ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์ ในอดีตการทอผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ยังได้รับกา การแปล - ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์ ในอดีตการทอผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ยังได้รับกา ไทย วิธีการพูด

ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์ ในอดีตการทอผ

ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์
ในอดีตการทอผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ยังได้รับการส่งเสริมจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯส่งผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุน มาให้คำแนะนำการทอผ้าไหม ประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ.2449 เมื่อครั้งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเสด็จราชการมณฑลนครราชสีมา มณฑลอุดร และมณฑลร้อยเอ็ด และตอนกลับได้ผ่านมาถึงเมือง พุทไธสง เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2450 ได้พบนายโยโกตา และนายอิสิตา ชาวญี่ปุนซึ่งเดินทางมาตั้งโรงเลี้ยงไหมที่บุรีรัมย์ ได้เลือกทำเลที่เลี้ยง ที่เมืองพุทไธสง และหาที่พักได้ในบริเวณห้องสมุดประชาชนเดิม(ปัจจุบันได้ถูกรื้อถอนและสร้างเป็นโรงพยาบาลไปแล้ว)จุดที่ตั้งโรง เลี้ยงไหมก็คือบริเวณสวนหม่อนพุทไธสงในปัจจุบัน จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีชื่อเสียงในการทอผ้า ดังปรากฏ ในหลักฐานจาก รายงานการตรวจราชการ ของพระพรหมภิบาล(ในสมัยรัชกาลที่ 5)ซึ่งไปตรวจราชการที่มณฑลนครราชสีมา(เมืองบุรีรัมย์ขึ้นกับมณฑลนครราชสีมาในสมัยนั้น)ได้กล่าวถึงสภาพการทำมาหากินของชาวบุรีรัมย์ และการทอผ้าพื้นเมืองไว้ดังนี้"บ้านทะเมนชัย....แขวงเมืองบุรีรัมย์.....เรือนราษฏรมีอยู่ประมาณ 120 หลังคาเศษ ราษฏร 700 คนเศษ มีวัดสองวัด พระสงฆ์จำพรรษาอยู่วัดละ 9-10 รูป ราษฏรเป็นลาว ประกอบอาชีพเพาะปลูก ทอหูกปั่นฝ้าย ทำไหม มะพร้าวเป็นพื้น... บ้านแขวงเมืองบุรีรัมย์..มีหลังคาเรือนอยู่ประมาณ 80 หลังเศษ ราษฏร 500 คนเศษเป็นเขมร ประกอบการเพาะปลูก ทอหูกปั่นฝ้าย ทำไหม มะพร้าวเป็นพื้น...บ้านทั้งหก(อยู่แขวงเมืองนางรอง)รวมหลังคาเรือนมีอยู่ประมาณ 230 หลังเศษราษฏร 800 คน พื้นดินเป็นดินปนทราย ต้นไม้มีมะพร้าว ขนุน ส้ม ต้นหม่อนเป็นพื้น เรือนเหล่านี้เสาไม้ เต็ง รัง ไม้ไผ่สับเป็นฟาก ฝากรุใบปรือ หลังคามุงหญ้าแฝก ราษฏรประกอบการเพาะปลูกทอหูก ปั่นฝ้าย ทำไหมขายรับพระราชทาน........จากข้อความดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจังหวัดบุรีรัมย์ในอดีตมีการทอผ้าไหมโดยทั่วไป
ปัจจุบันการทอผ้าไหมมีอยู่ทั่วไปทุกอำเภอแต่แหล่งทอผ้าไหมที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดคือที่อำเภอนาโพธิ์ โดยเฉพาะที่บ้านโคกกุง มีศูนย์พัฒนาผ้าไหมและกลุ่มแม่บ้านเลี้ยงไหมนอกจากนี้ยังมีที่บ้านมะเฟือง อำเภอพุทไธสง ซึ่งทอผ้าไหมด้วยกี่ธรรมดาหรือกี่ชาวบ้าน การทอผ้าไหมที่อำเภอพุทไธสงและอำเภอนาโพธิ์ จะมีการทอผ้ามัดหมี่ลายพื้นเมืองดั้งเดิมและแบบลายประยุกต์ โดยเฉพาะผ้ามัดหมี่ตีนแดง ซึ่งเป็นผ้าไหมมัดหมี่ทอหัวซิ่นเป็นพื้นสีแดงไม่มีลวดลายส่วนลายตัวซิ่นนิยมใช้ลายฟันเลื่อย ลายนาค เป็นต้น
บ้านหนองโก หมู่ที่ 6 ตำบลดอนกอก อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมและทอผ้าไหมมาตั้งแต่บรรพบุรุษ และถ่ายทอดให้แก่ลูกหลาน จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะสตรีในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเรียนทอผ้าไหม ในสมัยก่อนการทอผ้าไหมเป็นการทอสำหรับใช้เองในครัวเรือน นิยมสวมใส่เมื่อมีงานที่สำคัญ เช่นงานแต่งงาน งานบวช งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งานประเพณีในหมู่บ้าน/ตำบลจัดขึ้น
เมื่อปี พ.ศ. 2530 มีชาวบ้านหนองโกได้เดินทางไปรับเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์จังหวัดสกลนคร และนำผ้าไหมไปถวายด้วยพระองค์ทรงโปรดผ้าไหมทรงรับไว้ และชื่นชอบมาก และทรงพระราชทานเงินให้เป็นค่าผ้าไหม สร้างความปลาบปลื้มใจเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาหมู่บ้านหนองโก ได้คัดเลือกผู้ใหญ่บ้านเป็นสุภาพสตรี คือ นางนิสา ประดา เป็นผู้ที่มีฝีมือและทอผ้าไหม เป็นประจำ ได้ประชุมปรึกษาหารือกับชาวบ้าน เพื่อรวมกลุ่มจัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้น ชื่อ “ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก” เริ่มแรกยังไม่มีชื่อเสียงมากนัก จวบจนได้รับคำแนะนำปรึกษาจากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอนาโพธิ์ มีการฝึกอบรมให้ความรู้การพัฒนาด้านการผลิต การบริหารจัดการกลุ่ม การส่งเสริมด้านการตลาด ทำให้กลุ่มมีการพัฒนาผ้าไหมมัดหมี่ที่มีสีสัน ลวดลายสวยงาม โดยที่ยังความเป็นผ้าไหมมัดหมี่แบบดั้งเดิมไว้ และพัฒนาลวดลายใหม่ให้เข้ากับสมัยใหม่
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก หมู่ที่ 6 ตำบลดอนกอก อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ได้พัฒนาผ้าไหมมัดหมี่ มาเป็นเวลา 23 ปี สร้างชื่อเสี่ยงจนเป็นที่รู้จักด้านผ้าไหมมัดหมี่ที่มีความสวยงาม ประณีตและเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ขายให้กับโครงการศิลปาชีพสวนจิตลดา ลูกค้าคือบุคคลสำคัญความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าคือความสุขของ “ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก”

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์ ในอดีตการทอผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ยังได้รับการส่งเสริมจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯส่งผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุน มาให้คำแนะนำการทอผ้าไหม ประมาณเดือนธันวาคม พ.ศ.2449 เมื่อครั้งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเสด็จราชการมณฑลนครราชสีมา มณฑลอุดร และมณฑลร้อยเอ็ด และตอนกลับได้ผ่านมาถึงเมือง พุทไธสง เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2450 ได้พบนายโยโกตา และนายอิสิตา ชาวญี่ปุนซึ่งเดินทางมาตั้งโรงเลี้ยงไหมที่บุรีรัมย์ ได้เลือกทำเลที่เลี้ยง ที่เมืองพุทไธสง และหาที่พักได้ในบริเวณห้องสมุดประชาชนเดิม(ปัจจุบันได้ถูกรื้อถอนและสร้างเป็นโรงพยาบาลไปแล้ว)จุดที่ตั้งโรง เลี้ยงไหมก็คือบริเวณสวนหม่อนพุทไธสงในปัจจุบัน จังหวัดบุรีรัมย์ เป็นจังหวัดหนึ่งที่มีชื่อเสียงในการทอผ้า ดังปรากฏ ในหลักฐานจาก รายงานการตรวจราชการ ของพระพรหมภิบาล(ในสมัยรัชกาลที่ 5)ซึ่งไปตรวจราชการที่มณฑลนครราชสีมา(เมืองบุรีรัมย์ขึ้นกับมณฑลนครราชสีมาในสมัยนั้น)ได้กล่าวถึงสภาพการทำมาหากินของชาวบุรีรัมย์ และการทอผ้าพื้นเมืองไว้ดังนี้"บ้านทะเมนชัย....แขวงเมืองบุรีรัมย์.....เรือนราษฏรมีอยู่ประมาณ 120 หลังคาเศษ ราษฏร 700 คนเศษ มีวัดสองวัด พระสงฆ์จำพรรษาอยู่วัดละ 9-10 รูป ราษฏรเป็นลาว ประกอบอาชีพเพาะปลูก ทอหูกปั่นฝ้าย ทำไหม มะพร้าวเป็นพื้น... บ้านแขวงเมืองบุรีรัมย์..มีหลังคาเรือนอยู่ประมาณ 80 หลังเศษ ราษฏร 500 คนเศษเป็นเขมร ประกอบการเพาะปลูก ทอหูกปั่นฝ้าย ทำไหม มะพร้าวเป็นพื้น...บ้านทั้งหก(อยู่แขวงเมืองนางรอง)รวมหลังคาเรือนมีอยู่ประมาณ 230 หลังเศษราษฏร 800 คน พื้นดินเป็นดินปนทราย ต้นไม้มีมะพร้าว ขนุน ส้ม ต้นหม่อนเป็นพื้น เรือนเหล่านี้เสาไม้ เต็ง รัง ไม้ไผ่สับเป็นฟาก ฝากรุใบปรือ หลังคามุงหญ้าแฝก ราษฏรประกอบการเพาะปลูกทอหูก ปั่นฝ้าย ทำไหมขายรับพระราชทาน........จากข้อความดังกล่าวจะเห็นได้ว่าจังหวัดบุรีรัมย์ในอดีตมีการทอผ้าไหมโดยทั่วไปปัจจุบันการทอผ้าไหมมีอยู่ทั่วไปทุกอำเภอแต่แหล่งทอผ้าไหมที่ใหญ่ที่สุดและสำคัญที่สุดคือที่อำเภอนาโพธิ์ โดยเฉพาะที่บ้านโคกกุง มีศูนย์พัฒนาผ้าไหมและกลุ่มแม่บ้านเลี้ยงไหมนอกจากนี้ยังมีที่บ้านมะเฟือง อำเภอพุทไธสง ซึ่งทอผ้าไหมด้วยกี่ธรรมดาหรือกี่ชาวบ้าน การทอผ้าไหมที่อำเภอพุทไธสงและอำเภอนาโพธิ์ จะมีการทอผ้ามัดหมี่ลายพื้นเมืองดั้งเดิมและแบบลายประยุกต์ โดยเฉพาะผ้ามัดหมี่ตีนแดง ซึ่งเป็นผ้าไหมมัดหมี่ทอหัวซิ่นเป็นพื้นสีแดงไม่มีลวดลายส่วนลายตัวซิ่นนิยมใช้ลายฟันเลื่อย ลายนาค เป็นต้นบ้านหนองโก หมู่ที่ 6 ตำบลดอนกอก อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ มีการปลูกหม่อนเลี้ยงไหมและทอผ้าไหมมาตั้งแต่บรรพบุรุษ และถ่ายทอดให้แก่ลูกหลาน จนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะสตรีในหมู่บ้านส่วนใหญ่จะเรียนทอผ้าไหม ในสมัยก่อนการทอผ้าไหมเป็นการทอสำหรับใช้เองในครัวเรือน นิยมสวมใส่เมื่อมีงานที่สำคัญ เช่นงานแต่งงาน งานบวช งานทำบุญขึ้นบ้านใหม่ งานประเพณีในหมู่บ้าน/ตำบลจัดขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 มีชาวบ้านหนองโกได้เดินทางไปรับเสด็จสมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถที่พระตำหนักภูพานราชนิเวศน์จังหวัดสกลนคร และนำผ้าไหมไปถวายด้วยพระองค์ทรงโปรดผ้าไหมทรงรับไว้ และชื่นชอบมาก และทรงพระราชทานเงินให้เป็นค่าผ้าไหม สร้างความปลาบปลื้มใจเป็นอย่างยิ่ง ต่อมาหมู่บ้านหนองโก ได้คัดเลือกผู้ใหญ่บ้านเป็นสุภาพสตรี คือ นางนิสา ประดา เป็นผู้ที่มีฝีมือและทอผ้าไหม เป็นประจำ ได้ประชุมปรึกษาหารือกับชาวบ้าน เพื่อรวมกลุ่มจัดตั้งกลุ่มทอผ้าไหมขึ้น ชื่อ “ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก” เริ่มแรกยังไม่มีชื่อเสียงมากนัก จวบจนได้รับคำแนะนำปรึกษาจากสำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอนาโพธิ์ มีการฝึกอบรมให้ความรู้การพัฒนาด้านการผลิต การบริหารจัดการกลุ่ม การส่งเสริมด้านการตลาด ทำให้กลุ่มมีการพัฒนาผ้าไหมมัดหมี่ที่มีสีสัน ลวดลายสวยงาม โดยที่ยังความเป็นผ้าไหมมัดหมี่แบบดั้งเดิมไว้ และพัฒนาลวดลายใหม่ให้เข้ากับสมัยใหม่
กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก หมู่ที่ 6 ตำบลดอนกอก อำเภอนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ได้พัฒนาผ้าไหมมัดหมี่ มาเป็นเวลา 23 ปี สร้างชื่อเสี่ยงจนเป็นที่รู้จักด้านผ้าไหมมัดหมี่ที่มีความสวยงาม ประณีตและเป็นผลิตภัณฑ์หลักที่ขายให้กับโครงการศิลปาชีพสวนจิตลดา ลูกค้าคือบุคคลสำคัญความพึงพอใจสูงสุดของลูกค้าคือความสุขของ “ กลุ่มทอผ้าไหมบ้านหนองโก”

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติผ้าไหมบุรีรัมย์
ในอดีตการทอผ้าไหมของจังหวัดบุรีรัมย์ยังได้รับการส่งเสริมจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯส่งผู้เชี่ยวชาญชาวญี่ปุนมาให้คำแนะนำการทอผ้าไหมประมาณเดือนธันวาคมพ . ศ .2449 เมื่อครั้งสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสนาบดีกระทรวงมหาดไทยเสด็จราชการมณฑลนครราชสีมามณฑลอุดรและมณฑลร้อยเอ็ดและตอนกลับได้ผ่านมาถึงเมืองพุทไธสงเมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ได้พบนายโยโกตาและนายอิสิตา 2450ได้เลือกทำเลที่เลี้ยงที่เมืองพุทไธสงและหาที่พักได้ในบริเวณห้องสมุดประชาชนเดิม ( ปัจจุบันได้ถูกรื้อถอนและสร้างเป็นโรงพยาบาลไปแล้ว ) จุดที่ตั้งโรงเลี้ยงไหมก็คือบริเวณสวนหม่อนพุทไธสงในปัจจุบันเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีชื่อเสียงในการทอผ้าดังปรากฏในหลักฐานจากรายงานการตรวจราชการของพระพรหมภิบาล ( ในสมัยรัชกาลที่
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: