5. การจ่ายชำระหนี้และได้รับส่วนลดเงินสด
วันที่ 11 สิงหาคม 25x3 บริษัทจ่ายชำระหนี้ที่ค้างทั้งหมดให้แก่ บริษัท เอกชัย และได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300
เครดิต เงินสด 95,400
ส่วนลดรับ 900
การคำนวณส่วนลด มีดังนี้
ซื้อ 100,000
หัก ส่งคืนและส่วนลด 10,000
คงเหลือ 90,000
ส่วนลดรับ 1% เท่ากับ 90,000 x 1% = 900 บาท
6. การรับชำระหนี้ และให้ส่วนลด
วันที่ 17 สิงหาคม 25x3 บริษัทได้รับชำระหนี้ที่คงค้างทั้งหมดจากร้านพิธาน และได้ให้ส่วนลดตามเงื่อนไข
เดบิต เงินสด 106,000
ส่วนลดจ่าย 1,000
เครดิต ลูกหนี้การค้า 107,000
การคำนวณส่วนลดจ่าย มีดังนี้
ขาย 114,000 บาท
หัก รับคืนและส่วนลด 14,000 บาท
คงเหลือ 100,000 บาท
ส่วนลดจ่าย 1% เท่ากับ 100,000 x 1% = 1,000 บาท
7. การนำส่งภาษีในวันสิ้นเดือน
เมื่อถึงวันสิ้นเดือนกิจการต้องปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายในกรณีที่ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อก็ต้องชำระภาษีในส่วนที่แตกต่างโดยบันทึกบัญชีเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย หรือเจ้าหนี้กรมสรรพากร แต่ถ้ากรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย จะบันทึกเดบิตบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืนหรือลูกหนี้กรมสรรพากร
เดบิต ภาษีขาย 7,000
เครดิต ภาษีซื้อ 6,300
ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย /
เจ้าหนี้-กรมสรรพากร 700
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง บริษัท เกษตรการไฟฟ้า จำกัด ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ7 ในระหว่างเดือนเมษายน 25x5 มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้
เม.ย. 2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจาก หจก. สินไทย 50 หน่วย เป็นเงิน 100,000บาท เงื่อนไขในการชำระเงิน 2/10, n/40 ภาษีซื้อ 7% ตามใบกำกับภาษีเลข
ที่ 7890 จำนวน 7,000 บาท
4 ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจาก หจก. สินไทย 5 หน่วย เป็นเงิน 10,000 บาท เนื่องจากเป็นสินค้ามีตำหนิ ตามใบลดหนี้เลขที่ 112
12 จ่ายชำระหนี้ให้ หจก. สินไทย ทั้งสิ้น ได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
15 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้ร้านนันทวัน 40 หน่วย ราคาหน่วยละ 3,000 บาท เงื่อนไข 1/10, n/30 ให้ส่วนลดการค้า 5% ภาษีขาย7% ตามใบกำกับ
ภาษีเลขที่ 1234 เป็นเงิน 7,980 บาท
19 รับคืนสินค้าที่ขายให้แก่ร้านนันทวัน 10 หน่วย เพราะชำรุด ตามใบลดหนี้ เลขที่ 412
23 จ่ายค่าโฆษณาให้แก่หนังสือพิมพ์ไทย 10,000 บาท เป็นเงินสด ภาษีซื้อ 7%
25 รับชำระหนี้จากร้านนันทวันทั้งสิ้น และให้ส่วนลดตามเงื่อนไข
30 ปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขาย
บันทึกบัญชีดังนี้
25x5
เม.ย. 2 เดบิต สินค้าคงเหลือ 100,000
ภาษีซื้อ 7,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 107,000
4 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 10,700
เครดิต สินค้าคงเหลือ 10,000
ภาษีซื้อ 700
12 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300
เครดิต เงินสด 94,500
สินค้าคงเหลือ 1,800
15 เดบิต ลูกหนี้การค้า 121,980
เครดิต ขาย 114,000
ภาษีขาย 7,980
15 เดบิต ต้นทุนสินค้าขาย 80,000
เครดิต สินค้าคงเหลือ 80,000
19 เดบิต รับคืนและส่วนลด 28,500
ภาษีขาย 1,995
เครดิต ลูกหนี้การค้า 30,495
19 เดบิต สินค้าคงเหลือ 20,000
เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 20,000
23 เดบิต ค่าโฆษณา 10,000
ภาษีซื้อ 700
เครดิต เงินสด 10,700
25 เดบิต เงินสด 90,630
ส่วนลดจ่าย 855
เครดิต ลูกหนี้การค้า 91,485
30 เดบิต ภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืน/ลูกหนี้-กรมสรรพากร 1,015
ภาษีขาย 5,985
เครดิต ภาษีซื้อ 7,000
การบันทึกบัญชีกรณีภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การหักภาษี ณ ที่จ่าย เป็นบริการเสียภาษีวิธีหนึ่งของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องนำเงินภาษีที่หักไว้ส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงิน หรือภายใน7 วัน นับแต่วันที่จ่ายเงินขึ้นอยู่กับประเภทของเงินได้
ตัวอย่าง วันที่ 30 เมษายน 25x3 กิจการจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานคนหนึ่ง 10,000 บาท จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาท
เดบิต เงินเดือน 10,000
เครดิต เงินสด 9,500
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500
วันที่ 7 พ.ค. 25x3 นำภาษีหัก ณ ที่จ่ายส่งกรมสรรพากร
เดบิต ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500
เครดิต เงินสด
5. การจ่ายชำระหนี้และได้รับส่วนลดเงินสดวันที่ 11 สิงหาคม 25 x 3 บริษัทจ่ายชำระหนี้ที่ค้างทั้งหมดให้แก่บริษัทเอกชัยและได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข เดบิตเจ้าหนี้การค้า 96,300 เครดิตเงินสด 95,400 ส่วนลดรับ 900 การคำนวณส่วนลดมีดังนี้ ซื้อ 100,000 หักส่งคืนและส่วนลด 10,000 คงเหลือ 90,000 ส่วนลดรับเท่ากับ 1% 90,000 x 1% = 900 บาท 6. การรับชำระหนี้และให้ส่วนลดวันที่ 17 สิงหาคม 25 x 3 บริษัทได้รับชำระหนี้ที่คงค้างทั้งหมดจากร้านพิธานและได้ให้ส่วนลดตามเงื่อนไข เดบิตเงินสด 106,000 ส่วนลดจ่าย 1,000 เครดิตลูกหนี้การค้า 107,000 การคำนวณส่วนลดจ่ายมีดังนี้ ขาย 114,000 บาทหักรับคืนและส่วนลด 14,000 บาท คงเหลือ 100,000 บาท ส่วนลดจ่ายเท่ากับ 1% 100,000 x 1% = 1,000 บาท 7. การนำส่งภาษีในวันสิ้นเดือนเมื่อถึงวันสิ้นเดือนกิจการต้องปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายในกรณีที่ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อก็ต้องชำระภาษีในส่วนที่แตกต่างโดยบันทึกบัญชีเครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่ายหรือเจ้าหนี้กรมสรรพากรแต่ถ้ากรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขายจะบันทึกเดบิตบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืนหรือลูกหนี้กรมสรรพากร เดบิตภาษีขาย 7,000 เครดิตภาษีซื้อ 6,300 ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย / เจ้าหนี้-กรมสรรพากร 700 ตัวอย่างการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องบริษัทเกษตรการไฟฟ้าจำกัด ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ7 ในระหว่างเดือนเมษายน 25 x 5 มีรายการค้าเกิดขึ้นดังนี้เม.ย. 2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากหจก สินไทย 50 หน่วยเป็นเงิน 100, 000บาท เงื่อนไขในการชำระเงิน 2/10, n/40 ภาษีซื้อ 7% ตามใบกำกับภาษีเลข 7890 จำนวน 7,000 บาท หจก 4 ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจาก สินไทย 5 หน่วยเป็นเงิน 10,000 บาทเนื่องจากเป็นสินค้ามีตำหนิตามใบลดหนี้เลขที่ 112 หจก 12 จ่ายชำระหนี้ให้ สินไทยทั้งสิ้นได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข 15 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้ร้านนันทวัน 40 หน่วยราคาหน่วยละ 3,000 บาทเงื่อนไข 1/10, n/30 ให้ส่วนลดการค้า 5% ภาษีขาย7% ตามใบกำกับ ภาษีเลขที่ 1234 เป็นเงิน 7,980 บาท 19 รับคืนสินค้าที่ขายให้แก่ร้านนันทวัน 10 หน่วยเพราะชำรุดตามใบลดหนี้เลขที่ 412 23 จ่ายค่าโฆษณาให้แก่หนังสือพิมพ์ไทย 10,000 บาทเป็นเงินสดภาษีซื้อ 7% 25 รับชำระหนี้จากร้านนันทวันทั้งสิ้นและให้ส่วนลดตามเงื่อนไข 30 ปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขาย บันทึกบัญชีดังนี้25 x 5เม.ย. 2 สินค้าคงเหลือเดบิต 100,000 ภาษีซื้อ 7,000 เครดิตเจ้าหนี้การค้า 107,000 เจ้าหนี้การค้า 4 เดบิต 10,700 เครดิตสินค้าคงเหลือ 10,000 ภาษีซื้อ 700 12 เดบิตเจ้าหนี้การค้า 96,300 เครดิตเงินสด 94,500 สินค้าคงเหลือ 1,800 15 เดบิตลูกหนี้การค้า 121,980 เครดิตขาย 114,000 ภาษีขาย 7,980 15 เดบิตต้นทุนสินค้าขาย 80,000 เครดิตสินค้าคงเหลือ 80,000 รับคืนและส่วนลด 19 เดบิต 28,500 ภาษีขาย 1,995 เครดิตลูกหนี้การค้า 30,495 สินค้าคงเหลือ 19 เดบิต 20,000 เครดิตต้นทุนสินค้าขาย 20,000 ค่าโฆษณา 23 เดบิต 10,000 ภาษีซื้อ 700 เครดิตเงินสด 10,700 25 เดบิตเงินสด 90,630 ส่วนลดจ่าย 855 เครดิตลูกหนี้การค้า 91,485 30 เดบิตภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืน/ลูกหนี้-กรมสรรพากร 1,015 ภาษีขาย 5,985 เครดิตภาษีซื้อ 7,000 การบันทึกบัญชีกรณีภาษีหักณที่จ่าย การหักภาษีณที่จ่ายเป็นบริการเสียภาษีวิธีหนึ่งของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ผู้หักภาษีณที่จ่ายต้องนำเงินภาษีที่หักไว้ส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วันนับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงิน หรือภายใน7 วันนับแต่วันที่จ่ายเงินขึ้นอยู่กับประเภทของเงินได้ตัวอย่างวันที่ 30 เมษายน 25 x 3 กิจการจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานคนหนึ่ง 10,000 บาทจะต้องหักภาษีณที่จ่าย 500 บาท เดบิตเงินเดือน 10,000 เครดิตเงินสด 9,500 ภาษีหักณที่จ่าย 500 วันที่ 7 พ.ค. 25 x 3 นำภาษีหักณที่จ่ายส่งกรมสรรพากร เดบิตภาษีหักณที่จ่าย 500 เครดิตเงินสด
การแปล กรุณารอสักครู่..
5
11 สิงหาคม 25x3 เอกชัยและ บริษัท บริษัท
ได้รับส่วนลดตามเงื่อนไขเดบิตเจ้าหนี้หัวเรื่อง: การค้า 96,300
เครดิตเงินสด 95,400
ส่วนลดรับ 900 หัวเรื่อง: การคำนวณส่วนลดมีดังนี้ซื้อ100,000 หักส่งคืนและส่วนลด 10,000 คงเหลือ 90,000 ส่วนลดรับ 1% เท่ากับ 90,000 x 1% = 900 บาท6 รับชำระหัวเรื่อง: การหนี้และให้ส่วนลดการธนาคารวันที่17 สิงหาคม 25x3 ให้ได้และส่วนลดตามเงื่อนไขเดบิตเงินสด 106,000 ส่วนลดจ่าย 1,000 เครดิตลูกหนี้การค้า 107,000 หัวเรื่อง: การคำนวณส่วนลดจ่ายมีดังนี้ขาย114,000 บาทหักรับคืนและส่วนลด14,000 บาทคงเหลือ100,000 บาทส่วนลดจ่าย1% เท่ากับ 100,000 x 1% = 1,000 บาท7 หรือเจ้าหนี้กรมสรรพากร แต่ถ้ากรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย ภาษีขาย 7,000 เครดิตภาษีซื้อ 6,300 ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย / เจ้าหนี้ - กรมสรรพากร 700 ตัวอย่าง บริษัท เกษตรการไฟฟ้า จำกัด ในระหว่างเดือนเมษายน 25x5 รายการค้ามีเกิดขึ้นดังนี้เม.ย. 2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจากหจก สินไทย 50 หน่วยเป็นเงิน 100,000 บาทเงื่อนไขในการชำระเงิน 2/10, n / 40 ภาษีซื้อ 7% ใบกำกับตามภาษีเลขที่7890 จำนวน 7,000 บาท4 ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจากหจก สินไทย 5 หน่วยเป็นเงิน 10,000 บาทเนื่องจากเป็นสินค้ามีตำหนิตามใบลดหนี้เลขที่ 112 12 จ่ายชำระหนี้ให้หจก สินไทยทั้งสิ้นได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข15 40 หน่วยราคาหน่วยละ 3,000 บาทเงื่อนไข 1/10, n / 30 ให้ส่วนลดการค้า 5% ภาษีขาย 7% ใบกำกับตามภาษีเลขที่1234 เป็นเงิน 7,980 บาท19 10 หน่วยเพราะชำรุดตามใบลดหนี้เลขที่ 412 23 จ่ายค่าโฆษณาให้แก่หนังสือพิมพ์ไทย 10,000 บาทเป็นเงินสดภาษีซื้อ 7% 25 รับชำระหนี้จากร้านนันทวันทั้งสิ้นและให้ส่วนลดตามเงื่อนไข30 2 เดบิตสินค้าคงเหลือ 100,000 ภาษีซื้อ 7,000 เครดิตเจ้าหนี้การค้า 107,000 4 เดบิตเจ้าหนี้การค้า 10,700 เครดิตสินค้าคงเหลือ 10,000 ภาษีซื้อ 700 12 เดบิตเจ้าหนี้การค้า 96,300 เครดิตเงินสด 94,500 สินค้าคงเหลือ 1,800 15 เดบิตลูกหนี้การค้า 121,980 เครดิตขาย 114,000 ภาษีขาย 7,980 15 เดบิตต้นทุนสินค้าขาย 80,000 เครดิตสินค้าคงเหลือ 80,000 19 เดบิตรับคืนและส่วนลด 28,500 ภาษีขาย 1,995 เครดิตลูกหนี้การค้า 30,495 19 เดบิตสินค้าคงเหลือ 20,000 เครดิตต้นทุนสินค้าขาย 20,000 23 เดบิตค่าโฆษณา 10,000 ภาษีซื้อ 700 เครดิตเงินสด 10,700 25 เดบิตเงินสด 90,630 ส่วนลดจ่าย 855 เครดิตลูกหนี้การค้า 91,485 30 เดบิต 1,015 ภาษีขาย 5,985 เครดิตภาษีซื้อ 7,000 หัวเรื่อง: การบันทึกบัญชีกรณีภาษีหัก ณ ที่จ่ายหัวเรื่อง: การหักภาษี ณ ที่จ่าย ภาษีเงินได้นิติบุคคลและผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย 7 วัน หรือภายใน 7 วัน วันที่ 30 เมษายน 25x3 10,000 บาทจะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาทเดบิตเงินเดือน10,000 เครดิตเงินสด 9,500 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500 วันที่ 7 พ.ค. 25x3 หักภาษีนำ ณ ที่จ่ายส่งกรมสรรพากรเดบิตภาษีหักณ ที่จ่าย 500 เครดิตเงินสด
การแปล กรุณารอสักครู่..