๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติ การแปล - ๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติ ไทย วิธีการพูด

๑. ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อ

๑. ประวัติความเป็นมา
บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์ พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรี เนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชาม จึงนำใบตองมาทำเป็นกระทงสำหรับใส่อาหารในพิธีการต่างๆ รวมทั้งพิธีบายศรี
และอีกประการหนึ่งคือ รูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวร ตลอดจนเครื่องสังเวยนั้นมีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์ เช่น ไข่ แตงกวา มะพร้าว รวมถึงพิธีการ เช่น การเวียนเทียน การเจิม และพิธีการต่าง ๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น
ความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่า พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสานและชาวเหนือ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น ดังนั้นวิถีการดำเนินชีวิตแทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่น จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง เป็นการเรียกร้องพลังทางจิต ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่างๆ ได้ การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคล ทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่น มีโชคลาภมากขึ้น และอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญนี่เอง
ประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมร เพราะคำว่า “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า ข้าวสุก ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิ่งขวัญ พิธีบายศรีสู่ขวัญ ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่ง
ในการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญจะมีเครื่องใช้สำคัญอยู่ ๒ อย่าง คือเครื่องบูชาพาขวัญหรือเครื่องบายศรีตามประเพณี และด้ายดิบนำมาจับเป็นวงยาวพอที่จะผูกรอบแขนหรือรอบข้อมือได้ ในการจัดเครื่องบายศรีนี้ ถือว่าเป็นของสูงเพราะเป็นเครื่องสังเวยเทพยดา ดังนั้นจะต้องจัดด้วยพานแล้วนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรี
ประเพณีการสู่ขวัญที่ทำในปัจจุบันนี้ยังมีอยู่เพียงการสู่ขวัญบางประเภท เท่านั้น เช่น การสู่ขวัญนาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย สู่ขวัญขึ้นบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควายและวัว ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจุบัน สัตว์และสิ่งของบางอย่างได้หมดความสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว จึงค่อยๆ เลิกไปในที่สุด
๒. คำจำกัดความ ความหมายและประเภทของการสู่ขวัญ
คำว่า บายศรี แปลว่า ข้าวที่เป็นมงคล เป็นสัญลักษณ์ของพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตตามพจนานุกรมแปลว่า ภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพื่อเป็นสำรับใส่อาหารคาวหวานในพิธีสังเวยบูชาและพิธีทำขวัญต่างๆ ”
คำว่า “ขวัญ” เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างหน้าตาปรากฏให้เห็น ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ แต่จะสังเกตได้ด้วยความรู้สึก ถ้าขวัญของผู้ใดอยู่กับตัวผู้นั้นจะมีความสุขกายสบายใจเป็นปรกติ แต่ถ้าขวัญของผู้ใดหลบลี้หนีหายผู้นั้นจะมีลักษณะอาการตรงกันข้าม พิธีบายศรีสู่ขวัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ คนไทยเชื่อว่าเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมเพิ่มพลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มั่นคงพลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่งผลให้การประกอบภาระกิจหน้าที่นั้น ๆ บรรลุผลสำเร็จได้ตามความมุ่งหมายสรุปว่า ขวัญเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณ ขวัญเป็นสิ่งที่มีอยู่กับคนที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น คนที่ตายไปแล้วจะไม่มีการกล่าวเรียกขวัญ การประกอบพิธีทำขวัญ
ประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ (ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ) มีการพันสายสิญจน์ไว้โดยรอบเพื่อใช้ผูกข้อมือผู้รับขวัญ ผู้นำทำพิธีเรียกว่า หมอขวัญ
พิธีบายศรีสู่ขวัญ บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทย และคนลาว ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน้าที่รักษาประคับประคองชีวิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแห่ง การทำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หนีหายไปให้เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาท
การสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิธีบายศรีสู่ขวัญ” เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ๆ ยังคงเหมือนกัน พิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี “ขวัญ” ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้นพิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว คนไทยส่วนใหญ่ยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมที่มีมาแต่เดิมเราจะเห็นว่าคนไทยมีการทำพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงสำคัญของชีวิต เช่น รับขวัญเด็ก ทำขวัญนาค พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับคนสำคัญ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับขวัญอยู่เป็นเนืองนิจ”

๓. วัตถุประสงค์และโอกาสที่ทำพิธี
การบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสา
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
๑ . ประวัติความเป็นมาบายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรีเนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชามจึงนำใบตองมาทำเป็นกระทงสำหรับใส่อาหารในพิธีการต่าง ๆ รวมทั้งพิธีบายศรีและอีกประการหนึ่งคือรูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวรตลอดจนเครื่องสังเวยนั้นมีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์เช่นไข่แตงกวามะพร้าวรวมถึงพิธีการเช่นการเวียนเทียนการเจิมและพิธีการต่างๆ เหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้นความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่า พิธีบายศรีสู่ขวัญ เป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสานและชาวเหนือ เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจ เพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้น ดังนั้นวิถีการดำเนินชีวิตแทบทุกอย่างจึงมักจะมีการสู่ขวัญควบคู่กันไปเสมอ การสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคล ชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่น จิตใจเข้มแข็ง โชคดียิ่งขึ้น ปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดี หายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง เป็นการเรียกร้องพลังทางจิต ช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็ง สามารถฟันฝ่าภัยพิบัติต่างๆ ได้ การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคล ทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่น มีโชคลาภมากขึ้น และอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวง ด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญนี่เองประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอน แต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมร เพราะคำว่า “บาย” เป็นภาษาเขมรแปลว่า ข้าวสุก ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิ่งขวัญ พิธีบายศรีสู่ขวัญ ยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไร ผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าเริ่มมีการทำขวัญตั้งแต่เมื่อใด เพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์ โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า “ขวัญ” จะมีประจำกายของทุกคน มีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษา ขวัญเป็นเหมือนพี่เลี้ยงที่คอยดูแลประคับประคองชีวิต ติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่งในการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญจะมีเครื่องใช้สำคัญอยู่ ๒ อย่าง คือเครื่องบูชาพาขวัญหรือเครื่องบายศรีตามประเพณี และด้ายดิบนำมาจับเป็นวงยาวพอที่จะผูกรอบแขนหรือรอบข้อมือได้ ในการจัดเครื่องบายศรีนี้ ถือว่าเป็นของสูงเพราะเป็นเครื่องสังเวยเทพยดา ดังนั้นจะต้องจัดด้วยพานแล้วนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรีประเพณีการสู่ขวัญที่ทำในปัจจุบันนี้ยังมีอยู่เพียงการสู่ขวัญบางประเภท เท่านั้น เช่น การสู่ขวัญนาค สู่ขวัญบ่าวสาว สู่ขวัญคนป่วย สู่ขวัญขึ้นบ้านใหม่ สู่ขวัญข้าว สู่ขวัญคนธรรมดา และสู่ขวัญควายและวัว ทั้งนี้อาจมีสาเหตุเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพ ของสังคมในปัจจุบัน สัตว์และสิ่งของบางอย่างได้หมดความสำคัญในชีวิตประจำวันไปแล้ว จึงค่อยๆ เลิกไปในที่สุด๒. คำจำกัดความ ความหมายและประเภทของการสู่ขวัญคำว่าบายศรีแปลว่าข้าวที่เป็นมงคลเป็นสัญลักษณ์ของพิธีกรรมที่เกี่ยวข้องกับชีวิตตามพจนานุกรมแปลว่าภาชนะที่จัดตกแต่งให้สวยงามเป็นพิเศษด้วยใบตองและดอกไม้สดเพื่อเป็นสำรับใส่อาหารคาวหวานในพิธีสังเวยบูชาและพิธีทำขวัญต่างๆ"คำว่า “ขวัญ” เป็นนามธรรม ไม่มีรูปร่างหน้าตาปรากฏให้เห็น ไม่สามารถจับต้องหรือสัมผัสได้ แต่จะสังเกตได้ด้วยความรู้สึก ถ้าขวัญของผู้ใดอยู่กับตัวผู้นั้นจะมีความสุขกายสบายใจเป็นปรกติ แต่ถ้าขวัญของผู้ใดหลบลี้หนีหายผู้นั้นจะมีลักษณะอาการตรงกันข้าม พิธีบายศรีสู่ขวัญที่ปฏิบัติสืบต่อกันมาถึงปัจจุบันนี้ คนไทยเชื่อว่าเป็นพิธีกรรมหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมเพิ่มพลังใจให้เข้มแข็ง เมื่อมีขวัญที่มั่นคงพลังใจที่เข้มแข็งดีแล้ว ย่อมส่งผลให้การประกอบภาระกิจหน้าที่นั้น ๆ บรรลุผลสำเร็จได้ตามความมุ่งหมายสรุปว่า ขวัญเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมาแต่โบราณ ขวัญเป็นสิ่งที่มีอยู่กับคนที่ยังมีชีวิตอยู่เท่านั้น คนที่ตายไปแล้วจะไม่มีการกล่าวเรียกขวัญ การประกอบพิธีทำขวัญประเพณีบายศรีสู่ขวัญใช้เครื่องเชิญขวัญที่เรียกว่า บายศรี ทำด้วยใบตอง รูปคล้ายกระทง เป็นชั้น ๆ มีขนาดใหญ่เล็กสอบขึ้นไปตามลำดับ เป็น ๓ ชั้น ๕ ชั้น ๗ ชั้น หรือ ๙ ชั้น มีเสาปักตรงกลางเป็นแกน มีเครื่องสังเวยวางอยู่ในบายศรี และมีไข่ขวัญ (ไข่ต้ม) เสียบอยู่บนยอดบายศรี มีหลายประเภท เช่น บายศรีตอง บายศรีปากชาม บายศรีใหญ่ (ภาษาเขมร บาย = ข้าว + ศรี = สิริ หมายความว่า ข้าวอันเป็นสิริหรือข้าวขวัญ) มีการพันสายสิญจน์ไว้โดยรอบเพื่อใช้ผูกข้อมือผู้รับขวัญ ผู้นำทำพิธีเรียกว่า หมอขวัญพิธีบายศรีสู่ขวัญ บางครั้งก็เรียกว่า พิธีบายศรี, พิธีสู่ขวัญ, พิธีทำขวัญ, พิธีรับขวัญ เป็นประเพณีอย่างหนึ่งของคนไทย และคนลาว ด้วยความเชื่อที่ว่า ทุกคนเกิดมาพร้อมกับสิ่งนามธรรมอย่างหนึ่งที่เรียกกันว่า “ขวัญ” ซึ่งมีหน้าที่รักษาประคับประคองชีวิตและติดตามเจ้าของไปทุกหนแห่ง การทำพิธีสู่ขวัญจึงเป็นการเชิญขวัญที่หนีหายไปให้เข้ามาอยู่กับตัว และเชื่อว่าเป็นการส่งเสริมพลังใจให้เข้มแข็ง มีสติและไม่ประมาทการสู่ขวัญ พิธีสู่ขวัญ” หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “พิธีบายศรีสู่ขวัญ” เป็นพิธีเก่าแก่ของชาวไทยแทบทุกภาค การทำพิธีอาจจะผิดแผกแตกต่างกันไปบ้าง แต่หลักใหญ่ๆ ยังคงเหมือนกัน พิธีสู่ขวัญนี้จะทำกันได้ในทุกโอกาส ทั้งในมูลเหตุแห่งความดีและไม่ดี พิธีสู่ขวัญจึงเป็นได้ทั้งการแสดงความชื่นชมยินดี และเป็นการปลอบใจให้เจ้าของขวัญ ตามความเชื่อที่ว่าคนเราเมื่อเกิดมาในโลกจะมี “ขวัญ” ประจำกายคอยช่วยพิทักษ์รักษาเจ้าของขวัญให้มีความสวัสดี ดังนั้นพิธีสู่ขวัญจึงถือเป็นประเพณีสำคัญที่จะทำพิธีเรียกขวัญให้มาสถิตอยู่กับตัว คนไทยส่วนใหญ่ยึดถือและปฏิบัติตามประเพณีวัฒนธรรมที่มีมาแต่เดิมเราจะเห็นว่าคนไทยมีการทำพิธีกรรมต่าง ๆ ในช่วงสำคัญของชีวิต เช่น รับขวัญเด็ก ทำขวัญนาค พิธีบายศรีสู่ขวัญต้อนรับคนสำคัญ ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับขวัญอยู่เป็นเนืองนิจ”๓. วัตถุประสงค์และโอกาสที่ทำพิธีการบายศรีสู่ขวัญ เป็นวัฒนธรรมอันดีของชาวอีสา
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
๑ . ประวัติความเป็นมา
บายศรีนั้นมีข้อสันนิษฐานว่าได้ประดิษฐ์ขึ้นมาจากคติความเชื่อของพราหมณ์พิจารณาจากการนำใบตองมาประดิษฐ์บายศรีเนื่องด้วยใบตองนั้นเป็นของสะอาดบริสุทธิ์ไม่มีมลทินของอาหารเก่าให้แปดเปื้อนเหมือนการใช้ถ้วยชามรวมทั้งพิธีบายศรี
และอีกประการหนึ่งคือรูปร่างลักษณะของบายศรีที่ได้จำลองเขาพระสุเมรุซึ่งเป็นที่สถิตของพระอิศวรตลอดจนเครื่องสังเวยนั้นมีความเชื่อมาจากคติพราหมณ์เช่นไข่ corn มะพร้าวรวมถึงพิธีการเช่นการเวียนเทียนและพิธีการต่างจะเหล่านี้พราหมณ์เป็นผู้ประกอบพิธีทั้งสิ้น
ความสำคัญของพิธีบายศรีสู่ขวัญไว้ว่าพิธีบายศรีสู่ขวัญเป็นพิธีที่สำคัญของชาวอีสานและชาวเหนือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับขวัญและจิตใจเพื่อให้เกิดขวัญและกำลังใจที่ดีขึ้นการสู่ขวัญจะช่วยให้เกิดศิริมงคลชีวิตอยู่ด้วยความราบรื่นจิตใจเข้มแข็งโชคดียิ่งขึ้นปัดเป่าสิ่งที่ไม่ดีหายจากสรรพเคราะห์ทั้งปวงเป็นการเรียกร้องพลังทางจิตช่วยให้มีพลังใจที่เข้มแข็งได้การสู่ขวัญช่วยทำให้เกิดมงคลทำให้ดำรงอยู่ด้วยความสุขราบรื่นมีโชคลาภมากขึ้นและอาจดลปรารถนาให้ผู้ที่เคราะห์ร้ายพ้นจากสรรพเคราะห์ทั้งปวงด้วยมูลเหตุแห่งการสู่ขวัญนี่เอง
ประวัติความเป็นมาของพิธีบายศรีนั้นไม่มีหลักฐานแน่นอนแต่มีข้อสันนิษฐานว่าน่าจะมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาโดยเชื่อว่าบายศรีนี้น่าจะได้คติมาจากพราหมณ์ซึ่งเข้ามาทางเขมรเพราะคำว่า " บาย " เป็นภาษาเขมรแปลว่าส่วนคำว่า " ศรี " มาจากภาษาสันสกฤตตรงกับภาษาบาลีว่า " สิริ " แปลว่ามิ่งขวัญพิธีบายศรีสู่ขวัญยังไม่มีผู้ใดยืนยันได้อย่างชัดเจนว่าเป็นมาอย่างไรผู้ที่ทำขวัญหรือที่เรียกว่าหมอขวัญเพียงแต่สันนิษฐานว่าเห็นจะมีมาตั้งแต่สมัยดึกดำบรรพ์โดยความเชื่อของคนไทยเชื่อกันว่าบรรดาคนทั้งหลายที่เกิดมาในโลกมีธรรมชาติอย่างหนึ่งเรียกกันว่า " ขวัญ " จะมีประจำกายของทุกคนมีหน้าที่ในการพิทักษ์รักษาติดตามเจ้าของไปทุกหนทุกแห่ง
ในการทำพิธีบายศรีสู่ขวัญจะมีเครื่องใช้สำคัญอยู่๒อย่างคือเครื่องบูชาพาขวัญหรือเครื่องบายศรีตามประเพณีและด้ายดิบนำมาจับเป็นวงยาวพอที่จะผูกรอบแขนหรือรอบข้อมือได้ในการจัดเครื่องบายศรีนี้ดังนั้นจะต้องจัดด้วยพานแล้วนำใบตองมาเย็บเป็นบายศรี
ประเพณีการสู่ขวัญที่ทำในปัจจุบันนี้ยังมีอยู่เพียงการสู่ขวัญบางประเภทเท่านั้นเช่นการสู่ขวัญนาคสู่ขวัญบ่าวสาวสู่ขวัญคนป่วยสู่ขวัญขึ้นบ้านใหม่สู่ขวัญข้าวสู่ขวัญคนธรรมดาและสู่ขวัญควายและวัว
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: