การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย มีหลายคนสงสัยว่า “ทำไมเด็กชอบเล่น วัน การแปล - การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย มีหลายคนสงสัยว่า “ทำไมเด็กชอบเล่น วัน ไทย วิธีการพูด

การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย มี

การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย

มีหลายคนสงสัยว่า “ทำไมเด็กชอบเล่น วันๆ หนึ่งเอาแต่เล่น เล่นโน่นเล่นนี่ ไม่รู้จักเบื่อ เล่นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน เล่นแล้วได้อะไร แล้วควรจะทำยังไงดีกับการชอบเล่นของเด็ก” นี่คือคำถาม หรือคำบ่นของผู้ใหญ่โดยเฉพาะพ่อ แม่ ผู้ปกครองหรือแม้กระทั่งครูบางคน

ในสังคมและในวัฒนธรรมที่มีความหลากกหลายของโลกใบนี้ มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้ และพัฒนาได้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย โดยคนส่วนมาก หรือวัฒนธรรมหนึ่งที่คนเรานึกถึงในการพัฒนาก็คือ วิชาการ ซึ่งมุ่งเน้นในการสร้างความรู้ ความเข้าใจ จากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอก ซึ่งหากใครต้องการเป็นคนเก่ง หรือผู้ใหญ่ต้องการพัฒนาเด็กหรือต้องการให้เด็กเกิดการเรียนรู้ ต้องส่งเสริมทางวิชาการมากๆ ต้องเรียน ต้องอ่าน ต้องเขียนหรือต้องท่องจำมากๆ

แต่ “การเล่น” กลับเป็นสิ่งที่หลายๆ คนมองว่าเป็นเรื่องไร้สาระ เรื่องไม่สำคัญ หรือเรื่องที่ไม่ควรสนใจ แต่หารู้ไม่ว่าเรื่องไร้สาระกลับเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดในการสร้างการเรียนรู้และการพัฒนาด้านต่างๆให้แก่เด็ก ไม่ว่าจะเป็นการเล่นรูปแบบใด เพราะเด็กจะมีกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเล่น และเป็นสิ่งสะท้อนวัฒนธรรม สังคมของเด็กแต่ละคน แต่ละชาติพันธ์ ซึ่งถ้ามองอย่างจริงจังแล้วไม่ใช่มีเพียงเด็กปฐมวัยเท่านั้นที่ชอบเล่นหรือเรียนรู้จากการเล่น แม้กระทั่งเด็กที่มีระดับสูงขึ้นไปกว่าเด็กปฐมวัยหรือผู้ใหญ่ก็ยังเรียนรู้ผ่านการเล่นในรูปแบบต่างๆเช่นกัน

ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยจึงควรหันมาให้ความสนใจกับการเล่นของเด็กให้มากขึ้น ควรมีความรู้ ความเข้าใจในการเล่น รูปแบบการเล่น หรือประโยชน์จากการเล่น เพื่อจะได้เข้าใจเด็ก และสามารถพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กได้จากการเล่นได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งมีนักจิตวิทยาหลายคนได้ให้ความสำคัญกับการเล่นไว้ และที่น่าสนใจ คือ ไวก็อตสกี้ (Vygotsky) ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านทั้งในประเทศและต่างประเทศได้กล่าวถึงทฤษฎีของเขาอย่างหลากหลายและกว้างขวาง ซึ่งผู้เขียนจึงอย่างนำเสนอมุมมองของ ไวก็อตกี้ (Vygotsky) ที่เขาได้ศึกษาและให้ความสำคัญกับการเล่น โดยเฉพาะในช่วงแรกของชีวิตหรือในช่วงวัยเด็กปฐมวัย เขาไม่เพียงแต่มองที่การเล่นภายนอกของเด็กเท่านั้น เขายังมองถึงเบื้องหลังและเจาะลึกถึงประวัติที่ซ่อนอยู่ภายใต้การเล่นของเด็ก หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจากภายในตัวของเด็กจากการเล่นของเด็กปฐมวัยอีกด้วย ซึ่ง ไวก็อตกี้ (Vygotsky) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเล่นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเด็กไว้หลายมุมมอง ซึ่งผู้เขียนขอนำเสนอดังนี้

ไวก็อตสกี้ (Vygosky : 1978) เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย His most productive years were at the Institute of Psychology in Moscow (1924-34), where he expanded his ideas on cognitive development, particularly the relationship between language and thinking. จบการศึกษาในปี 1913 ได้รับเหรียญทองจากชาวยิวยิมเอกชนในรัสเซีย แม่ของเขา Fluent in French and German, he studied philosophy and literature at Shanyavsky People’s University while completing a master’s degree in law at Moscow University.ชำนาญในภาษาฝรั่งเศสและเยอรมัน เขาศึกษาปรัชญาและวรรณกรรมที่มหาวิทยาลัย Shanyavsky เขาจบปริญญาโทด้านกฎหมายที่มหาวิทยาลัยมอสโก Returning home in 1917, he taught at various institutes, and began reading widely in psychology and education. และหลังที่จบจากมหาวิทยาลัย Shanyavsky เขากลับมาบ้านในปี 1917 และสอนที่วิทยาลัยครูและเริ่มเขียนงานที่นิยมกันอย่างแพร่หลายทางด้านจิตวิทยาและการศึกษา คือ Educationl Psycholy ต่อมาเขาทำงานในสถาบันของจิตวิทยา (กลางทศวรรษ 1920 )

การศึกษาทางด้านจิตวิทยาพัฒนาการเด็กของ ไวก็อตสกี้ (Vygosky) เสนอไว้ว่า เราควรที่จะ “สืบสาว” การพัฒนานั้น เราต้องรื้อประกอบสร้างมันใหม่ด้วยการหันกลับไปดูแหล่งของพฤติกรรมต่างๆ นี้ ต้องยอมรับว่า แนวคิดเรื่องจิตวิทยา cultural-historical ของเขาไม่เคยมีมาก่อนหน้านี้ เขาเสนอจิตวิทยา พัฒนาการเขาเชื่อว่าในการพัฒนาเด็กเขาไม่คำนึงถึงอายุของเด็ก แต่การพัฒนาเด็กได้มันต้องเกิดขึ้นจากภายในของเด็ก historically-based นั่นคือกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมจะเข้าใจได้ก็มีเพียงการเข้าใจผ่านประวัติศาสตร์ของพฤติกรรมเท่านั้น เขาใช้คำว่าความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่เป็นพลวัต ซึ่งเป็นจิตวิทยาที่สำคัญ มีเพียงปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่มองกระบวนการเปลี่ยนแปลงเท่านั้นที่จะช่วยอธิบายได้ นับว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับการประกอบสร้างของระเบียบใหม่ทางความคิดจิตวิทยา

พฤติกรรมของเด็กมีการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นของเด็ก ซึ่งไวก็อตสกี้ (Vygosky) เชื่อว่า การเล่น หรือเด็กเล่นของเล่น เล่นเกมเป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาและบทบาทในการพัฒนาของเด็กThrough play the child develops abstract meaning separate from the objects in the world, which is a critical feature in the development of higher mental functions.[ 4 ]ผ่านการเล่น เด็กได้พัฒนาความหมายของนามธรรมที่แยกต่างหากจากวัตถุในโลกซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญในหน้าที่การพัฒนาจิตใจที่สูงขึ้น โดยไวก็อตสกี้ (Vygosky) ได้เริ่มศึกษาเด็กเป็นระยะดังนี้

ในช่วงวัยทารก(ช่วงปีแรก)

เขาได้ศึกษาการพัฒนาอารมณ์ความรู้สึกของทารกกับความสัมพันธ์กับผู้ดูแลเด็ก เพื่อส่งผลต่อการพัฒนา ผลจากการประเมินพบว่า

ประการแรกทารกได้พัฒนาร่วมกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกันในโลกภายนอก ซึ่งกลายเป็นความเข้มแข็งกว่ามากกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับตนในการสื่อสารทางอารมณ์ความรู้สึกกับผู้ใหญ่ ในทางตรงกันข้ามทารกคิดว่า ของเล่นเป็นวิธีการของการสื่อสารกับผู้ใหญ่เท่านั้น ทารกอาจจะหงุดหงิดจากการไม่ได้สัมผัสกิจกรรม” และ”ไม่มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมร่วมกับวัตถุ

ประการที่สอง ทารกยอมรับผู้ใหญ่ที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยทั้งหมดของความสัมพันธ์ของพวกเขากับโลกภายนอก อารมณ์ความรู้สึกของพวกเขาและการสื่อสารกับผู้ใหญ่ได้ถูกแทนที่โดยเรียกว่าธุรกิจ – เหมือนการสื่อสาร นั่นคือ การสื่อสารในบริบทของการร่วมกันทำกิจกรรม – centered นำไปสู่ผลลัพธ์การเปลี่ยนของทารกผ่านไปที่วัตถุ – centered กิจกรรมร่วมกัน และนำไปสู่การทำกิจกรรมใหม่ร่วมกัน

ไวก็อตสกี้ (Vygosky) เน้นไปที่ต้นเหตุสำคัญของความแตกต่างระหว่างวัตถุ ในช่วงปีแรกและปีที่สอง ในช่วงปีแรกของชีวิต
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย มีหลายคนสงสัยว่า "ทำไมเด็กชอบเล่นวัน ๆ หนึ่งเอาแต่เล่นเล่นโน่นเล่นนี่ไม่รู้จักเบื่อเล่นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนเล่นแล้วได้อะไรแล้วควรจะทำยังไงดีกับการชอบเล่นของเด็ก" นี่คือคำถามหรือคำบ่นของผู้ใหญ่โดยเฉพาะพ่อแม่ผู้ปกครองหรือแม้กระทั่งครูบางคน ในสังคมและในวัฒนธรรมที่มีความหลากกหลายของโลกใบนี้มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้และพัฒนาได้ด้วยวิธีการที่หลากหลายโดยคนส่วนมากหรือวัฒนธรรมหนึ่งที่คนเรานึกถึงในการพัฒนาก็คือวิชาการซึ่งมุ่งเน้นในการสร้างความรู้ความเข้าใจจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกซึ่งหากใครต้องการเป็นคนเก่งหรือผู้ใหญ่ต้องการพัฒนาเด็กหรือต้องการให้เด็กเกิดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมทางวิชาการมาก ๆ ต้องเรียนต้องอ่านต้องเขียนหรือต้องท่องจำมาก ๆ แต่ "การเล่น" กลับเป็นสิ่งที่หลาย ๆ คนมองว่าเป็นเรื่องไร้สาระเรื่องไม่สำคัญหรือเรื่องที่ไม่ควรสนใจแต่หารู้ไม่ว่าเรื่องไร้สาระกลับเป็นเรื่องที่สำคัญที่สุดในการสร้างการเรียนรู้และการพัฒนาด้านต่างๆให้แก่เด็กไม่ว่าจะเป็นการเล่นรูปแบบใดเพราะเด็กจะมีกระบวนการเรียนรู้ผ่านกระบวนการเล่นและเป็นสิ่งสะท้อนวัฒนธรรมสังคมของเด็กแต่ละคนแต่ละชาติพันธ์ซึ่งถ้ามองอย่างจริงจังแล้วไม่ใช่มีเพียงเด็กปฐมวัยเท่านั้นที่ชอบเล่นหรือเรียนรู้จากการเล่นแม้กระทั่งเด็กที่มีระดับสูงขึ้นไปกว่าเด็กปฐมวัยหรือผู้ใหญ่ก็ยังเรียนรู้ผ่านการเล่นในรูปแบบต่างๆเช่นกัน ดังนั้นผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัยจึงควรหันมาให้ความสนใจกับการเล่นของเด็กให้มากขึ้น ควรมีความรู้ ความเข้าใจในการเล่น รูปแบบการเล่น หรือประโยชน์จากการเล่น เพื่อจะได้เข้าใจเด็ก และสามารถพัฒนาและส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กได้จากการเล่นได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งมีนักจิตวิทยาหลายคนได้ให้ความสำคัญกับการเล่นไว้ และที่น่าสนใจ คือ ไวก็อตสกี้ (Vygotsky) ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านทั้งในประเทศและต่างประเทศได้กล่าวถึงทฤษฎีของเขาอย่างหลากหลายและกว้างขวาง ซึ่งผู้เขียนจึงอย่างนำเสนอมุมมองของ ไวก็อตกี้ (Vygotsky) ที่เขาได้ศึกษาและให้ความสำคัญกับการเล่น โดยเฉพาะในช่วงแรกของชีวิตหรือในช่วงวัยเด็กปฐมวัย เขาไม่เพียงแต่มองที่การเล่นภายนอกของเด็กเท่านั้น เขายังมองถึงเบื้องหลังและเจาะลึกถึงประวัติที่ซ่อนอยู่ภายใต้การเล่นของเด็ก หรือสิ่งที่เกิดขึ้นจากภายในตัวของเด็กจากการเล่นของเด็กปฐมวัยอีกด้วย ซึ่ง ไวก็อตกี้ (Vygotsky) ได้ศึกษาเกี่ยวกับการเล่นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเด็กไว้หลายมุมมอง ซึ่งผู้เขียนขอนำเสนอดังนี้ ไวก็อตสกี้ (Vygosky : 1978) เป็นนักจิตวิทยาชาวรัสเซีย His most productive years were at the Institute of Psychology in Moscow (1924-34), where he expanded his ideas on cognitive development, particularly the relationship between language and thinking. จบการศึกษาในปี 1913 ได้รับเหรียญทองจากชาวยิวยิมเอกชนในรัสเซีย แม่ของเขา Fluent in French and German, he studied philosophy and literature at Shanyavsky People’s University while completing a master’s degree in law at Moscow University.ชำนาญในภาษาฝรั่งเศสและเยอรมัน เขาศึกษาปรัชญาและวรรณกรรมที่มหาวิทยาลัย Shanyavsky เขาจบปริญญาโทด้านกฎหมายที่มหาวิทยาลัยมอสโก Returning home in 1917, he taught at various institutes, and began reading widely in psychology and education. และหลังที่จบจากมหาวิทยาลัย Shanyavsky เขากลับมาบ้านในปี 1917 และสอนที่วิทยาลัยครูและเริ่มเขียนงานที่นิยมกันอย่างแพร่หลายทางด้านจิตวิทยาและการศึกษา คือ Educationl Psycholy ต่อมาเขาทำงานในสถาบันของจิตวิทยา (กลางทศวรรษ 1920 ) การศึกษาทางด้านจิตวิทยาพัฒนาการเด็กของ ไวก็อตสกี้ (Vygosky) เสนอไว้ว่า เราควรที่จะ “สืบสาว” การพัฒนานั้น เราต้องรื้อประกอบสร้างมันใหม่ด้วยการหันกลับไปดูแหล่งของพฤติกรรมต่างๆ นี้ ต้องยอมรับว่า แนวคิดเรื่องจิตวิทยา cultural-historical ของเขาไม่เคยมีมาก่อนหน้านี้ เขาเสนอจิตวิทยา พัฒนาการเขาเชื่อว่าในการพัฒนาเด็กเขาไม่คำนึงถึงอายุของเด็ก แต่การพัฒนาเด็กได้มันต้องเกิดขึ้นจากภายในของเด็ก historically-based นั่นคือกระบวนการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมจะเข้าใจได้ก็มีเพียงการเข้าใจผ่านประวัติศาสตร์ของพฤติกรรมเท่านั้น เขาใช้คำว่าความสัมพันธ์เชิงเหตุและผลที่เป็นพลวัต ซึ่งเป็นจิตวิทยาที่สำคัญ มีเพียงปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาที่มองกระบวนการเปลี่ยนแปลงเท่านั้นที่จะช่วยอธิบายได้ นับว่าเป็นเครื่องมือที่สำคัญสำหรับการประกอบสร้างของระเบียบใหม่ทางความคิดจิตวิทยา พฤติกรรมของเด็กมีการเปลี่ยนแปลง การพัฒนาการเรียนรู้จากการเล่นของเด็ก ซึ่งไวก็อตสกี้ (Vygosky) เชื่อว่า การเล่น หรือเด็กเล่นของเล่น เล่นเกมเป็นปรากฏการณ์ทางจิตวิทยาและบทบาทในการพัฒนาของเด็กThrough play the child develops abstract meaning separate from the objects in the world, which is a critical feature in the development of higher mental functions.[ 4 ]ผ่านการเล่น เด็กได้พัฒนาความหมายของนามธรรมที่แยกต่างหากจากวัตถุในโลกซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สำคัญในหน้าที่การพัฒนาจิตใจที่สูงขึ้น โดยไวก็อตสกี้ (Vygosky) ได้เริ่มศึกษาเด็กเป็นระยะดังนี้ในช่วงวัยทารก(ช่วงปีแรก) เขาได้ศึกษาการพัฒนาอารมณ์ความรู้สึกของทารกกับความสัมพันธ์กับผู้ดูแลเด็ก เพื่อส่งผลต่อการพัฒนา ผลจากการประเมินพบว่า ประการแรกทารกได้พัฒนาร่วมกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกันในโลกภายนอก ซึ่งกลายเป็นความเข้มแข็งกว่ามากกับสิ่งที่เกี่ยวข้องกับตนในการสื่อสารทางอารมณ์ความรู้สึกกับผู้ใหญ่ ในทางตรงกันข้ามทารกคิดว่า ของเล่นเป็นวิธีการของการสื่อสารกับผู้ใหญ่เท่านั้น ทารกอาจจะหงุดหงิดจากการไม่ได้สัมผัสกิจกรรม” และ”ไม่มีความสัมพันธ์กับกิจกรรมร่วมกับวัตถุ กิจกรรมร่วมกันและนำไปสู่การทำกิจกรรมใหม่ร่วมกันประการที่สองทารกยอมรับผู้ใหญ่ที่เป็นผู้ไกล่เกลี่ยทั้งหมดของความสัมพันธ์ของพวกเขากับโลกภายนอกอารมณ์ความรู้สึกของพวกเขาและการสื่อสารกับผู้ใหญ่ได้ถูกแทนที่โดยเรียกว่าธุรกิจ – กึ่งกลางเหมือนการสื่อสารนั่นคือการสื่อสารในบริบทของการร่วมกันทำกิจกรรม –นำไปสู่ผลลัพธ์การเปลี่ยนของทารกผ่านไปที่วัตถุกลาง – ในช่วงปีแรกของชีวิตในช่วงปีแรกและปีที่สองเน้นไปที่ต้นเหตุสำคัญของความแตกต่างระหว่างวัตถุไวก็อตสกี้ (Vygosky)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
การเล่นสำคัญอย่างไรกับเด็กปฐมวัย

มีหลายคนสงสัยว่า " ทำไมเด็กชอบเล่นวันๆหนึ่งเอาแต่เล่นเล่นโน่นเล่นนี่ไม่รู้จักเบื่อเล่นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ทั้งที่บ้านและที่โรงเรียนเล่นแล้วได้อะไรแล้วควรจะทำยังไงดีกับการชอบเล่นของเด็ก " นี่คือคำถามแม่ผู้ปกครองหรือแม้กระทั่งครูบางคน

ในสังคมและในวัฒนธรรมที่มีความหลากกหลายของโลกใบนี้มนุษย์เราสามารถเรียนรู้ได้และพัฒนาได้ด้วยวิธีการที่หลากหลายโดยคนส่วนมากหรือวัฒนธรรมหนึ่งที่คนเรานึกถึงในการพัฒนาก็คือวิชาการความเข้าใจจากสิ่งที่เกิดขึ้นภายนอกซึ่งหากใครต้องการเป็นคนเก่งหรือผู้ใหญ่ต้องการพัฒนาเด็กหรือต้องการให้เด็กเกิดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมทางวิชาการมากๆต้องเรียนต้องอ่านต้องเขียนหรือต้องท่องจำมากๆ

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: