มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มมะเร็งศีรษะและลำคอ โดยร้อ การแปล - มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มมะเร็งศีรษะและลำคอ โดยร้อ ไทย วิธีการพูด

มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่

มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มมะเร็งศีรษะและลำคอ โดยร้อยละ 90 เป็นชนิด Squamous cell carcinoma ซึ่งถูกพบว่ามีความสามารถในการแพร่กระจายสูง ทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการพยากรณ์โรค และอัตราการอดชีวิตต่ำ แม้ว่าการแพทย์ปัจจุบันจะมีความก้าวหน้าไปมากก็ตาม การรักษามะเร็งช่องปากสามารถทำการรักษาได้ด้วยการผ่าตัด ฉายรังสีเคมีบำบัด แต่พบว่ามีผลข้างเคียงเกิดขึ้นหลังการรักษา ปัจจุบันจึงได้มีการศึกษาเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาโดยใช้สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งชนิดนี้ยังพบได้น้อย ด้วยเหตุนี้ทางผู้วิจัยจึงทำการทดสอบฤทธิ์ของสารธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งช่องปาก ชนิด MCLS-354 ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งช่องปากที่มีความสามารถในการแพร่กระจาย โดยในการศึกษานี้ได้ใช้สารธรรมชาติจาก 11 ชนิด จากพืชสมุนไพรไทย 4 ชนิด ได้แก่ ย่านาง (Tiliacora triandra) รหัส ASWK-121, ASWK-122 และ ASWK-123 ขิง (Zingiber officinale ) รหัส ASWK-100, ASWK-101, ASWK-102 และ ASWK-103 โลดทะนงแดง (Trigonostemon reidroides) รหัส ASWK-132, ASWK-133 และ ASWK-134 ขมิ้น (Curcuma longa) รหัส ASWK-013 มาทำการศึกษาฤทธิ์ต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์โดยวิธี scratch หรือ wound healing assay และ migration chamber assay พบว่าสารจากพืชทุกชนิดสามารถยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์ได้ที่เวลา 24 ชั่วโมง โดยสัมพันธ์กับความเข้มข้นของสาร เมื่อความเข้มข้นของสารเพิ่มขึ้นส่งผลให้มีการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งช่องปากชนิด MCLS-354 ลดลง โดยสารผลิตภัณฑ์จากโลดทะนงแดง (Trigonostemon reidroides) สามารถส่งผลให้เซลล์มะเร็งมีการเคลื่อนที่ได้ดีที่สุด ซึ่งข้อมูลจากการวิจัยในครั้งนี้ถือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญสำหรับนำไปใช้เป็นแนวทางช่วยในการพัฒนาการรักษามะเร็งช่องช่องปากร่วมกับยาเคมีบำบัด

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มมะเร็งศีรษะและลำคอโดยร้อยละ 90 เป็นชนิด Squamous เซลล์ร้ายซึ่งถูกพบว่ามีความสามารถในการแพร่กระจายสูงทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการพยากรณ์โรคและอัตราการอดชีวิตต่ำแม้ว่าการแพทย์ปัจจุบันจะมีความก้าวหน้าไปมากก็ตามการรักษามะเร็งช่องปากสามารถทำการรักษาได้ด้วยการผ่าตัดฉายรังสีเคมีบำบัดแต่พบว่ามีผลข้างเคียงเกิดขึ้นหลังการรักษาปัจจุบันจึงได้มีการศึกษาเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านมะเร็งของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอย่างแพร่หลายแต่การศึกษาโดยใช้สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งชนิดนี้ยังพบได้น้อยด้วยเหตุนี้ทางผู้วิจัยจึงทำการทดสอบฤทธิ์ของสารธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งช่องปากชนิด MCLS-354 ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งช่องปากที่มีความสามารถในการแพร่กระจายโดยในการศึกษานี้ได้ใช้สารธรรมชาติจาก 11 ชนิดจากพืชสมุนไพรไทย 4 ชนิดได้แก่ย่านาง (หมากหอม Tiliacora) รหัส ASWK-121, ASWK-122 และ ASWK 123 ขิง (ไพล officinale) รหัส ASWK-100, ASWK-101, ASWK 102 และ ASWK-103 โลดทะนงแดง (Trigonostemon reidroides) รหัส ASWK-132, ASWK-133 และ ASWK 134 ขมิ้น (ขมิ้นชัน) รหัส ASWK-013 มาทำการศึกษาฤทธิ์ต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์โดยวิธีรอยขีดข่วนหรือบาดแผลการรักษาวิเคราะห์และ migraทางการค้าหอการค้าทดสอบพบว่าสารจากพืชทุกชนิดสามารถยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์ได้ที่เวลา 24 ชั่วโมงโดยสัมพันธ์กับความเข้มข้นของสารเมื่อความเข้มข้นของสารเพิ่มขึ้นส่งผลให้มีการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งช่องปากชนิด MCLS-354 ลดลงโดยสารผลิตภัณฑ์จากโลดทะนงแดง (Trigonostemon reidroides) สามารถส่งผลให้เซลล์มะเร็งมีการเคลื่อนที่ได้ดีที่สุดซึ่งข้อมูลจากการวิจัยในครั้งนี้ถือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญสำหรับนำไปใช้เป็นแนวทางช่วยในการพัฒนาการรักษามะเร็งช่องช่องปากร่วมกับยาเคมีบำบัด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
มะเร็งช่องปากเป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในกลุ่มมะเร็งศีรษะและลำคอโดยร้อยละ 90 เป็นชนิด squamous เซลล์มะเร็งซึ่งถูกพบว่ามีความสามารถในการแพร่กระจายสูงทำให้ผู้ป่วยมีอัตราการพยากรณ์โรคและอัตราการอดชีวิตต่ำ แม้ว่าการแพทย์ปัจจุบันจะมีความก้าวหน้าไปมากก็ตามการรักษามะเร็งช่องปากสามารถทำการรักษาได้ด้วยการผ่าตัดฉายรังสีเคมีบำบัด แต่พบว่ามีผลข้างเคียงเกิดขึ้นหลังการรักษาปัจจุบันจึงได้มีการศึกษาเกี่ยวกับฤทธิ์ต้านมะเร็ง ของสารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติอย่างแพร่หลาย แต่การศึกษาโดยใช้สารผลิตภัณฑ์ธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งชนิดนี้ยังพบได้น้อยด้วยเหตุนี้ทางผู้วิจัยจึงทำการทดสอบฤทธิ์ของสารธรรมชาติจากสมุนไพรไทยต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์ มะเร็งช่องปากชนิด MCLs-354 ซึ่งเป็นเซลล์มะเร็งช่องปากที่มีความสามารถในการแพร่กระจายโดยในการศึกษานี้ได้ใช้สารธรรมชาติจาก 11 ชนิดจากพืชสมุนไพรไทย 4 ชนิด ได้แก่ ย่านาง (ย่านาง) รหัส ASWK-121, ASWK-122 และ ASWK-123 ขิง (Zingiber officinale) รหัส ASWK-100 ASWK-101, ASWK-102 และ ASWK-103 โลดทะนงแดง (โลดทะนงแดง reidroides) รหัส ASWK-132, ASWK-133 และ ASWK-134 ขมิ้น (Curcuma Longa ) รหัส ASWK-013 มาทำการศึกษาฤทธิ์ต่อการเคลื่อนที่ของเซลล์โดยวิธีรอยขีดข่วนหรือการรักษาแผลการทดสอบและห้องการโยกย้ายการทดสอบพบว่าสารจากพืชทุกชนิดสามารถยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์ได้ที่เวลา 24 ชั่วโมงโดยสัมพันธ์กับความเข้มข้นของสาร เมื่อความเข้มข้นของสารเพิ่มขึ้นส่งผลให้มีการเคลื่อนที่ของเซลล์มะเร็งช่องปากชนิด MCLs-354 ลดลงโดยสารผลิตภัณฑ์จากโลดทะนงแดง (reidroides โลดทะนงแดง) สามารถส่งผลให้เซลล์มะเร็งมีการเคลื่อนที่ได้ดีที่สุดซึ่งข้อมูลจากการวิจัย ในครั้งนี้ถือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญสำหรับนำไปใช้เป็นแนวทางช่วยในการพัฒนาการรักษามะเร็งช่องช่องปากร่วมกับยาเคมีบำบัด

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: