่างกายจะทำให้เสียสมดุลทางเคมีในเลือดเกิดความต้องการเพิ่มน้ำในร่างกายแรงขับที่เกิดจากต้องการน้ำคือความกระหายจูงใจให้เราดื่มน้ำหรือหาน้ำมาดื่มหลังจากดื่มสมความต้องการแล้วแรงขับก็ลดลงกล่าวได้ว่าแรงขับผลักดันให้คนเรามีพฤติกรรมตอบสนองความต้องการเพื่อทำให้แรงขับลดลงสำหรับที่ร่างกายจะได้กลับสู่สภาพสมดุลอีกครั้งหนึ่งแรงขับ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) และ แรงขับทุติยภูมิ (Secondary Drive) แรงขับที่เกิดจาก ความต้องการพื้นฐานทางชีวภาพ เช่น ความต้องการอาหาร น้ำ ความต้องการและแรงขับประเภทนี้ เกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้ เป็นแรงขับ ประเภทปฐมภูมิ ส่วนแรงขับทุติยภูมิ เป็นแรงขับที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ แรงขับประเภทนี้ เมื่อเกิดแล้วจะจูงใจคนให้กระทำสิ่งต่าง ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการอย่างไม่มีวันสิ้นสุด เช่น คนเรียนรู้ว่า เงินมีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับการสนองความต้องการอาหาร ที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ อีกมาก การไม่มีเงิน จึงเป็นแรงขับทุติยภูมิสามารถจูงใจให้คนกระทำพฤติกรรมต่าง ๆ เพื่อให้ได้เงินมาตั้งแต่การทำงานหนัก จนถึงการทำ สิ่งที่ผิดกฎหมาย เช่น การปล้นธนาคาร1.2.3 ทฤษฎีการตื่นตัว (ทฤษฎีเร้าอารมณ์)มนุษย์ถูกจูงใจให้กระทำพฤติกรรมบางอย่างเพื่อรักษาระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะ (ระดับสูงสุดของเร้าอารมณ์) เมื่อมีระดับการตื่นตัวต่ำลงก็จะถูกกระตุ้นให้เพิ่มขึ้นและเมื่อการตื่นตัวมีระดับสูงเกินไปก็จะถูกดึงให้ลดลงเช่นเมื่อรู้สึกเบื่อคนจะแสวงหาการกระทำที่ตื่นเต้นเมื่อตื่นเต้นเร้าใจมานานระยะหนึ่งจะต้องการพักผ่อนเป็นต้นคนแต่ละคนจะมีระดับการตื่นตัวที่พอเหมาะแตกต่างกัน การตื่นตัวคือระดับการทำงานที่เกิดขึ้นในหลายๆ ระบบของร่างกายสามารถวัดระดับการทำงานนี้ได้จากคลื่นสมองการเต้นของหัวใจการเกร็งของกล้ามเนื้อหรือจากสภาวะของอวัยวะต่างๆ ขณะที่หลับสนิทระดับการตื่นตัวจะต่ำที่สุดและสูงสุดเมื่อตกใจหรือตื่นเต้นสุดขีดการตื่นตัวเพิ่มขึ้นได้จากความหิวกระหายน้ำหรือแรงขับทางชีวภาพอื่นๆ หรือจากสิ่งเร้าที่เข้มข้นรุนแรงเหตุการณ์ไม่คาดหวังไว้ก่อนหรือจากสารกระตุ้นในกาแฟและยาบางชนิด การทำงานจะที่มีประสิทธิภาพสูงเมื่อมีระดับการตื่นตัวปานกลางระดับการตื่นตัวที่สูงเกินไปจะรบกวนความใส่ใจการรับรู้การคิดสมาธิกล้ามเนื้อทำงานประสานกันได้ยากเมื่อระดับการตื่นตัวต่ำคนเราทำงานที่ยากและมีรายละเอียดได้ดีแต่ถ้าเป็นงานที่ง่ายจะทำได้ดีเมื่อระดับการตื่นตัวสูงคนที่มีระดับการตื่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พฤติกรรมมนุษย์ - ได้แก่ ปัจจัยทางจิตวิทยาซึ่งมีปัจจัยย่อยอยู่หลายปัจจัยปัจจัยทางจิตวิทยาจะทำหน้าที่ ๆ ปัจจัยทางจิตวิทยาที่สำคัญประกอบด้วยแรงจูงใจและการเรียนรู้1 แรงจูงใจ1.1 ความหมาย เป้าหมายเรียกว่าแรงจูงใจคนที่มีแรงจูงใจที่จะทำพฤติกรรมหนึ่งสูงกว่าจะใช้ความพยายามนำการกระทำไปสู่เป้าหมายสูงกว่าคนที่มีแรงจูงใจต่ำกว่าแรงจูงใจของมนุษย์จำแนกได้เป็น 2 ประเภทหลักประเภทแรก ได้แก่ แรง จูงใจทางกาย ที่จำเป็นทางกายเช่นหาน้ำและอาหารมาดื่มกินเมื่อกระหายและหิวประเภทที่สอง ได้แก่ แรงจูงใจทางจิตซึ่งเกี่ยวข้องกับความต้องการทางสังคมเช่นความต้องการความสำเร็จเงินคำชมอำนาจกลุ่มและพวกเป็นต้น ประกอบด้วย1.1.1 ปัจจัยทางชีวภาพ ได้แก่ ความต้องการจำเป็นของชีวิตคืออาหารน้ำความปลอดภัย1.1.2 ปัจจัยทางอารมณ์เช่นความตื่นเต้นวิตกกังวลกลัวโกรธรักเกลียดและความรู้สึกอื่นใดที่ให้คนมีพฤติกรรมตั้งแต่เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่จนถึงการฆ่าผู้ อื่น1.1.3 ปัจจัยทางความคิด เหมาะสมและเป็นไปได้และตามความคาดหวังว่าผู้อื่นจะสนองตอบการกระทำของตนอย่างไร1.1.4 ปัจจัยทางสังคม เพื่อให้สอดคล้องกับสังคมและเป็นที่ยอมรับของบุคคลในสังคมนั้นด้วย ซึ่งเป็นไปกฏระเบียบและตัวแบบทางสังคม1.2 แต่ละทฤษฎีมีจุดที่เป็นความแนวคิด ที่สำคัญ ได้แก่ ทฤษฎีสัญชาติญาณทฤษฎีแรงขับทฤษฎีการตื่นตัวและทฤษฎีสิ่งล่อใจ1.2.1 ทฤษฎีสัญชาติญาน (Instinct ทฤษฎี) สัญชาติญานเป็นพฤติกรรมที่มนุษย์แสดงออกโดยอัตโนมัติตามธรรมชาติของชีวิตเป็นความพร้อมที่จะทำพฤติกรรมได้ ในทันทีเมื่อปรากฎสิ่งเร้าเฉพาะต่อพฤติกรรมนั้นสัญชาติญาณจึงมีความสำคัญต่อความอยู่รอดของชีวิตในสัตว์บางชนิดเช่นปลากัดตัวผู้จะแสดงการก้าวร้าวพร้อมต่อสู้ทันทีที่เห็นตัวผู้ตัวอื่นสำหรับในมนุษย์สัญชาติญาณอาจจะ ไม่แสดงออกมาอย่างชัดเจนในสัตว์ชั้นต่ำ แต่บุคคลสามารถรู้สึกได้เช่นความใกล้ชิดระหว่างชายหญิงทำให้เกิดความต้องการทางเพศได้พฤติกรรมนี้ไม่ต้องเรียนรู้เป็นรูปแบบพฤติกรรมที่ตายตัวแน่นอนซึ่งกำหนดมาตามธรรมชาติจากปัจจัยทางชีวภาพ ในปัจจุบันการศึกษาสัญชาตญานเป็นเพียงต้องการศึกษาลักษณะการตอบสนองขั้นพื้นฐานเพื่อความเข้าใจพฤติกรรมเบื้องต้นเท่านั้น1.2.2 ทฤษฎีแรงขับ (ไดรฟ์การลดทฤษฎี) แรงขับ (ไดรฟ์) เป็นกลไกภายในที่รักษาระบบทางสรีระให้คงสภาพ สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ไว้เพื่อทำให้ร่างกายเป็นปกติหรืออยู่ในสภาพโฮมิโอสแตซิส (Homeostasis) โดยการปรับระบบให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทฤษฎีแรงขับอธิบายว่าเมื่อเสียสมดุลในระบบโฮมิโอ สแตซิสจะทำให้เกิดความต้องการ (Need) ขึ้น ความต้องการและนี้จะทำให้เกิดแรงขับต่ออีกหนึ่งแรงขับเป็นสภาวะตื่นตัวพร้อมที่จะทำอย่างใดอย่างหนึ่ง (ไดรฟ์ Reduction) ตัวอย่างเช่นการขาดน้ำในร่างกายจะทำให้เสียสมดุลทางเคมีในเลือดเกิดความต้องการเพิ่มน้ำในร่างกายแรงขับที่เกิดจากต้องการน้ำคือความกระหายจูงใจให้เราดื่มน้ำหรือหาน้ำมาดื่มหลังจากดื่มสมความ ต้องการแล้วแรงขับก็ลดลงกล่าวได้ว่าได้แรงขับผลักดันให้คนเรามีพฤติกรรมตอบสนองความต้องการเพื่อทำให้แรงขับลดลงสำหรับที่ร่างกายจะได้กลับสู่สภาพสมดุลอีกครั้งหนึ่งแรงขับแบ่งออกได้เป็น2 ประเภทคือ แรงขับปฐมภูมิ (Primary Drive) และแรงขับทุติยภูมิ (Secondary ไดรฟ์) แรงขับที่เกิดจากความต้องการพื้นฐานทางชีวภาพเช่นความต้องการอาหารน้ำความต้องการและแรงขับประเภทนี้เกิดขึ้นเองโดยไม่ต้องเรียนรู้เป็นแรงขับ ประเภทปฐมภูมิส่วนแรงขับทุติยภูมิ แรงขับประเภทนี้ ๆ เช่นคนเรียนรู้ว่า ที่อยู่อาศัยและอื่น ๆ อีกมากการไม่มีเงิน ๆ จนถึงการทำสิ่งที่ผิดกฎหมายเช่นการปล้นธนาคาร1.2.3 ทฤษฎีการตื่นตัว (เร้าอารมณ์ (ระดับที่เหมาะสมของการเร้าอารมณ์) เมื่อมีระดับการตื่นตัวต่ำลงก็จะถูกกระตุ้นให้เพิ่มขึ้น เช่นเมื่อรู้สึกเบื่อคนจะแสวงหาการกระทำที่ตื่นเต้นเมื่อตื่นเต้นเร้าใจมานานระยะหนึ่งจะต้องการพักผ่อนเป็นต้น ระดับการทำงานที่เกิดขึ้นในหลาย ๆ ระบบของร่างกาย การเต้นของหัวใจการเกร็งของกล้ามเนื้อหรือจากสภาวะของอวัยวะต่าง ๆ การตื่นตัวเพิ่มขึ้นได้จากความหิวกระหายน้ำหรือแรงขับทางชีวภาพอื่น ๆ หรือจากสิ่งเร้าที่เข้มข้นรุนแรงเหตุการณ์ไม่คาดหวังไว้ก่อนหรือจากสารกระตุ้นในกาแฟ เมื่อมีระดับการตื่นตัวปานกลาง การรับรู้การคิดสมาธิกล้ามเนื้อทำงานประสานกันได้ยากเมื่อระดับการตื่นตัวต่ำ การตื่นตัวสูงคนที่มีระดับการตื่น































การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: