วังเจ้าเมืองพัทลุงที่ตั้งหมู่ที่ ๔ ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงปร การแปล - วังเจ้าเมืองพัทลุงที่ตั้งหมู่ที่ ๔ ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุงปร ไทย วิธีการพูด

วังเจ้าเมืองพัทลุงที่ตั้งหมู่ที่ ๔

วังเจ้าเมืองพัทลุง
ที่ตั้ง
หมู่ที่ ๔ ตำบลลำปำ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง
ประวัติความเป็นมา
วังเจ้าเมืองพัทลุงประกอบด้วย "วังเก่า" และ "วังใหม่" เหตุที่เรียกเรือนที่พักเจ้าเมืองพัทลุงว่า "วัง" นั้น มีผู้อธิบายไว้ว่า เจ้าเมืองคือ ผู้เป็นเจ้าแห่งเมือง มีอำนาจสิทธิ์ขาดในบ้านเมืองโดยได้รับพระราชทานอาญาสิทธิ์จากพระมหากษัตริย์ หรือเรียกกันอีกอย่างว่า "กินเมือง" เจ้าเมืองมีอำนาจและฐานะต่างพระเนตรพระกรรณ ย่อมถือเสมอว่าเป็นเจ้า ที่อยู่ของท่านเจ้าเมืองจึงต้องเรียกว่า "วัง"
ด้วย วังเก่าผู้สร้างและเป็นเจ้าของวัง คือ พระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ.๒๔๑๒-๒๔๓๑ แต่ก่อนโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นเจ้าเมืองพัทลุง ท่านเป็นเจ้าเมืองปะเหลียนหัวเมืองจัตวาขึ้นกับเมืองพัทลุง ในปี พ.ศ.๒๔๑๐ ภายหลังพระยาพัทลุง (ทับ) ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคลมปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ มีพระประสงค์จะให้พระยาวรนารถสัมพันธ์พงษ์ (น้อย) เจ้าเมืองปะเหลียน มาเป็นเจ้าเมืองพัทลุง แต่ยังไม่ทันโปรดเกล้า ฯ พระองค์ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อน พระยาวรนาถสัมพันธ์พงษ์ (น้อย) จึงรั้งเมืองพัทลุง (รักษาราชการเจ้าเมืองพัทลุง)

จนเมื่อ พ.ศ.๒๔๑๒ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จึงโปรดเกล้า ฯ แต่งตั้งให้เป็น พระยาอภัยบริรักษ์จักรวิชิตพิพิธภักดีพิริยพาหะ เจ้าเมืองพัทลุง พระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ได้สร้างที่พำนัก ซึ่งใช้เป็นที่ว่าราชการเมืองด้วย แต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใด ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองพัทลุงอยู่ ๑๙ ปี จนถึง พ.ศ.๒๔๓๑ จึงได้กราบทูลลาออกจากราชการ ด้วยมีความชราภาพและทุพพลภาพจักษุมืดมัวแลไม่เห็นทั้งสองข้าง เข้าใจว่าตาเป็นต้อกระจก ซึ่งในสมัยนั้นไม่มีทางรักษาให้หายได้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นจางวางกำกับราชการ (ที่ปรึกษาราชการ) และพระราชทานราชทินนามให้เป็นพระยาวรวุฒิไวยวัฒลุงควิสัยอิศรศักดิ์พิรักษ์ราชกิจนริศราชภักดีอภัยพิริยพาหะและโปรดเกล้า ฯ ให้หลวงจักรานุชิต (เนตร) บุตรชายคนโตซึ่งเป็นผู้ช่วยราชการเมืองพัทลุงอยู่นั้น เป็นพระยาอภัยบริรักษ์ ฯ เจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมา พระยาวรวุฒิไวย ฯ (น้อย) ได้พำนักอยู่ที่วังเก่าจนถึงอนิจกรรมเมื่อปี พ.ศ.๒๔๔๖ วังเก่าจึงตกเป็นมรดกแก่บุตรชายของท่าน คือหลวงศรีวรวัตร (พิณ จันทโรจวงศ์) หลังจากนั้นก็ตกเป็นมรดกของคุณยายประไพ มุตตามระ บุตรีของหลวงศรีวรวัตร ซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานของพระยาวรวุฒิไวย ฯ ก่อนจะมอบให้แก่กรมศิลปากร
วังใหม่พระยาอภัยบริรักษ์ ฯ (เนตร) เป็นผู้สร้างวังใหม่ ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นพระยาอภัยบริรักษ์ ฯ เจ้าเมืองพัทลุง เมื่อปี พ.ศ.๒๔๓๔ วังใหม่สร้างขึ้นด้านหลังวังเก่าทางด้านทิศใต้ติดกับคลองลำปำ จึงมีชาวบ้านเรียกวังใหม่นี้ว่า "วังชายคลอง" หรือ "วังใหม่ชายคลอง" แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกเท่าชื่อ "วังใหม่"
ช่วงที่พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) ปกครองเมืองพัทลุง เป็นช่วงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีนโยบายปฏิรูปการปกครองหัวเมือง จากการปกครองระบบศักดินาแบบเดิมเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาล ขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย เป็นการรวมอำนาจการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาคขึ้นตรงกับองค์การบริหารส่วนกลาง การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค วิธีนี้ จึงเป็นการยกเลิกเจ้าผู้ครองนคร เจ้าเมือง เจ้าประเทศราช โดยปริยาย ปี พ.ศ.๒๔๓๙ โปรดเกล้า ฯ ให้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราช โดยเอาเมืองนครศรีธรรมราช สงขลาและพัทลุง เข้าเป็นมณฑล ถึงปี พ.ศ.๒๔๔๓ ได้มีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งเจ้าเมืองเป็นผู้ว่าราชการเมืองในระบบใหม่ พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) จึงเป็นเจ้าเมืองพัทลุงในระบบศักดินาคนสุดท้ายและเป็นผู้ว่าราชการเมืองพัทลุงในระบบใหม่คนแรก
เรือพัทลุงภายหลังการปฏิรูปการปกครองเป็นมณฑลนครศรีธรรมราช ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เมืองพัทลุงได้รวมเข้ากับมณฑลนครศรีธรรมราชโดยมีที่ทำการมณฑลอยู่ที่เมืองสงขลา เนื่องจากมณฑลนครศรีธรรมราช เป็นหัวเมืองชายทะเล เพื่อความสะดวกในการติดต่อคมนาคมต่อราชการของมณฑลนครศรีธรรมราช รัฐบาลกลางจึงได้จัดส่งเรือสำหรับใช้ประโยชน์ทางราชการไปประจำที่มณฑลนครศรีธรรมราช จำนวน ๓ ลำ คือเรือขนาดใหญ่ ๑ ลำ ขนาดกลาง ๑ ลำ และขนาดเล็ก ๑ ลำ เรือของทางราชการทั้ง ๓ ลำ ระยะแรกยังไม่มีชื่อที่แน่นอน ต่อเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ดำรงตำแหน่งเป็นข้าหลวงเทศาภิบาลและอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ (พ.ศ.๒๔๕๓-๒๔๖๙) จึงได้มีการขนานนามชื่อเรือทั้ง ๓ ลำ ดังนี้ เรือขนาดใหญ่ชื่อว่า "เรือมณฑลนครศรีธรรมราช"
เรือขนาดกลางชื่อว่า "เรือแหล่งพระราม" เรือขนาดเล็ก ชื่อว่า "เรือพัทลุง" เรือพัทลุงใช้ประโยชน์ในทางราชการในทะเลสาบและสถานที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะระหว่างเมืองสงขลากับพัทลุง และใช้เป็นเรือพระที่นั่งขององค์พระประมุขของประเทศอย่างน้อย ๒ ครั้ง คือเป็นเรือรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินี ในปี พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อครั้งเสด็จจากพระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ถึงเมืองสงขลา โดยเรือวลาลัย (เรือเมล์ของบริษัทอีสต์เอเชียติด) ทางเมืองสงขลาได้ใช้เรือพัทลุงออกรับเสด็จ จากเรือวลาลัยที่ปากอ่าวสงขลา เสด็จขึ้นฝั่งประทับ ณ ตำบลเขาน้อย ทรงประทับแรมที่สงขลาเดือนเศษ ขณะที่ประทับเมืองสงขลา พระองค์ได้เสด็จทางชลมารคหลายครั้งเพื่อชมทัศนียภาพในทะเลสาบสงขลา โดยใช้เรือพัทลุงเป็นเรือพระที่นั่ง
ในปี พ.ศ.๒๕๐๕ ใช้เรือพระที่นั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปัจจุบันพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จเมืองสงขลา ได้ประทับ ณ ตำหนักเขาน้อยและทรงเสด็จเยี่ยมพสกนิกรที่ตั้งบ้านเรือนตามชายฝั่งทะเลสาบสงขลา โดยเรือพัทลุงนำเสด็จในคราวนั้นด้วย
สิ่งสำคัญ
๑. วังเก่า ลักษณะเป็นเรือไทยแฝดสามหลัง ติดกันใต้ถุนสูง หลังที่ ๑ และ ๒ ทำเป็นห้องนอน หน้าห้องนอนของหลังที่ ๑ และ ๒ ปล่อยเป็นห้องโถงติดต่อกัน ห้องแม่ทานเป็นห้องที่ ๓ ลักษณะเป็นห้องยาวครอบคลุมพื้นที่แนวห้องโถงหน้าเรือนหลังที่ ๑ และ ๒ ด้วย การที่จะเข้าไปยังห้องแม่ทานจะต้องเข้าทางปร
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
วังเจ้าเมืองพัทลุงที่ตั้งหมู่ที่ ๔ ตำบลลำปำอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุงประวัติความเป็นมา วังเจ้าเมืองพัทลุงประกอบด้วย "วังเก่า" และ "วังใหม่" เหตุที่เรียกเรือนที่พักเจ้าเมืองพัทลุงว่า "วัง" นั้นมีผู้อธิบายไว้ว่าเจ้าเมืองคือผู้เป็นเจ้าแห่งเมืองมีอำนาจสิทธิ์ขาดในบ้านเมืองโดยได้รับพระราชทานอาญาสิทธิ์จากพระมหากษัตริย์หรือเรียกกันอีกอย่างว่า "กินเมือง" เจ้าเมืองมีอำนาจและฐานะต่างพระเนตรพระกรรณย่อมถือเสมอว่าเป็นเจ้าที่อยู่ของท่านเจ้าเมืองจึงต้องเรียกว่า "วัง" ด้วยวังเก่าผู้สร้างและเป็นเจ้าของวังคือพระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปีพ.ศ.๒๔๑๒- ๒๔๓๑ แต่ก่อนโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองพัทลุงท่านเป็นเจ้าเมืองปะเหลียนหัวเมืองจัตวาขึ้นกับเมืองพัทลุงในปีพ.ศ.๒๔๑๐ (ทับ) ภายหลังพระยาพัทลุงถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคลมปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ มีพระประสงค์จะให้พระยาวรนารถสัมพันธ์พงษ์ (น้อย) เจ้าเมืองปะเหลียนมาเป็นเจ้าเมืองพัทลุงแต่ยังไม่ทันโปรดเกล้าฯ พระองค์ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อนพระยาวรนาถสัมพันธ์พงษ์ (น้อย) จึงรั้งเมืองพัทลุง (รักษาราชการเจ้าเมืองพัทลุง) จนเมื่อพ.ศ.๒๔๑๒พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 จึงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็นพระยาอภัยบริรักษ์จักรวิชิตพิพิธภักดีพิริยพาหะเจ้าเมืองพัทลุงพระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ได้สร้างที่พำนักซึ่งใช้เป็นที่ว่าราชการเมืองด้วยแต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใดท่านดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองพัทลุงอยู่ ๑๙ ปีจนถึงพ.ศ.๒๔๓๑จึงได้กราบทูลลาออกจากราชการด้วยมีความชราภาพและทุพพลภาพจักษุมืดมัวแลไม่เห็นทั้งสองข้างเข้าใจว่าตาเป็นต้อกระจกซึ่งในสมัยนั้นไม่มีทางรักษาให้หายได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นจางวางกำกับราชการ (ที่ปรึกษาราชการ) และพระราชทานราชทินนามให้เป็นพระยาวรวุฒิไวยวัฒลุงควิสัยอิศรศักดิ์พิรักษ์ราชกิจนริศราชภักดีอภัยพิริยพาหะและโปรดเกล้าฯ ให้หลวงจักรานุชิต (เนตร) บุตรชายคนโตซึ่งเป็นผู้ช่วยราชการเมืองพัทลุงอยู่นั้นเป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมาพระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย) ได้พำนักอยู่ที่วังเก่าจนถึงอนิจกรรมเมื่อปีพ.ศ.๒๔๔๖วังเก่าจึงตกเป็นมรดกแก่บุตรชายของท่านคือหลวงศรีวรวัตร (พิณจันทโรจวงศ์)หลังจากนั้นก็ตกเป็นมรดกของคุณยายประไพมุตตามระบุตรีของหลวงศรีวรวัตรซึ่งมีศักดิ์เป็นหลานของพระยาวรวุฒิไวยฯ ก่อนจะมอบให้แก่กรมศิลปากร วังใหม่พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) ฯ เป็นผู้สร้างวังใหม่ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงเมื่อปีพ.ศ.๒๔๓๔วังใหม่สร้างขึ้นด้านหลังวังเก่าทางด้านทิศใต้ติดกับคลองลำปำจึงมีชาวบ้านเรียกวังใหม่นี้ว่า "วังชายคลอง" หรือ "วังใหม่ชายคลอง" แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกเท่าชื่อ "วังใหม่" ช่วงที่พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) ปกครองเมืองพัทลุงเป็นช่วงที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีนโยบายปฏิรูปการปกครองหัวเมืองจากการปกครองระบบศักดินาแบบเดิมเป็นระบบมณฑลเทศาภิบาลขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทยเป็นการรวมอำนาจการบริหารการปกครองส่วนภูมิภาคขึ้นตรงกับองค์การบริหารส่วนกลางการปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาควิธีนี้จึงเป็นการยกเลิกเจ้าผู้ครองนครเจ้าเมืองเจ้าประเทศราชโดยปริยายปีพ.ศ.๒๔๓๙โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราชโดยเอาเมืองนครศรีธรรมราชสงขลาและพัทลุงเข้าเป็นมณฑลถึงปีพ.ศ.๒๔๔๓ได้มีการปรับเปลี่ยนตำแหน่งเจ้าเมืองเป็นผู้ว่าราชการเมืองในระบบใหม่จึงเป็นเจ้าเมืองพัทลุงในระบบศักดินาคนสุดท้ายและเป็นผู้ว่าราชการเมืองพัทลุงในระบบใหม่คนแรกพระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) เรือพัทลุงภายหลังการปฏิรูปการปกครองเป็นมณฑลนครศรีธรรมราชในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมืองพัทลุงได้รวมเข้ากับมณฑลนครศรีธรรมราชโดยมีที่ทำการมณฑลอยู่ที่เมืองสงขลาเนื่องจากมณฑลนครศรีธรรมราชเป็นหัวเมืองชายทะเลเพื่อความสะดวกในการติดต่อคมนาคมต่อราชการของมณฑลนครศรีธรรมราชรัฐบาลกลางจึงได้จัดส่งเรือสำหรับใช้ประโยชน์ทางราชการไปประจำที่มณฑลนครศรีธรรมราชจำนวน ๓ ลำคือเรือขนาดใหญ่ ๑ ลำขนาดกลาง ๑ ลำและขนาดเล็ก ๑ ลำเรือของทางราชการทั้ง ๓ ลำระยะแรกยังไม่มีชื่อที่แน่นอนต่อเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ดำรงตำแหน่งเป็นข้าหลวงเทศาภิบาลและอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ (พ.ศ.๒๔๕๓- ๒๔๖๙) จึงได้มีการขนานนามชื่อเรือทั้ง ๓ ลำดังนี้เรือขนาดใหญ่ชื่อว่า "เรือมณฑลนครศรีธรรมราช" เรือขนาดกลางชื่อว่า "เรือแหล่งพระราม" เรือขนาดเล็ก ชื่อว่า "เรือพัทลุง" เรือพัทลุงใช้ประโยชน์ในทางราชการในทะเลสาบและสถานที่ต่าง ๆ โดยเฉพาะระหว่างเมืองสงขลากับพัทลุง และใช้เป็นเรือพระที่นั่งขององค์พระประมุขของประเทศอย่างน้อย ๒ ครั้ง คือเป็นเรือรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบรมราชินี ในปี พ.ศ.๒๔๗๖ เมื่อครั้งเสด็จจากพระราชวังไกลกังวล อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ถึงเมืองสงขลา โดยเรือวลาลัย (เรือเมล์ของบริษัทอีสต์เอเชียติด) ทางเมืองสงขลาได้ใช้เรือพัทลุงออกรับเสด็จ จากเรือวลาลัยที่ปากอ่าวสงขลา เสด็จขึ้นฝั่งประทับ ณ ตำบลเขาน้อย ทรงประทับแรมที่สงขลาเดือนเศษ ขณะที่ประทับเมืองสงขลา พระองค์ได้เสด็จทางชลมารคหลายครั้งเพื่อชมทัศนียภาพในทะเลสาบสงขลา โดยใช้เรือพัทลุงเป็นเรือพระที่นั่ง ในปีพ.ศ.๒๕๐๕ใช้เรือพระที่นั่งของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวปัจจุบันพร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถครั้งเสด็จเมืองสงขลาได้ประทับณตำหนักเขาน้อยและทรงเสด็จเยี่ยมพสกนิกรที่ตั้งบ้านเรือนตามชายฝั่งทะเลสาบสงขลาโดยเรือพัทลุงนำเสด็จในคราวนั้นด้วย สิ่งสำคัญ ๑ . วังเก่าลักษณะเป็นเรือไทยแฝดสามหลังติดกันใต้ถุนสูงหลังที่ ๑ และ ๒ ทำเป็นห้องนอนหน้าห้องนอนของหลังที่ ๑ และ ๒ ปล่อยเป็นห้องโถงติดต่อกันห้องแม่ทานเป็นห้องที่ ๓ ลักษณะเป็นห้องยาวครอบคลุมพื้นที่แนวห้องโถงหน้าเรือนหลังที่ ๑ และ ๒ ด้วยการที่จะเข้าไปยังห้องแม่ทานจะต้องเข้าทางปร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วังเจ้าเมืองพัทลุง
ที่ตั้ง
หมู่ที่ 4 ตำบลลำปำอำเภอเมือง "วังเก่า" และ "วังใหม่" "วัง" นั้นมีผู้อธิบายไว้ว่าเจ้าเมืองคือผู้เป็นเจ้าแห่งเมือง หรือเรียกกันอีกอย่างว่า "กินเมือง" ย่อมถือเสมอว่าเป็นเจ้า "วัง" ด้วยวังเก่าผู้สร้างและเป็นเจ้าของวังคือพระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปี พ.ศ. 2412-2431 แต่ก่อนโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองพัทลุง ในปี พ.ศ. 2410 ภายหลังพระยาพัทลุง (ทับ) ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคลมปัจจุบัน รัชกาลที่ 4 (น้อย) เจ้าเมืองปะเหลียนมาเป็นเจ้าเมืองพัทลุง แต่ยังไม่ทันโปรดเกล้าฯ พระองค์ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อนพระยาวรนาถสัมพันธ์พงษ์ (น้อย) จึงรั้งเมืองพัทลุง พ.ศ. 2412 รัชกาลที่ 5 จึงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้เป็น เจ้าเมืองพัทลุงพระยาอภัยบริรักษ์ (น้อย) ได้สร้างที่พำนักซึ่งใช้เป็นที่ว่าราชการเมืองด้วย 19 ปีจนถึง พ.ศ. 2431 จึงได้กราบทูลลาออกจากราชการ เข้าใจว่าตาเป็นต้อกระจก จึงโปรดเกล้าฯ ให้เป็นจางวางกำกับราชการ (ที่ปรึกษาราชการ) ฯ ให้หลวงจักรานุชิต (เนตร) เป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมาพระยาวรวุฒิไวยฯ (น้อย) พ.ศ. 2446 คือหลวงศรีวรวัตร (พิณจันทโรจวงศ์) มุตตามระบุตรีของหลวงศรีวรวัตร ฯ ฯ (เนตร) เป็นผู้สร้างวังใหม่ภายหลังได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯ เจ้าเมืองพัทลุงเมื่อปี พ.ศ. 2434 จึงมีชาวบ้านเรียกวังใหม่นี้ว่า "วังชายคลอง" หรือ "วังใหม่ชายคลอง" แต่ไม่เป็นที่นิยมเรียกเท่าชื่อ "วังใหม่" ช่วงที่พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) ปกครองเมืองพัทลุง ขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาควิธีนี้จึงเป็นการยกเลิกเจ้าผู้ครองนครเจ้าเมืองเจ้าประเทศราชโดยปริยายปี พ.ศ. 2439 โปรดเกล้าฯ ให้ตั้งมณฑลนครศรีธรรมราชโดยเอาเมืองนครศรีธรรมราชสงขลาและพัทลุงเข้าเป็นมณฑลถึงปี พ.ศ. 2443 พระยาอภัยบริรักษ์ (เนตร) เนื่องจากมณฑลนครศรีธรรมราชเป็นหัวเมืองชายทะเล จำนวน 3 ลำคือเรือขนาดใหญ่ 1 ลำขนาดกลาง 1 ลำและขนาดเล็ก 1 ลำเรือของทางราชการทั้ง 3 ลำระยะแรกยังไม่มีชื่อที่แน่นอนต่อเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ากรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ (พ.ศ. 2453-2469) จึงได้มีการขนานนามชื่อเรือทั้ง 3 ลำดังนี้เรือขนาดใหญ่ชื่อว่า "เรือแหล่งพระราม" เรือขนาดเล็กชื่อว่า "เรือพัทลุง" ๆ 2 ครั้ง ในปี พ.ศ. 2476 อำเภอหัวหินจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ถึงเมืองสงขลาโดยเรือวลาลัย (เรือเมล์ของ บริษัท อีสต์เอเชียติด) จากเรือวลาลัยที่ปากอ่าวสงขลาเสด็จขึ้นฝั่งประทับ ณ ตำบลเขาน้อยทรงประทับแรมที่สงขลาเดือนเศษขณะที่ประทับเมืองสงขลา พ.ศ. 2505 พระบรมราชินีนาถครั้งเสด็จเมืองสงขลาได้ประทับ ณ วังเก่าลักษณะเป็นเรือไทยแฝดสามหลังติดกันใต้ถุนสูงหลังที่ 1 และ 2 ทำเป็นห้องนอนหน้าห้องนอนของหลังที่ 1 และ 2 ปล่อยเป็นห้องโถงติดต่อกันห้องแม่ทานเป็นห้องที่ 3 1 และ 2 ด้วย












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วังเจ้าเมืองพัทลุง

หมู่ที่ที่ตั้งโตเกียวตำบลลำปำอำเภอเมืองจังหวัดพัทลุง

ประวัติความเป็นมาวังเจ้าเมืองพัทลุงประกอบด้วย " วังเก่า " และ " วังใหม่ " เหตุที่เรียกเรือนที่พักเจ้าเมืองพัทลุงว่า " วัง " นั้นมีผู้อธิบายไว้ว่าเจ้าเมืองคือผู้เป็นเจ้าแห่งเมืองหรือเรียกกันอีกอย่างว่า " กินเมือง " เจ้าเมืองมีอำนาจและฐานะต่างพระเนตรพระกรรณย่อมถือเสมอว่าเป็นเจ้าที่อยู่ของท่านเจ้าเมืองจึงต้องเรียกว่า " วัง "
ด้วยวังเก่าผู้สร้างและเป็นเจ้าของวังความพระยาอภัยบริรักษ์ ( น้อย ) ซึ่งเป็นเจ้าเมืองพัทลุงระหว่างปีพ . ศ .๒๔๑๒ - ๒๔๓๑แต่ก่อนโปรดเกล้าฯให้เป็นเจ้าเมืองพัทลุงท่านเป็นเจ้าเมืองปะเหลียนหัวเมืองจัตวาขึ้นกับเมืองพัทลุงสามารถพ . ศ .๒๔๑๐ภายหลังพระยาพัทลุง ( ทับ ) ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคลมปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่โตเกียวมีพระประสงค์จะให้พระยาวรนารถสัมพันธ์พงษ์ ( น้อย ) เจ้าเมืองปะเหลียนมาเป็นเจ้าเมืองพัทลุงฯพระองค์ก็เสด็จสวรรคตเสียก่อนพระยาวรนาถสัมพันธ์พงษ์ ( น้อย ) จึงรั้งเมืองพัทลุง ( รักษาราชการเจ้าเมืองพัทลุง )

จนเมื่อพ . ศ .๒๔๑๒พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 จึงโปรดเกล้าฯแต่งตั้งให้เป็นพระยาอภัยบริรักษ์จักรวิชิตพิพิธภักดีพิริยพาหะเจ้าเมืองพัทลุงพระยาอภัยบริรักษ์ ( น้อย ) ได้สร้างที่พำนักแต่ไม่ปรากฏหลักฐานแน่ชัดว่าสร้างในสมัยใดท่านดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองพัทลุงอยู่๑๙ . จนถึงพ .ศ๒๔๓๑จึงได้กราบทูลลาออกจากราชการด้วยมีความชราภาพและทุพพลภาพจักษุมืดมัวแลไม่เห็นทั้งสองข้างเข้าใจว่าตาเป็นต้อกระจกซึ่งในสมัยนั้นไม่มีทางรักษาให้หายได้
.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯให้เป็นจางวางกำกับราชการ ( ที่ปรึกษาราชการ )ฯให้หลวงจักรานุชิต ( เนตร ) บุตรชายคนโตซึ่งเป็นผู้ช่วยราชการเมืองพัทลุงอยู่นั้นเป็นพระยาอภัยบริรักษ์ฯเจ้าเมืองพัทลุงคนต่อมาพระยาวรวุฒิไวยฯ ( น้อย ) ได้พำนักอยู่ที่วังเก่าจนถึงอนิจกรรมเมื่อปีพ .
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: