Transcript of "ทำความรู้จักAnimation"
1. ทำควำมรู้จัก ANIMATION Punsupa Porthanee
2. ควำมหมำย • "การสร้างภาพเคลื่อนไหว" ด้วยการนาภาพนิ่งมาเรียงลาดับกันและแสดงผล อย่างต่อเนื่อง ทาให้ดวงตาเห็นภาพที่มีการเคลื่อนไหวในลักษณะภาพติดตา (Persistence of Vision) เมื่อตามนุษย์มองเห็นภาพที่ฉา่่ ย อย่างต่อเนื่อง เรตินาระรักษาภาพนี้ ไว้ในระยะสั้นๆ ประมาณ 1/3 วินาที หากมีภาพอื่นแทรกเข้ามาในระยะเวลาดังกล่าว สมองของมนุษย์จะเชื่อมโยง ภาพทั้งสองเข้าด้วยกันทาให้เห็นเป็นภาพเคลื่อนไหวที่มีความต่อเนื่องกัน
3. แอนิเมชั่นแบบดั้งเดิม (Traditional animation) • โดยทั่วไปเรียก Cel Animation • เป็นการสร้างชิ้นงานแอนิเมชั่นด้วย ภาพวาดซึ่งจะมีการวาดภาพลงบน กระดาษก่อน เพื่อสร้างภาพลวงตาของ การเคลื่อนไหว แต่ละรูปวาดจะ แตกต่างกันเล็กน้อย หลายพันภาพ และฉายภาพเหล่านั้นผ่านกล้อง บันทึกภาพ หรือกล้องวิดีโอ การทาแอ นิเมชั่นต้องอาศัยความสามารถทาง ศิลปะในการวาดภาพอย่างมาก จึงทา ให้ต้องใช้เวลาในการผลิตนานและ ต้นทุนในการผลิตจึงสูงตามไปด้วย
4. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) เป็นแอนิเมชั่นที่แอนิเมเตอร์ต้องสร้างส่วน ประกอบต่างๆ ของภาพขึ้ นด้วยวิธีอื่น นอกเหนือจากการวาดบนแผ่นกระดาษหรือแผ่นเซล และยังต้องยอมเมื่อยมือขยับ รูปร่างท่าทางของส่วนประกอบเหล่านั้นทีละนิดๆ แล้วใช้กล้องถ่ายไว้ทีละเฟรม ๆ สต็อปโมชั่นมีเทคนิคทาได้หลากหลาย เช่น • เคลย์แอนิเมชั่น (Clay animation) • คัตเอาต์แแอนิเมชั่น (Cutout animation) • กราฟิกแอนิเมชั่น (Graphic animation) • แอนิเมชั่นที่เล่นกับวัตถุอื่นๆ (Object animation) • พิกซิลเลชั่น (Pixilation)
5. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) เคลย์แอนิเมชั่น (Clay animation) • คือแอนิเมชั่นที่ใช้หุ่นซึ่งทาจากดิน เหนียว ขี้ผึ้ง หรือวัสดุใกล้เคียง โดยใส่โครงลวดไว้ข้างในเพื่อให้ ดัดท่าทางได้ Wallace & Gromit
6. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) คัตเอำต์แแอนิเมชั่น (Cutout animation) • สมัยก่อนแอนิเมชั่นแบบนี้ ทาโดยใช้วัสดุ 2 มิติ (เช่น กระดาษ, ผ้า) ตัดเป็น รูปต่างๆ และนามาขยับเพื่อถ่ายเก็บไว้ทีละเฟรม แต่ปัจจุบันใช้วิธีวาดหรือ สแกนภาพเข้าไปขยับในคอมพิวเตอร์ได้เลย Not Another Wold
7. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) กรำฟิ กแอนิเมชั่น (Graphic animation) • เกิดจากการนากล้องมาถ่ายภาพนิ่งต่างๆ ที่ เราเลือกไว้ (เช่น ภาพจากนิตยสาร หนังสือพิมพ์) ทีละภาพ ทีละเฟรม แล้ว นามาตัดต่อเข้าด้วยกันเหมือนเทคนิ ค คอลลาจ (collage – ปะติด) โดยอาจ ใช้เทคนิคแอนิเมชั่นแบบอื่นมาประกอบด้วย ก็ได้ (เช่น ใช้ทาแบ็คกราวด์) ผลที่ได้จะเป็น เหมือนชุดภาพนิ่งที่ถูกฉายต่อกันไปเรื่อยๆ ซึ่งจะน่าสนใจแค่ไหนก็ขึ้นอยู่กับภาพที่เลือก มา จังหวะการตัดต่อ และเรื่องที่เล่า DiGi "Birds"
8. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) แอนิเมชั่นที่เล่นกับวัตถุอื่นๆ (Object animation) • ไม่ว่าจะเป็นของเล่น หุ่น ตุ๊กตา ตัวต่อเลโก้ ฯลฯ อะไร ก็ตามที่ไม่ใช่วัสดุซึ่งดัดแปลง รูปร่างหน้าตาได้แบบดินเหนียว The Nightmare Before Christmas
9. แอนิเมชั่นแบบสต๊อปโมชั่น (Stop Motion) • พิกซิลเลชั่น (Pixilation) • เป็นสต็อปโมชั่นที่ใช้คนจริงๆ มา ขยับท่าทางทีละนิดแล้วถ่ายไว้ที ละเฟรม เทคนิคนี้ เหมาะมากถ้า เราทาแอนิเมชั่นที่มีหุ่นแสดง ร่วมกับคน และอยากให้ทั้ง หุ่น ทั้งคนดูเคลื่อนไหวคล้ายคลึงกัน หรือที่อยากได้อารมณ์กระตุกๆ
10. แอนิเมชั่นที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Animation) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ • แอนิเมชั่น 2 มิติ (2D animation) • แอนิเมชั่น 3 มิติ (3D animation)
11. แอนิเมชั่น 2 มิติ (2D animation) • แอนิเมชั่นที่สร้างส่วนประกอบ ต่างๆ ของภาพและตัดต่อบน คอมพิวเตอร์ด้วยหน้าตาแบบงาน กราฟฟิก 2 มิติ คือ สามารถ มองเห็นได้ทั้งความสูงและความ กว้าง แอนิเมชั่นที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Animation) ปังปอนด์ เดอะซี่รี่ส์
12. แอนิเมชั่นที่ทำด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer Animation) แอนิเมชั่น 3 มิติ (3D animation) • หมายถึงแอนิเมชั่นที่ทาด้วย คอมพิวเตอร์โดยใช้โปรแกรมที่ทา ให้ภาพมีมิติสมจริง สามารถ มองเห็นได้ทั้งความสูง ความ กว้าง และความลึก Frozen