17 พฤษภาคม 2510 หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าวโศกนาฏกรรมรักของคนคู่หนึ่ง  ที่โ การแปล - 17 พฤษภาคม 2510 หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าวโศกนาฏกรรมรักของคนคู่หนึ่ง  ที่โ ไทย วิธีการพูด

17 พฤษภาคม 2510 หนังสือพิมพ์พาดหัวข



17 พฤษภาคม 2510

หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าวโศกนาฏกรรมรักของคนคู่หนึ่ง

ที่โชคชะตากำหนดให้เกิดมาอยู่ในเพศเดียวกัน


เพียงชั่วข้ามคืนเหตุการณ์นี้ได้เลือนหายไปความทรงจำของคนไทย ก่อนที่ถูกนำกลับมาย้ำเตือนอีกครั้งในอีก 22 ปีต่อมา ในรูปแบบของบทเพลง

บทเพลง “สีดา” กล่าวถึงความรักที่มีต่อกันอย่างลึกซึ้งระหว่างชาย 2 คน แต่สุดท้ายกลับต้องจบลงด้วยการกระทำอัตวินิตบาตกรรมของคนทั้งคู่ เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความซาบซึ้ง และทำให้ “แจ้” ดนุพล แก้วกาญจน์ ตัดสินใจหยิบยกเรื่องราวนี้มอบให้ครูน้อย สุรพล โทณะวณิก ช่วยถ่ายทอดเป็นบทเพลงในปี 2532



“สีดา” เป็นเรื่องราวจากชีวิตจริงเมื่อ ปี 2510 ของสาวประเภทสองที่ชื่อ ประโนตย์ วิเศษแพทย์ แต่บางส่วนของเรื่องราวที่ผู้แต่งจำเป็นต้องดัดแปลงไป ทำให้มีบางเสี้ยวของเหตุการณ์ต่างไปจากความเป็นจริง

“สีดา” ในบทเพลง หมายถึง นางเอกนาฏศิลป์โขนของกรมศิลปากรเมื่อเกือบ 40 ปีก่อน หากแต่ชีวิตจริง ประโนตย์ วิเศษแพทย์ กลับแทบไม่เคยออกแสดงในบทบาทนี้และสร้างชื่อเสียงให้กับกรมศิลปากรเลย

แต่สิ่งที่ทำให้ประโนตย์โดดเด่นมากที่สุดในยุคนั้น ก็คือความสวย // สุทิน ทับทิมทอง รุ่นพี่ที่สนิทสนมกับประโนตย์ เล่าว่า ปัจจุบันความสวยของสาวประเภทสอง เป็นเรื่องธรรมดาที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไป แต่สำหรับเมื่อ 35 ปีก่อน ประโนตย์สวยเกินกว่าผู้หญิงบางคน และไม่มีสาวประเภท 2 คนใดเทียบได้

ปัจจุบันมีหลักฐานและภาพถ่ายของประโนตย์เหลืออยู่ไม่มากนัก // ประโนตย์ เกิดเมื่อปี 2481 เป็นบุตรของนายยงค์ และหม่อมหลวงหญิง บุญนาค วิเศษแพทย์ ซึ่งครอบครัวมีฐานะดี

ประโนตย์มีพี่น้องทั้งหมด 5 คน และด้วยความที่เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของบ้าน จึงเปรียบเสมือนแก้วตาดวงใจของพ่อแม่ ประโนตย์เติบโตขึ้นท่ามกลางการถูกรุมล้อมด้วยพี่น้องที่เป็นผู้หญิงทั้งสี่ และค่อย ๆ ซึบซับความอ่อนหวานเรียบร้อยแบบผู้หญิงของคนรอบข้างไว้อย่างไม่รู้ตัว

หลังเรียนจบระดับประถมที่โรงเรียนใกล้บ้าน ย่านซอยสวนพลู ประมาณปี 2492 ด้วยความสนใจในการแสดงตั้งแต่เยาว์วัย และการสนับสนุนของผู้เป็นแม่ ประโนตย์จึงตัดสินใจสอบเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนาฏศิลป์

โรงเรียนนาฏศิลป กรมศิลปากร หรือ วิทยาลัยนาฏศิลปในปัจจุบัน นอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นซึ่งต่อมาทำให้ประโนตย์เป็นที่รู้จักในชื่อของ “สีดา” แล้ว ที่นี่ยังเปิดโอกาสให้เขาสามารถแสดงบุคลิกที่เบี่ยงเบนไปจากเพศที่แท้จริงของตนเองได้อย่างอิสระเสรี

หน้าตาที่คมคาย จมูกโด่งเป็นสัน ในครั้งแรกประโนตย์ถูกเลือกให้ฝึกฝนเป็น “พระ” ตัวแสดงสำคัญที่ต้องมีการคัดสรรอย่างพิถีพิถันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ

แต่บุคลิกท่าทางเรียบร้อยนุ่มนวล ที่ซึมซับจากบุคคลรอบข้างมาตั้งแต่วัยเด็ก ต่อมาครูผู้สอนจึงเปลี่ยนให้ประโนตย์ ฝึกฝนเป็น “ตัวนาง”

การสวมบทบาทสตรีเพศ และ ความอ่อนหวานงดงามของศิลปะ เป็นส่วนส่งเสริมให้ร่างกายและจิตใจของประโนตย์ เปลี่ยนแปลงมาเป็นผู้หญิงอย่างเต็มตัว

ไพฑูรย์ ศราคนี เพื่อนร่วมชั้นที่สนิทสนมกับประโนตย์ เล่าว่า " ขณะนั้นเป็นช่วงหลังภาวะสงคราม ซึ่งนาฏศิลป์โขนกำลังอยู่ในภาวะทรุดโทรม กรมศิลปากรไม่มีการฝึกหัดศิลปินโขนคนใหม่เพิ่มเติมทำให้เกิดการขาดแคลน" ต่อมาทางราชการจึงมีคำสั่งให้โรงเรียนนาฏศิลป์เร่งฝึกหัดนักเรียนเป็นศิลปินโขน เพื่อร่วมออกแสดงในงานพิธีสำคัญต่าง ๆ ซึ่งมีนักเรียนโขนในรุ่นเพียงไม่กี่คน ที่มีโอกาสออกแสดงร่วมกับทางโรงเรียน ซึ่งไพฑูรย์และประโนตย์ก็เป็นหนึ่งในจำนวนนั้น

การออกแสดงตามสถานที่ต่าง ๆ ร่วมกับทางโรงเรียน ถือเป็นการปฏิบัติราชการ ซึ่งจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเบี้ยเลี้ยงวันละ 8 บาท แต่นั่นไม่สำคัญสำหรับประโนตย์ เท่ากับการที่สามารถแต่งตัวเป็นผู้หญิงได้ตามอย่างที่ใจปรารถนา เพราะขณะนั้นสภาพสังคมไทยยังไม่ยอมรับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ

แต่โอกาสได้ออกแสดงที่มีไม่มากนัก ประโนตย์ในวัย 14 ปี จึงมักลักลอบหนีออกไปแสดงโขนกับบุคคลภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งที่ทางโรงเรียนนาฏศิลป์ขณะนั้นไม่อนุญาตอย่างเด็ดขาด รวมทั้งเริ่มคบหากับเพื่อนต่างโรงเรียนที่มีลักษณะเดียวกัน และทำให้ชีวิตในโรงเรียนนาฏศิลป์ของประโนตย์สิ้นสุดลงในเวลาเพียง 3 ปี

ประโนตย์ออกจากโรงเรียนนาฏศิลป์กลางคันในปี 2495 ประโนตย์มีอิสระเสรีมากขึ้นและยังคงใช้ชีวิตวนเวียนอยู่ในแวดวงของนาฏศิลป์โขน โดยร่วมกับเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน ใช้วิชานาฏศิลป์ที่ติดตัวมารับแสดงโขนตามงานการกุศลต่าง ๆ ซึ่งต่อมาได้สร้างชื่อเสียงให้เธอเป็นที่รู้จักในนามของ “สีดา”

“สีดา” คือ นางในวรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติ ที่มีความงดงามอย่างมาก

ความงดงามของนางสีดาทำให้พระรามปักใจรัก ทศกัณฐ์ต้องลุ่มหลง หมู่ยักษาต่างเข่นฆ่ากัน เพื่อแย่งชิงตัวนางสีดา และกลายเป็นชนวนหนึ่งของสงครามอันยาวนานระหว่างพระรามและทศกัณฐ์

แม้ระยะเวลาเพียง 3 ปีในโรงเรียนนาฏศิลป์ ไม่อาจทำให้ท่วงท่าการร่ายรำของประโนตย์งดงามมากนัก แต่ความสวยของประโนตย์ ที่สามารถถ่ายทอดความงดงามของนางสีดา และทำให้ผู้ชมรู้สึกเคลิบเคลิ้มไปจิตนาการการแสดง อย่างยากที่จะหาผู้ใดในขณะนั้นเทียบได้

ช่วงเวลานี้เองที่ครูน้อย หรือสุรพล โทณวณิก ได้มีโอกาสชมการแสดงของประโนตย์ และความสวยของเธอที่ยังคงประทับอยู่ในความทรงจำ จึงกลายเป็นต้นกำเนิดของบทเพลง “สีดา” ในอีก 22 ปีต่อมา

แต่ภาพของหญิงสาวที่งดงาม สามารถตรึงผู้ชมได้เฉพาะบนเวทีเท่านั้น เพราะหลังจากการแสดงจบลง ประโนตย์ต้องสลับคราบความเป็นหญิง และจำต้องกลับมาใช้ชีวิตปกติตามสรีระร่างกายของตน เพราะสภาพสังคมไทยในขณะนั้น ยังไม่ยอมรับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ

นอกเหนือไปจากการแสดงโขน เวลาส่วนใหญ่ของประโนตย์หมดไปกับการเที่ยวเตร่กับเพื่อนฝูงตามสวนสาธารณะ อย่างเช่น สะพานพุทธ ที่เกือบทุกเย็นจะเป็นแหล่งชุมนุมของบรรดาสาวประเภทสองในยุคนั้น

แต่สถานที่ที่ประโนตย์สามารถแสดงความเป็นหญิงได้อย่างเปิดเผยมากที่สุด ก็คือ บ้าน ผิดกับเพื่อนหลายคนในกลุ่มเดียวกัน เพราะเธอโชคดีที่มีแม่ที่เข้าใจในตัวเธอมากที่สุด ดังนั้นบ้านพักของประโนตย์ในซอยสวนพลู จึงไม่เคยว่างเว้นจากการเยี่ยมเยียนของเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน

บริเวณที่เคยเป็นบ้านพักของประโนตย์ แต่เวลาที่ล่วงเลยมา ถึง 35 ปี ทำให้ปัจจุบันแทบจะไม่มีร่องรอยใดหลง
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
17 พฤษภาคม 2510 หนังสือพิมพ์พาดหัวข่าวโศกนาฏกรรมรักของคนคู่หนึ่ง ที่โชคชะตากำหนดให้เกิดมาอยู่ในเพศเดียวกัน เพียงชั่วข้ามคืนเหตุการณ์นี้ได้เลือนหายไปความทรงจำของคนไทยก่อนที่ถูกนำกลับมาย้ำเตือนอีกครั้งในอีก 22 ปีต่อมาในรูปแบบของบทเพลง บทเพลง "สีดา" กล่าวถึงความรักที่มีต่อกันอย่างลึกซึ้งระหว่างชาย 2 คนแต่สุดท้ายกลับต้องจบลงด้วยการกระทำอัตวินิตบาตกรรมของคนทั้งคู่เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความซาบซึ้งและทำให้ "แจ้" ดนุพลแก้วกาญจน์ตัดสินใจหยิบยกเรื่องราวนี้มอบให้ครูน้อยสุรพลโทณะวณิกช่วยถ่ายทอดเป็นบทเพลงในปี 2532 "สีดา" เป็นเรื่องราวจากชีวิตจริงเมื่อปี 2510 ของสาวประเภทสองที่ชื่อประโนตย์วิเศษแพทย์แต่บางส่วนของเรื่องราวที่ผู้แต่งจำเป็นต้องดัดแปลงไปทำให้มีบางเสี้ยวของเหตุการณ์ต่างไปจากความเป็นจริง "สีดา" ในบทเพลงหมายถึงนางเอกนาฏศิลป์โขนของกรมศิลปากรเมื่อเกือบ 40 ปีก่อนหากแต่ชีวิตจริงประโนตย์วิเศษแพทย์กลับแทบไม่เคยออกแสดงในบทบาทนี้และสร้างชื่อเสียงให้กับกรมศิลปากรเลยแต่สิ่งที่ทำให้ประโนตย์โดดเด่นมากที่สุดในยุคนั้นก็คือความสวย / / สุทินทับทิมทองรุ่นพี่ที่สนิทสนมกับประโนตย์เล่าว่าปัจจุบันความสวยของสาวประเภทสองเป็นเรื่องธรรมดาที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปแต่สำหรับเมื่อ 35 ปีก่อนประโนตย์สวยเกินกว่าผู้หญิงบางคนและไม่มีสาวประเภท 2 คนใดเทียบได้ ปัจจุบันมีหลักฐานและภาพถ่ายของประโนตย์เหลืออยู่ไม่มากนัก / / ประโนตย์เกิดเมื่อปี 2481 เป็นบุตรของนายยงค์และหม่อมหลวงหญิงบุญนาควิเศษแพทย์ซึ่งครอบครัวมีฐานะดี ประโนตย์มีพี่น้องทั้งหมด 5 คนและด้วยความที่เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของบ้านจึงเปรียบเสมือนแก้วตาดวงใจของพ่อแม่ประโนตย์เติบโตขึ้นท่ามกลางการถูกรุมล้อมด้วยพี่น้องที่เป็นผู้หญิงทั้งสี่และค่อยๆ ซึบซับความอ่อนหวานเรียบร้อยแบบผู้หญิงของคนรอบข้างไว้อย่างไม่รู้ตัว หลังเรียนจบระดับประถมที่โรงเรียนใกล้บ้านย่านซอยสวนพลูประมาณปี 2492 ด้วยความสนใจในการแสดงตั้งแต่เยาว์วัยและการสนับสนุนของผู้เป็นแม่ประโนตย์จึงตัดสินใจสอบเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนาฏศิลป์โรงเรียนนาฏศิลปกรมศิลปากรหรือวิทยาลัยนาฏศิลปในปัจจุบันนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นซึ่งต่อมาทำให้ประโนตย์เป็นที่รู้จักในชื่อของ "สีดา" แล้วที่นี่ยังเปิดโอกาสให้เขาสามารถแสดงบุคลิกที่เบี่ยงเบนไปจากเพศที่แท้จริงของตนเองได้อย่างอิสระเสรีตัวแสดงสำคัญที่ต้องมีการคัดสรรอย่างพิถีพิถันมาตั้งแต่ครั้งโบราณหน้าตาที่คมคายจมูกโด่งเป็นสันในครั้งแรกประโนตย์ถูกเลือกให้ฝึกฝนเป็น "พระ"แต่บุคลิกท่าทางเรียบร้อยนุ่มนวลที่ซึมซับจากบุคคลรอบข้างมาตั้งแต่วัยเด็กต่อมาครูผู้สอนจึงเปลี่ยนให้ประโนตย์ฝึกฝนเป็น "ตัวนาง" การสวมบทบาทสตรีเพศและความอ่อนหวานงดงามของศิลปะเป็นส่วนส่งเสริมให้ร่างกายและจิตใจของประโนตย์เปลี่ยนแปลงมาเป็นผู้หญิงอย่างเต็มตัว ไพฑูรย์ศราคนีเพื่อนร่วมชั้นที่สนิทสนมกับประโนตย์เล่าว่า "ขณะนั้นเป็นช่วงหลังภาวะสงครามซึ่งนาฏศิลป์โขนกำลังอยู่ในภาวะทรุดโทรมกรมศิลปากรไม่มีการฝึกหัดศิลปินโขนคนใหม่เพิ่มเติมทำให้เกิดการขาดแคลน" ต่อมาทางราชการจึงมีคำสั่งให้โรงเรียนนาฏศิลป์เร่งฝึกหัดนักเรียนเป็นศิลปินโขนเพื่อร่วมออกแสดงในงานพิธีสำคัญต่างๆ ซึ่งมีนักเรียนโขนในรุ่นเพียงไม่กี่คนที่มีโอกาสออกแสดงร่วมกับทางโรงเรียนซึ่งไพฑูรย์และประโนตย์ก็เป็นหนึ่งในจำนวนนั้นการออกแสดงตามสถานที่ต่างๆ ร่วมกับทางโรงเรียนถือเป็นการปฏิบัติราชการซึ่งจะได้รับค่าตอบแทนเป็นเบี้ยเลี้ยงวันละ 8 บาทแต่นั่นไม่สำคัญสำหรับประโนตย์เท่ากับการที่สามารถแต่งตัวเป็นผู้หญิงได้ตามอย่างที่ใจปรารถนาเพราะขณะนั้นสภาพสังคมไทยยังไม่ยอมรับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศแต่โอกาสได้ออกแสดงที่มีไม่มากนักประโนตย์ในวัย 14 ปีจึงมักลักลอบหนีออกไปแสดงโขนกับบุคคลภายนอกซึ่งเป็นสิ่งที่ทางโรงเรียนนาฏศิลป์ขณะนั้นไม่อนุญาตอย่างเด็ดขาดรวมทั้งเริ่มคบหากับเพื่อนต่างโรงเรียนที่มีลักษณะเดียวกันและทำให้ชีวิตในโรงเรียนนาฏศิลป์ของประโนตย์สิ้นสุดลงในเวลาเพียง 3 ปี ประโนตย์ออกจากโรงเรียนนาฏศิลป์กลางคันในปี 2495 ประโนตย์มีอิสระเสรีมากขึ้นและยังคงใช้ชีวิตวนเวียนอยู่ในแวดวงของนาฏศิลป์โขนโดยร่วมกับเพื่อนในกลุ่มเดียวกันใช้วิชานาฏศิลป์ที่ติดตัวมารับแสดงโขนตามงานการกุศลต่างๆ ซึ่งต่อมาได้สร้างชื่อเสียงให้เธอเป็นที่รู้จักในนามของ "สีดา" "สีดา" คือนางในวรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติที่มีความงดงามอย่างมาก ความงดงามของนางสีดาทำให้พระรามปักใจรักทศกัณฐ์ต้องลุ่มหลงหมู่ยักษาต่างเข่นฆ่ากันเพื่อแย่งชิงตัวนางสีดาและกลายเป็นชนวนหนึ่งของสงครามอันยาวนานระหว่างพระรามและทศกัณฐ์แม้ระยะเวลาเพียง 3 ปีในโรงเรียนนาฏศิลป์ไม่อาจทำให้ท่วงท่าการร่ายรำของประโนตย์งดงามมากนักแต่ความสวยของประโนตย์ที่สามารถถ่ายทอดความงดงามของนางสีดาและทำให้ผู้ชมรู้สึกเคลิบเคลิ้มไปจิตนาการการแสดงอย่างยากที่จะหาผู้ใดในขณะนั้นเทียบได้ ปีต่อมาในอีก 22 ช่วงเวลานี้เองที่ครูน้อยหรือสุรพลโทณวณิกได้มีโอกาสชมการแสดงของประโนตย์และความสวยของเธอที่ยังคงประทับอยู่ในความทรงจำจึงกลายเป็นต้นกำเนิดของบทเพลง "สีดา"แต่ภาพของหญิงสาวที่งดงามสามารถตรึงผู้ชมได้เฉพาะบนเวทีเท่านั้นเพราะหลังจากการแสดงจบลงประโนตย์ต้องสลับคราบความเป็นหญิงและจำต้องกลับมาใช้ชีวิตปกติตามสรีระร่างกายของตนเพราะสภาพสังคมไทยในขณะนั้นยังไม่ยอมรับพฤติกรรมเบี่ยงเบนทางเพศ นอกเหนือไปจากการแสดงโขนเวลาส่วนใหญ่ของประโนตย์หมดไปกับการเที่ยวเตร่กับเพื่อนฝูงตามสวนสาธารณะอย่างเช่นสะพานพุทธที่เกือบทุกเย็นจะเป็นแหล่งชุมนุมของบรรดาสาวประเภทสองในยุคนั้น บ้านแต่สถานที่ที่ประโนตย์สามารถแสดงความเป็นหญิงได้อย่างเปิดเผยมากที่สุดก็คือผิดกับเพื่อนหลายคนในกลุ่มเดียวกันเพราะเธอโชคดีที่มีแม่ที่เข้าใจในตัวเธอมากที่สุดดังนั้นบ้านพักของประโนตย์ในซอยสวนพลูรีจึงไม่เคยว่างเว้นจากการเยี่ยมเยียนของเพื่อนในกลุ่มเดียวกันทำให้ปัจจุบันแทบจะไม่มีร่องรอยใดหลงบริเวณที่เคยเป็นบ้านพักของประโนตย์แต่เวลาที่ล่วงเลยมาถึง 35 ปี
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!


17 พฤษภาคม 22 ปีต่อมาในรูปแบบของบทเพลงบทเพลง "สีดา" 2 คน เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความซาบซึ้งและทำให้ "แจ้" ดนุพลแก้วกาญจน์ สุรพลโทณะวณิกช่วยถ่ายทอดเป็นบทเพลงในปี 2532 "สีดา" เป็นเรื่องราวจากชีวิตจริงเมื่อปี 2510 ของสาวประเภทสองที่ชื่อประโนตย์วิเศษแพทย์ ในบทเพลงหมายถึง 40 ปีก่อนหาก แต่ชีวิตจริงประโนตย์วิเศษแพทย์ ก็คือความสวย // สุทินทับทิมทองรุ่นพี่ที่สนิทสนมกับประโนตย์เล่าว่าปัจจุบันความสวยของสาวประเภทสอง แต่สำหรับเมื่อ 35 ปีก่อนประโนตย์สวยเกินกว่าผู้หญิงบางคนและไม่มีสาวประเภท 2 // ประโนตย์เกิดเมื่อปี 2481 เป็นบุตรของนายยงค์และหม่อมหลวงหญิงบุญนาควิเศษแพทย์ 5 คน และค่อย ๆ ย่านซอยสวนพลูประมาณปี 2492 และการสนับสนุนของผู้เป็นแม่ กรมศิลปากรหรือวิทยาลัยนาฏศิลปในปัจจุบัน "สีดา" แล้ว จมูกโด่งเป็นสัน "พระ" ฝึกฝนเป็น "ตัวนาง" การสวมบทบาทสตรีเพศและความอ่อนหวานงดงามของศิลปะ ศราคนี เล่าว่า "ขณะนั้นเป็นช่วงหลังภาวะสงคราม ๆ ๆ ร่วมกับทางโรงเรียนถือเป็นการปฏิบัติราชการ 8 บาท แต่นั่นไม่สำคัญสำหรับประโนตย์ ประโนตย์ในวัย 14 ปี 3 2495 โดยร่วมกับเพื่อนในกลุ่มเดียวกัน ๆ "สีดา" "สีดา" คือนางในวรรณคดีไทยเรื่องรามเกียรติ ทศกัณฐ์ต้องลุ่มหลงหมู่ยักษาต่างเข่นฆ่ากันเพื่อแย่งชิงตัวนางสีดา 3 ปีในโรงเรียนนาฏศิลป์ แต่ความสวยของประโนตย์ หรือสุรพลโท ณ วณิกได้มีโอกาสชมการแสดงของประโนตย์ จึงกลายเป็นต้นกำเนิดของบทเพลง "สีดา" ในอีก 22 ปีต่อมาแต่ภาพของหญิงสาวที่งดงาม เพราะหลังจากการแสดงจบลงประโนตย์ต้องสลับคราบความเป็นหญิง เพราะสภาพสังคมไทยในขณะนั้น อย่างเช่นสะพานพุทธ ก็คือบ้านผิดกับเพื่อนหลายคนในกลุ่มเดียวกัน แต่เวลาที่ล่วงเลยมาถึง 35 ปี






















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!


17 พฤษภาคม 2510






ที่โชคชะตากำหนดให้เกิดมาอยู่ในเพศเดียวกันหนังสือพิมพ์พาดหัวข่าวโศกนาฏกรรมรักของคนคู่หนึ่งเพียงชั่วข้ามคืนเหตุการณ์นี้ได้เลือนหายไปความทรงจำของคนไทยก่อนที่ถูกนำกลับมาย้ำเตือนอีกครั้งในอีก 22 ปีต่อมาในรูปแบบของบทเพลง

บทเพลง " สีดา " กล่าวถึงความรักที่มีต่อกันอย่างลึกซึ้งระหว่างชาย 2 คนแต่สุดท้ายกลับต้องจบลงด้วยการกระทำอัตวินิตบาตกรรมของคนทั้งคู่เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความซาบซึ้งและทำให้ " แจ้ " ดนุพลแก้วกาญจน์สุรพลโทณะวณิกช่วยถ่ายทอดเป็นบทเพลงในปี 2532



" สีดา " เป็นเรื่องราวจากชีวิตจริงเมื่อ . 2510 ของสาวประเภทสองที่ชื่อประโนตย์วิเศษแพทย์แต่บางส่วนของเรื่องราวที่ผู้แต่งจำเป็นต้องดัดแปลงไปทำให้มีบางเสี้ยวของเหตุการณ์ต่างไปจากความเป็นจริง

" สีดา " ในบทเพลงหมายถึงนางเอกนาฏศิลป์โขนของกรมศิลปากรเมื่อเกือบ 40 ปีก่อนหากแต่ชีวิตจริงประโนตย์วิเศษแพทย์กลับแทบไม่เคยออกแสดงในบทบาทนี้และสร้างชื่อเสียงให้กับกรมศิลปากรเลย

แต่สิ่งที่ทำให้ประโนตย์โดดเด่นมากที่สุดในยุคนั้นก็คือความสวย / / สุทินทับทิมทองรุ่นพี่ที่สนิทสนมกับประโนตย์เล่าว่าปัจจุบันความสวยของสาวประเภทสองเป็นเรื่องธรรมดาที่สามารถพบเห็นได้ทั่วไปแต่สำหรับเมื่อปีก่อนประโนตย์สวยเกินกว่าผู้หญิงบางคนและไม่มีสาวประเภทคนใดเทียบได้
2
ปัจจุบันมีหลักฐานและภาพถ่ายของประโนตย์เหลืออยู่ไม่มากนัก / / ประโนตย์เกิดเมื่อปี 2481 เป็นบุตรของนายยงค์และหม่อมหลวงหญิงบุญนาควิเศษแพทย์ซึ่งครอบครัวมีฐานะดี

ประโนตย์มีพี่น้องทั้งหมด 5 คนและด้วยความที่เป็นบุตรชายเพียงคนเดียวของบ้านจึงเปรียบเสมือนแก้วตาดวงใจของพ่อแม่ประโนตย์เติบโตขึ้นท่ามกลางการถูกรุมล้อมด้วยพี่น้องที่เป็นผู้หญิงทั้งสี่และค่อยไม่มี
หลังเรียนจบระดับประถมที่โรงเรียนใกล้บ้านย่านซอยสวนพลูประมาณปี 2492 ด้วยความสนใจในการแสดงตั้งแต่เยาว์วัยและการสนับสนุนของผู้เป็นแม่ประโนตย์จึงตัดสินใจสอบเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนนาฏศิลป์

โรงเรียนนาฏศิลปกรมศิลปากรค็อควิทยาลัยนาฏศิลปในปัจจุบันนอกจากจะเป็นจุดเริ่มต้นซึ่งต่อมาทำให้ประโนตย์เป็นที่รู้จักในชื่อของ " สีดา " แล้ว
หน้าตาที่คมคายจมูกโด่งเป็นสันในครั้งแรกประโนตย์ถูกเลือกให้ฝึกฝนเป็น " พระ " ตัวแสดงสำคัญที่ต้องมีการคัดสรรอย่างพิถีพิถันมาตั้งแต่ครั้งโบราณ

แต่บุคลิกท่าทางเรียบร้อยนุ่มนวลที่ซึมซับจากบุคคลรอบข้างมาตั้งแต่วัยเด็กต่อมาครูผู้สอนจึงเปลี่ยนให้ประโนตย์ฝึกฝนเป็น " ตัวนาง "

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: