หนังไทยส่วนหนึ่ง มักจะสร้างย้อนยุคไปในอดีต โดยมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ การแปล - หนังไทยส่วนหนึ่ง มักจะสร้างย้อนยุคไปในอดีต โดยมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ไทย วิธีการพูด

หนังไทยส่วนหนึ่ง มักจะสร้างย้อนยุคไ

หนังไทยส่วนหนึ่ง มักจะสร้างย้อนยุคไปในอดีต โดยมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ วิถีชีวิตของทาส ไพร่ เจ้าขุนมูลนาย ส่วนหนังฝรั่งส่วนหนึ่งมักจะสร้างโดยจินตนาการไปในอนาคต เกี่ยวกับความทันสมัยและก้าวไกลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ทั้งด้านฟิสิกส์ เคมี ชีวะ
ในทางตรงกันข้าม ผมไม่เคยสังเกตเห็นหนังไทยที่สร้างโดยจินตนาการไปในอนาคต และ หนังฝรั่งที่สร้างโดยย้อนยุคไปในอดีต (หรืออาจจะมีก็ได้แต่ผมไม่ทราบ)
ถ้าแนวการสร้างหนังเป็นไปตามข้อสังเกตของผมดังกล่าวจริง ผมขอวิเคราะห์ตามทรรศนะส่วนตัวของผม ถึง “วิธีคิด” ระหว่าง ไทย และ ฝรั่ง ดังนี้ครับ
วิธีคิดแบบหนังไทย คือ การมองไปในอดีตที่ตราตรึง
ข้อดี ทำให้มองเห็นอัตลักษณ์ของความเป็นไทยที่ชัดเจน ว่า เราคือใคร มาจากไหน มีที่มาที่ไปอย่างไร
ข้อจำกัด เป็นการมองอย่างแยกส่วน ไม่เห็นความเป็นพลวัตของความเปลี่ยนแปลงตามกระแสสังคมและกระแสโลก ทำให้เราย่ำอยู่กับที่ เป็นวิธีคิดที่อาจถูกครอบงำได้ง่ายด้วยลัทธิ “อำนาจนิยม” ทำให้เกิดวิถีชีวิตแบบ “สยบยอม” อันเกิดจาก “การครอบงำ” ซึ่งไม่เป็นผลดีเลย ต่อการพัฒนาชีวิตและสังคม ในยุคปัจจุบัน
วิธีคิดแบบหนังฝรั่ง คือ การมุ่งสู่ความทันสมัยในอนาคต
ข้อดี เป็นการจินตนาการเพื่อเป็นฐานในการสร้างความรู้ที่ทันสมัย
ข้อจำกัด มองแบบวิทยาศาสตร์ เน้นวัตถุนิยมด้านเดียว ขาดมิติด้านจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการรุกรานธรรมชาติโดยไม่คำนึงถึงความยั่งยืน การสร้างความทันสมัยตามฝรั่ง จึงควรบูรณาการความรู้ด้านจิตใจใส่เข้าไปด้วย เพราะมนุษย์ ไม่ใช่หุ่นยนต์

ผมคิดได้เท่านี้แหละครับ ก็เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัว ถูกผิดอย่างไรช่วยชี้แนะด้วยครับ
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
หนังไทยส่วนหนึ่งมักจะสร้างย้อนยุคไปในอดีตโดยมักจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับวิถีชีวิตของทาสไพร่เจ้าขุนมูลนายส่วนหนังฝรั่งส่วนหนึ่งมักจะสร้างโดยจินตนาการไปในอนาคตเกี่ยวกับความทันสมัยและก้าวไกลของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่าง ๆ ทั้งด้านฟิสิกส์เคมีชีวะ ในทางตรงกันข้ามผมไม่เคยสังเกตเห็นหนังไทยที่สร้างโดยจินตนาการไปในอนาคตและหนังฝรั่งที่สร้างโดยย้อนยุคไปในอดีต (หรืออาจจะมีก็ได้แต่ผมไม่ทราบ) ดังนี้ครับถ้าแนวการสร้างหนังเป็นไปตามข้อสังเกตของผมดังกล่าวจริงผมขอวิเคราะห์ตามทรรศนะส่วนตัวของผมถึง "วิธีคิด" ระหว่างนะและฝรั่ง วิธีคิดแบบหนังไทยคือการมองไปในอดีตที่ตราตรึง ข้อดีทำให้มองเห็นอัตลักษณ์ของความเป็นไทยที่ชัดเจนว่าเราคือใครมาจากไหนมีที่มาที่ไปอย่างไร ข้อจำกัดเป็นการมองอย่างแยกส่วนไม่เห็นความเป็นพลวัตของความเปลี่ยนแปลงตามกระแสสังคมและกระแสโลกทำให้เราย่ำอยู่กับที่เป็นวิธีคิดที่อาจถูกครอบงำได้ง่ายด้วยลัทธิ "อำนาจนิยม" ทำให้เกิดวิถีชีวิตแบบ "สยบยอม" อันเกิดจาก "การครอบงำ" ซึ่งไม่เป็นผลดีเลยต่อการพัฒนาชีวิตและสังคมในยุคปัจจุบัน วิธีคิดแบบหนังฝรั่งคือการมุ่งสู่ความทันสมัยในอนาคต ข้อดีเป็นการจินตนาการเพื่อเป็นฐานในการสร้างความรู้ที่ทันสมัย ข้อจำกัดมองแบบวิทยาศาสตร์เน้นวัตถุนิยมด้านเดียวขาดมิติด้านจิตใจอีกทั้งยังเป็นการรุกรานธรรมชาติโดยไม่คำนึงถึงความยั่งยืนการสร้างความทันสมัยตามฝรั่งจึงควรบูรณาการความรู้ด้านจิตใจใส่เข้าไปด้วยเพราะมนุษย์ไม่ใช่หุ่นยนต์ ผมคิดได้เท่านี้แหละครับก็เป็นเพียงความคิดเห็นส่วนตัวถูกผิดอย่างไรช่วยชี้แนะด้วยครับ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: