บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ การแปล - บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”  แหล่ ไทย วิธีการพูด

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องส

บทความเรื่อง “ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์) E-Library”

แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรา นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คือ ห้องสมุด เนื่องห้องสมุดเป็นแหล่ง รวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบ ทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์ และวัสดุไม่ตีพิมพ์ เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการ ด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิต ในทุกๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้าน การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้ความรู้ต่างๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น
ความหมายของ E-Library
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545;3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่า E-Library มาจากคำว่า Electronic Library หรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง แหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติ ห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน

ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์
น้ำทิพย์ วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่า ลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุด ประกอบด้วย
1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (Selection to create a collection)
2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)
3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (Preservation for ongoing use )
4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (Information services for users,need)

ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่างๆ ดังนี้
1. ห้องสมุดดิจิตอล
องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (Hardware) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Software) บุคลากร (Staff) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (Collection) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุด มีลักษณะดังต่อไปนี้
มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่า digital objects ได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว (Language –based , Image –based , Sound-based , Motion-based) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (Repository) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (Server)
มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กร เช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือก การจัดการ การจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูล การเผยแพร่ข้อมูล และมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้
มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูล การจัดเก็บ การเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่าย
มีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (fair use)
มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
มีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอล ได้แก่ การสร้างข้อมูลดิจิตอล (Creation) การเผยแพร่ข้อมูล (Dissemination) การใช้ข้อมูล (Use) และการอนุรักษ์ข้อมูล (Preservation)

2. ห้องสมุดเสมือน
คำว่า virtual ใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกัน ได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือน ในหลายความหมายได้แก่
-ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มี การบริการจัดการโดยเอกเทศ แต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากร บุคคล เป้าหมาย และความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น แต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็ว
-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่าย
ลักษณะเด่น ของห้องสมุดเสมือน คือ ความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (Accessibility) ผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่
ข้อจำกัด ของห้องสมุดเสมือน คือ ต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูง และมีเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบ โดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย


3. ห้องสมุดอัตโนมัติ
ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ เป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุด ซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลักๆ ได้แก่
· ระบบงานจัดหา (Acquisition)
· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (Cataloging)
· ระบบงานวรสารและเอกสาร (Serial Control)
· ระบบงานบริการยืม-คืน (Circulation)
· ระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (Online Public Access Catalogy) และ
· การควบคุมระบบ (Library system administrator)


จากที่กล่าวมาทั้งหมด สรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ( Server ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะ One-stop-shop of information เป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่างๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหา โดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุด และมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

แหล่งอ้างอิง

“แนวโน้มของ E – Learning” [online]. เข้าถึงได้จาก: http//www.nstal.net/watya. (2551, พฤศจิกายน 21)
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
บทความเรื่อง "ห้องสมุดออนไลด์(ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์)ห้องสมุด" แหล่งการเรียนรู้ที่สำคัญของคนเรานับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันคือห้องสมุดเนื่องห้องสมุดเป็นแหล่งรวบรวมสารสนเทศทุกรูปแบบทั้งที่เป็นวัสดุตีพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์เพื่อให้ผู้ใช้ได้ค้นคว้าตอบสนองตามความต้องการด้วยสภาพปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามามีบทบาทต่อการดำเนินชีวิตในทุก ๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นทางด้านการศึกษาเศรษฐกิจสังคมซึ่งจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ความรู้ต่าง ๆ ถูกนำเข้าสู่ระบบดิจิตอลมากขึ้นด้วยห้องสมุดซึ่งเป็นหน่วยงานที่จะต้องให้บริการทางด้านสารสนเทศอยู่แล้ว จึงจำเป็นอย่างที่สุดที่จะต้องมีการพัฒนาปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีศักยภาพแห่งการเรียนรู้มากยิ่งขึ้นสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในยุคปัจจุบันโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการจัดการข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอลเพื่อความสะดวกและรวดเร็วในการนำข้อมูลนั้นมาใช้ ก่อให้เกิดการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย เพิ่มความสามารถในการเรียนรู้ข้อมูลข่าวสาร ได้ครบถ้วน รวดเร็ว จากเหตุผลดังกล่าว ห้องสมุดส่วนใหญ่ในปัจจุบัน จึงได้มีการปรับเปลี่ยนตัวเองไปสู่ระบบห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มากขึ้น ความหมายของห้องสมุด น้ำทิพย์วิภาวิน (2545; 3) ได้ให้ความหมายของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ไว้ว่ามาจากคำว่าห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ห้องสมุดหรือห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์หมายถึงแหล่งความรู้ที่บันทึกข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายและให้บริการสารสนเทศทางอิเล็กทรอนิกส์หรือผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตในลักษณะผสมผสานการทำงานของระบบห้องสมุดอัตโนมัติห้องสมุดดิจิตอลและห้องสมุดเสมือน ลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ น้ำทิพย์วิภาวิน (2545:9) ได้กล่าวถึงลักษณะของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ว่าลักษณะการทำงานของห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์เป็นการใช้เทคโนโลยีในห้องสมุดประกอบด้วย1. การคัดเลือกเพื่อพัฒนาทรัพยากร (ตัวเลือกเพื่อสร้างคอลเลกชัน)2. การจัดการหรือจัดหมวดหมู่เพื่อพัฒนาทรัพยากร(Organization to enable access)3. การอนุรักษ์ทรัพยากรเพื่อความต่อเนื่องในการใช้งานในอนาคต (การเก็บรักษาการใช้อย่างต่อเนื่อง)4. การบริการข้อมูลตามความต้องการของผู้ใช้ (บริการข้อมูลสำหรับผู้ใช้ ต้อง) ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์มีการทำงานของระบบต่าง ๆ ดังนี้1. ห้องสมุดดิจิตอล องค์ประกอบของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอลได้แก่เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (ฮาร์ดแวร์) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ (ซอฟต์แวร์) บุคลากร (พนักงาน) และทรัพยากรที่จัดเก็บในรูปดิจิตอล (ชุด) ซึ่งทำให้การจัดทำระบบสารสนเทศห้องสมุดมีลักษณะดังต่อไปนี้มีทรัพยากรที่เป็นข้อมูลอยู่ในรูปดิจิตอลเรียกว่าดิจิตอลวัตถุได้แก่ข้อมูลที่เป็นตัวอักษรรูปภาพเสียงและภาพเคลื่อนไหว (ภาษา – ตาม ภาพ – ตาม ตามเสียง การเคลื่อนไหว) จัดเก็บไว้ในแหล่งจัดเก็บข้อมูล (เก็บ) ซึ่งเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลักที่ใช้จัดเก็บข้อมูล (เซิร์ฟเวอร์)มีการบริหารจัดการในลักษณะขององค์กรเช่นเดียวกับการจัดการห้องสมุดโดยมีการคัดเลือกยังคงการจัดเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลการเผยแพร่ข้อมูลและมีเครื่องมือช่วยค้นที่ให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้มีการใช้เทคโนโลยีในการสร้างข้อมูลการจัดเก็บการเผยแพร่ผ่านระบบเครือข่ายมีการบริการข้อมูลในลักษณะการใช้ข้อมูลร่วมกัน (พอใช้)มีการแนะนำการใช้ข้อมูลแก่ผู้ใช้และการอ้างถึงข้อมูลที่เกี่ยวข้องมีวัฏจักรของการพัฒนาห้องสมุดดิจิตอลได้แก่การสร้างข้อมูลดิจิตอล (สร้าง) การเผยแพร่ข้อมูล (เผยแพร่) (ใช้) การใช้ข้อมูลและการอนุรักษ์ข้อมูล (อนุรักษ์) 2. ห้องสมุดเสมือน คำว่าใช้ในการเชื่อมโยงข้อมูลในหัวข้อหรือเรื่องใดเรื่องหนึ่งจากที่ต่างๆมาไว้ที่หน้าจอเดียวกันเสมือนได้มีผู้ให้คำจำกัดความของห้องสมุดเสมือนในหลายความหมายได้แก่เพื่อให้บริการการเชื่อมโยงข้อมูลผ่านอินเทอร์เน็ต โดยจัดเก็บข้อมูลไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย(Server) - ห้องสมุดเสมือนเป็นกลุ่มของข้อมูลที่เชื่อมโยงกันในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต-ห้องสมุดเสมือนไม่ได้เป็นโครงสร้างหรืออาคารห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งที่มีการบริการจัดการโดยเอกเทศแต่เป็นโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงทรัพยากรบุคคลเป้าหมายและความสนใจของกลุ่มบุคคลเข้าไว้ด้วยกันเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้สะดวกและรวดเร็วโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้รวดเร็วแต่เป็นการรวมข้อมูลจากหลายแห่งโดยที่ผู้ใช้ที่อยู่ไกลสามารถเข้าถึงข้อมูลได้ - ห้องสมุดเสมือนไม่ได้มีข้อมูลในห้องสมุดแห่งใดแห่งหนึ่งเท่านั้น-ห้องสมุดเสมือนจึงเป็นห้องสมุดในจิตนาการที่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลรายการบรรณานุกรมและเอกสารจำนวนมากไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์มาเชื่อมโยงกันผ่านระบบเครือข่ายผู้ใช้สามารถเข้าถึงข้อมูลได้โดยไม่จำกัดเวลาและสถานที่ลักษณะเด่นของห้องสมุดเสมือนคือความรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล (เข้าถึง)ข้อจำกัดของห้องสมุดเสมือนคือต้องใช้เนื้อที่ในการจัดเก็บข้อมูลจำนวนมากและต้องมีโปรแกรมการสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพสูงและมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีความสามารถในการบันทึกข้อมูลทุกรูปแบบโดยมีลักษณะของข้อมูลที่เคลื่อนย้ายได้ง่าย 3. ห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบห้องสมุดอัตโนมัติเป็นการจัดระบบสารสนเทศในห้องสมุดซึ่งประกอบด้วยส่วนของการทำงานใน 6โมดูลหลัก ๆ ได้แก่· ระบบงานจัดหา (ซื้อ)· ระบบงานวิเคราะห์หมวดหมู่และลงรายการ (จัดแค็ตตาล็อก)· ระบบงานวรสารและเอกสาร (ชุดควบคุม)· ระบบงานบริการยืม-คืน (หมุนเวียน)· และระบบงานสืบค้นรายการทรัพยากร (ออนไลน์เข้าไปถึง Catalogy)· การควบคุมระบบ (ไลบรารีระบบผู้ดูแลระบบ) มีการบริการข้อมูลในลักษณะจากที่กล่าวมาทั้งหมดสรุปได้ว่าแนวโน้มของห้องสมุดในอนาคตจะเป็นศูนย์รวมความรู้หรือจุดเชื่อมโยงความรู้ที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย (Server) หนึ่งหยุดร้านของข้อมูลเป็นการกระจายข้อมูลที่อยู่ตามแหล่งต่าง ๆ เชื่อมโยงมาที่หน้าจอเดียวที่ผู้ใช้ได้รับความสะดวกในการค้นหาโดยห้องสมุดยุคใหม่เน้นการจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานห้องสมุดและมีการเข้าถึงเนื้อหาข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แหล่งอ้างอิง "แนวโน้มของ E – เรียน" [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก: http / / www.nstal.net/watya (2551 พฤศจิกายน 21)
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: