ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังส การแปล - ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังส ไทย วิธีการพูด

ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลต

ประวัติของช็อกโกแลต
ประวัติ
ช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้ว หลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์ เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา (cacao) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกา จัดอยู่ในตระกูล Theobroma cacao แปลว่า "อาหารแห่งทวยเทพ"
ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโก และอเมริกากลาง ชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายา และชาวแอซเทค แห่งอารยธรรมเมโสอเมริกา คนเหล่านี้เอาเมล็ดคาเคามาบดแล้วผสมกับเครื่องปรุงหลายชนิดเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสขมเฝื่อน นอกจากใช้ประกอบอาหารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วย
ชาวมายา (ค.ศ. 250-900) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคา โดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้าน พอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้าง คั่วบ้าง และยังบดเป็นเนื้อเหนียว อยากชงเป็นเครื่องดื่มก็เอามาผสมน้ำ โรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพด ก็จะได้เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่อง
ต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกา โดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่า เม็กซิโก ซิตี้ ชาวแอซเทคได้ซื้อขายเมล็ดคาเคากับชาวมายาและชนชาติอื่น และยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชลยเป็นเมล็ดคาเคา โดยใช้แทนค่าเงิน ชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรก โดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศ ชาวเมโสอเมริกาสมัยนั้นยังไม่มีใครปลูกอ้อยก็เลยไม่มีใครใส่น้ำตาลกัน
เล่ากันว่า คนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษ ขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมาก ส่วนชาวแอซเทค บรรดาผู้ปกครองระดับสูง พระ ทหารยศสูง และพ่อค้าที่มีหน้ามีตาเท่านั้นที่มีสิทธิลิ้มรสเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์นี้ ช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราชวงศ์และศาสนา เพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้า และดื่มในพิธีสำคัญ
สำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัด แต่มีความเป็นไปได้สองทาง ทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายา ซึ่งหมายถึง มาดื่มช็อกโกแลตด้วยกัน อีกทางหนึ่งอธิบายว่าน่าจะมาจากภาษามายาเช่นกัน คือ " chocol" แปลว่า ร้อน ผสมกับคำว่า "atl" ของแอซเทคที่แปลว่า น้ำ พอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl และมาเป็น chocolate ต่อมาในยุโรป
โดยความเชื่อของชาวแอชเต็คส์ ประเทศเม็กซิโก "เมล็ดโกโก้เป็นอาหารที่เทพเจ้ามอบให้เพื่อเป็นใบเบิกทางไปสู่สวรรค์" เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว ซึ่งทำให้พวกเขานำเมล็ดโกโก้มาทำเป็นเครื่องดื่มนั่นก็คือ "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นัน คอร์เตช นักสำรวจชาวสเปนแล่นเรือมาพบกับชาวแอชเต็คส์ ซึ่งเขาได้อาศัยอยู่กับชาวแอชเต็คส์และร่วมดื่มน้ำช็อกโกแลตด้วยกัน และนายคอร์เตชได้นำเมล็ดโกโก้กลับประเทศเพื่อลองทำเครื่องดื่มดูบ้าง และแต่งเติมรสให้หวานขึ้นจนเป็นเครื่องดื่มที่นิยมกันในสเปน จนในมี่สุด นายคอนราด เจ แวนฮูเตนท์ ชาวดัชได้ค้นพบการทำช็อกโกแลตแบบแท่ง เม็ด และผง

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของช็อกโกแลตประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้วหลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา (cacao) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัดอยู่ในตระกูล Theobroma cacao แปลว่า "อาหารแห่งทวยเทพ"ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโกและอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกาคนเหล่านี้เอาเมล็ดคาเคามาบดแล้วผสมกับเครื่องปรุงหลายชนิดเพื่อทำเป็นเครื่องดื่มที่มีรสขมเฝื่อนนอกจากใช้ประกอบอาหารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วยชาวมายา (ค.ศ. 250-900) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคาโดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้านพอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียวอยากชงเป็นเครื่องดื่มก็เอามาผสมน้ำโรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพดก็จะได้เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่องต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกาโดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่าเม็กซิโกซิตี้ชาวแอซเทคได้ซื้อขายเมล็ดคาเคากับชาวมายาและชนชาติอื่นและยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชลยเป็นเมล็ดคาเคาโดยใช้แทนค่าเงินชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรกโดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศชาวเมโสอเมริกาสมัยนั้นยังไม่มีใครปลูกอ้อยก็เลยไม่มีใครใส่น้ำตาลกันเล่ากันว่าคนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมากส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูงและพ่อค้าที่มีหน้ามีตาเท่านั้นที่มีสิทธิลิ้มรสเครื่องดื่มศักดิ์สิทธิ์นี้ช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราชวงศ์และศาสนาเพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้าและดื่มในพิธีสำคัญสำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัดแต่มีความเป็นไปได้สองทางทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายาซึ่งหมายถึงมาดื่มช็อกโกแลตด้วยกันอีกทางหนึ่งอธิบายว่าน่าจะมาจากภาษามายาเช่นกันคือ "chocol" แปลว่าร้อนผสมกับคำว่า "atl" ของแอซเทคที่แปลว่าน้ำพอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl ช็อคโกแลและมาเป็นต่อมาในยุโรปโดยความเชื่อของชาวแอชเต็คส์ประเทศเม็กซิโก "เมล็ดโกโก้เป็นอาหารที่เทพเจ้ามอบให้เพื่อเป็นใบเบิกทางไปสู่สวรรค์" เมื่อประมาณ 4000 ปีมาแล้วซึ่งทำให้พวกเขานำเมล็ดโกโก้มาทำเป็นเครื่องดื่มนั่นก็คือ "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นันคอร์เตชนักสำรวจชาวสเปนแล่นเรือมาพบกับชาวแอชเต็คส์ซึ่งเขาได้อาศัยอยู่กับชาวแอชเต็คส์และร่วมดื่มน้ำช็อกโกแลตด้วยกันและนายคอร์เตชได้นำเมล็ดโกโก้กลับประเทศเพื่อลองทำเครื่องดื่มดูบ้างและแต่งเติมรสให้หวานขึ้นจนเป็นเครื่องดื่มที่นิยมกันในสเปนจนในมี่สุดนายคอนราดเจแวนฮูเตนท์ชาวดัชได้ค้นพบการทำช็อกโกแลตแบบแท่งเม็ดและผง
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
(โกโก้) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัดอยู่ในตระกูล Theobroma โกโก้แปลว่า และอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ ได้แก่ ชาวมายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกา (ค.ศ. 250-900) พอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียว โรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพด 14 เม็กซิโกซิตี้ โดยใช้แทนค่าเงิน ส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูง แต่มีความเป็นไปได้สองทางทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า "ช็อคโกลัจ" ในภาษามายาซึ่งหมายถึงมาดื่มช็อกโกแลตด้วยกัน คือ "chocol" แปลว่าร้อนผสมกับคำว่า "atl" ของแอซเทคที่แปลว่าน้ำพอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl และมาเป็นช็อคโกแลต ประเทศเม็กซิโก เมื่อประมาณ 4,000 ปีมาแล้ว "น้ำช็อกโกแลต" ต่อมานายเออร์นันคอร์เตช จนในมี่สุดนายคอนราดเจแวนฮูเตนท์ เม็ดและผง









การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติของช็อกโกแลต

ประวัติช็อกโกแลตค้นพบมาตั้งแต่สองพันปีที่แล้วหลังสมัยพระนางคลีโอพัตราแห่งอียิปต์เป็นผลผลิตที่ได้จากเมล็ดของต้นคาเคา ( ต้นโกโก้ Theobroma cacao ) ในป่าร้อนชื้นของทวีปอเมริกาจัดอยู่ในตระกูลแปลว่า " อาหารแห่งทวยเทพ "
ชนกลุ่มแรกที่รู้จักทำช็อกโกแลตเป็นอารยธรรมโบราณที่อยู่ในเม็กซิโกและอเมริกากลางชนกลุ่มนี้ได้แก่ชาวมายาและชาวแอซเทคแห่งอารยธรรมเมโสอเมริกานอกจากใช้ประกอบอาหารแล้วช็อกโกแลตยังเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตเชิงศาสนาและสังคมด้วย
ชาวมายา ( ค . ศ .250-900 ) เป็นชนชาติแรกที่มีหลักฐานชัดเจนว่าได้ค้นพบความลับของต้นคาเคาโดยพวกเขาได้นำต้นคาเคามาจากป่าฝนและปลูกไว้ที่สวนหลังบ้านพอออกฝักก็เก็บเอาเมล็ดมาหมักบ้างคั่วบ้างและยังบดเป็นเนื้อเหนียวโรยพริกไทยกับแป้งข้าวโพดก็จะได้เครื่องดื่มช็อกโกแลตรสซาบซ่ามีฟองฟ่อง
ต่อมาราวคริสต์ศตวรรษที่ 14 อาณาจักรของชาวแอซเทคครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของอารยธรรมเมโสอเมริกาโดยมีเมืองหลวงตั้งอยู่ที่เมืองปัจจุบันเรียกว่าเม็กซิโกซิตี้และยังเรียกเก็บค่าบรรณาการจากพลเมืองของตนและเชลยเป็นเมล็ดคาเคาโดยใช้แทนค่าเงินชาวแอซเทคนิยมดื่มช็อกโกแลตขมเช่นเดียวกับชาวมายายุคแรกโดยปรุงรสชาติให้ซู่ซ่าขึ้นด้วยเครื่องเทศเล่ากันว่าคนมายายุคคลาสสิกชอบดื่มช็อกโกแลตกันในวาระพิเศษขณะที่บรรดาเชื้อพระวงศ์จะนิยมดื่มกันมากส่วนชาวแอซเทคบรรดาผู้ปกครองระดับสูงพระทหารยศสูงช็อกโกแลตมีบทบาทสำคัญในพิธีของราชวงศ์และศาสนาเพราะใช้เมล็ดคาเคาเป็นเครื่องสักการะเทพเจ้าและดื่มในพิธีสำคัญ
สำหรับที่มาของชื่อช็อกโกแลตนั้นยังไม่มีใครอธิบายได้แจ่มชัดแต่มีความเป็นไปได้สองทางทางแรกเป็นคำที่ผันมาจากคำว่า " ช็อคโกลัจ " ในภาษามายาซึ่งหมายถึงมาดื่มช็อกโกแลตด้วยกันความ " chocol " แปลว่าร้อนผสมกับคำว่า " กั๊ก " ของแอซเทคที่แปลว่า a rescue พอมารวมกันจึงกลายเป็นคำว่า chocolatl และมาเป็นต่อมาในยุโรป
ช็อกโกแลตโดยความเชื่อของชาวแอชเต็คส์ประเทศเม็กซิโก " เมล็ดโกโก้เป็นอาหารที่เทพเจ้ามอบให้เพื่อเป็นใบเบิกทางไปสู่สวรรค์ " เมื่อประมาณ 4000 ปีมาแล้วซึ่งทำให้พวกเขานำเมล็ดโกโก้มาทำเป็นเครื่องดื่มนั่นก็คือ " น้ำช็อกโกแลต " ต่อมานายเออร์นันคอร์เตชนักสำรวจชาวสเปนแล่นเรือมาพบกับชาวแอชเต็คส์และนายคอร์เตชได้นำเมล็ดโกโก้กลับประเทศเพื่อลองทำเครื่องดื่มดูบ้างและแต่งเติมรสให้หวานขึ้นจนเป็นเครื่องดื่มที่นิยมกันในสเปนจนในมี่สุดนายคอนราดเจแวนฮูเตนท์ชาวดัชได้ค้นพบการทำช็อกโกแลตแบบแท่งเม็ด
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: