พิธีสารเกียวโต อันที่จริงทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนมาตั้งแต การแปล - พิธีสารเกียวโต อันที่จริงทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนมาตั้งแต ไทย วิธีการพูด

พิธีสารเกียวโต อันที่จริงทั่วโลกต่า

พิธีสารเกียวโต

อันที่จริงทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนมาตั้งแต่ปี 2535 แล้ว นั่นก็คือ "พิธีสารเกียวโต" (Kyoto Protocal to the United Nations Framework Convention on Climate Change) เป็นมาตรการทางกฎหมายร่วมกันของนานาประเทศ ที่มีเป้าหมายทางกฎหมายเพื่อรับมือกับภาวะโลกร้อน (Global Warming) โดยมีการประกาศในข้อตกลงครั้งประวัติศาสตร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกของสหประชาชาติเมื่อปี 2535 และผ่านความเห็นชอบในปี 2540 ที่เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น โดยเปิดให้แต่ละชาติลงนามสัตยาบันระหว่างวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2541 จนถึงวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2542

ข้อตกลงในพิธีสารฉบับนี้มีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 ซึ่งชาติใดก็ตามที่ให้สัตยาบันในพิธีสารนี้ จะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ไอน้ำ โอโซน มีเทน ไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน โดยมีจุดมุ่งหมายสูงสุด คือ ภายในปี 2551-2555 ให้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกลงประมาณ 5.2% ของระดับที่ปล่อยออกมาในปี 2533 แต่ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือ โลกก็จะมีอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น น้ำแข็งที่ขั้วโลกก็จะละลายหายไปเรื่อย ๆ ทำให้น้ำทะเลสูงขึ้น ๆ เชื่อไหมว่าหากน้ำทะเลสูงขึ้นอีกราว 1 เมตร ก็จะเกิดน้ำท่วมตามแผ่นดินมากมาย แถมยังก่อให้เกิดปรากฎการณ์เอล นิโน และลา นิโน รวมถึงภัยธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นพายุหมุนเขตร้อน ภัยแล้ง ไฟป่า เป็นต้น

ตอนแรกพิธีสารนี้ดูจะไม่สำเร็จ เพราะรัสเซียซึ่งเป็นประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึง 17% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก ยังไม่ยอมให้สัตยาบัน แต่เมื่อรัสเซียลงนามให้สัตยาบันเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ทั่วโลกต่างก็เริ่มมองเห็นความสำเร็จ โดยมีทั้งหมด 127 ประเทศ ที่ร่วมลงนามให้สัตยาบัน ส่วนประเทศที่ยังคงไม่ยอมร่วมลงนามสัตยาบัน ก็คือ 2 ชาติอุตสาหกรรมยักษ์อย่างอเมริกาและออสเตรเลีย โดยเฉพาะอเมริกาที่เป็นประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดในโลก แถมอเมริกายังถอนตัวจากพิธีสารเกียวโตในปี 2544 โดยอ้างเหตุผลว่าสนธิสัญญาดังกล่าวไม่เป็นธรรมต่อประเทศอุตสาหกรรม เพราะมีต้นทุนมหาศาลในการจำกัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของอเมริกาอย่างสูง

ต่อมาในวันที่ 26-29 กรกฎาคม 2548 ได้มีการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ครั้งที่ 38 ณ กรุงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว งานนี้นอกจากสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศแล้ว ยังมีชาติอื่น ๆ ในเอเชีย-แปซิฟิกอีก 14 ประเทศ รวมถึงประเทศยักษ์ใหญ่อย่างอเมริกา จีน และญี่ปุ่น

ในการประชุมครั้งนี้มีด้วยกันหลายเรื่อง เรื่องหนึ่งที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติก็คือ 6 ชาติยักษ์ใหญ่ที่ประกอบด้วยอเมริกา จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย และออสเตรเลีย ได้ร่วมกันจัดตั้ง "หุ้นส่วนด้านสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาเทคโนโลยีแบบพลังงานสะอาดในเอเชีย-แปซิฟิก" โดยอ้างว่ามีเป้ามายเพื่อ "ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี" ที่สามารกำจัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้โลกร้อนขึ้น

การแอบทำข้อตกลงฉบับนี้ย่อมถูกนำไปเปรียบเทียบกับ "พิธีสารเกียวโต"ที่มีเป้าหมายเดียวกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะผลประโยชน์จากข้อตกลงนั้น ส่วนใหญ่จะตกอยู่ที่อุตสาหกรรมต่าง ๆ ของอเมริกา และอุตสาหกรรมผลิตเชื้อเพลิงในออสเตรเลีย ซึ่งทั้ง 2 ประเทศนี้เป็นผู้ปล่อยมลพิษ (รายใหญ่) สู่อากาศ

ข้อตกลงของ 6 ชาตินี้ นายจอห์น โฮเวิร์ด นายกรัฐมนตรีแห่งออสเตรเลียในสมัยนั้น ได้ชี้แจงอย่างเลิศหรูว่าจะมีประสิทธิภาพกว่าพิธีสารเกียวโต ส่วนนายอเล็กซ์ซานเดอร์ ดาวเนอร์ รมต.ต่างประเทศออสเตรเลีย กล่าวว่าสัญญานี้ไม่ได้ลดความสำคัญของพิธีสารเกียวโต แต่จะช่วยเติมเต็มพิธีสารเกียวโตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น เพราะการพัฒนาเทคโนโลยีแบบพลังงานสะอาดจะเป็นวิธีแก้ปัญหาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด

ทางสหภาพยุโรปหรืออียูให้ความเห็นว่าสนธิสัญญาที่ 6 ชาติตกลงกันนั้น ไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแต่อย่างใด และไม่สามารถแทนที่พิธีสารเกียวโตได้ เพราะข้อตกลงนี้ตั้งกันขึ้นมาโดยไม่มีผลผูกมัด ไม่มีมาตรการที่ชัดเจน ไม่ระบุมาตรฐานในการบังคับใช้ รวมทั้งกำหนดระยะเวลาในการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แน่นอน คงมุ่งเน้นเพียงการใช้พลังงานที่สะอาดและเป็นเพียงข้อตกลงเชิงการค้าเท่านั้น

สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมมีปฏิกิริยาแตกต่างกันไป บางกลุ่มไม่มั่นใจว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ในข้อตกลงดังกล่าว บ้างระบุว่าเป็นความพยายามของอเมริกาและออสเตรลียที่ต้องการทำลายพิธีสารเกียวโต โดยบิดเบือนเป้าหมายหลัก คือ การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก

ส่วนกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมต่างรุมประณามข้อตกลงนี้ว่าเป็นการเห็นแก่ตัวและจะไม่ได้ผลอะไร รวมทั้งเชื่อว่าอเมริกาและออเตรเลียร่วมกันพยายามจัดตั้งสนธิสัญญานี้ขึ้นมาเพื่อลบล้างความล้มเหลวในการร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโต

ลดโลกร้อน
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
พิธีสารเกียวโต อันที่จริงทั่วโลกต่างตระหนักถึงปัญหาภาวะโลกร้อนมาตั้งแต่ปี 2535 แล้วนั่นก็คือ "พิธีสารเกียวโต" (Protocal เกียวโตกับอนุสัญญาสหประชาชาติการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) เป็นมาตรการทางกฎหมายร่วมกันของนานาประเทศ (โลกร้อน) ที่มีเป้าหมายทางกฎหมายเพื่อรับมือกับภาวะโลกร้อนโดยมีการประกาศในข้อตกลงครั้งประวัติศาสตร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลกของสหประชาชาติเมื่อปี 2535 และผ่านความเห็นชอบในปี 2540 ที่เมืองเกียวโตประเทศญี่ปุ่นโดยเปิดให้แต่ละชาติลงนามสัตยาบันระหว่างวันที่ 16 มีนาคม พ.ศ.2541 จนถึงวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ.2542 ข้อตกลงในพิธีสารฉบับนี้มีผลบังคับใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2548 ซึ่งชาติใดก็ตามที่ให้สัตยาบันในพิธีสารนี้จะต้องลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไอน้ำโอโซนมีเทนไนตรัสออกไซด์และคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนโดยมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือภายในปี 2551-2555 ให้ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกลงประมาณของระดับที่ปล่อยออกมาในปี 5.2% 2533 แต่ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือโลกก็จะมีอุณหภูมิโลกร้อนขึ้นน้ำแข็งที่ขั้วโลกก็จะละลายหายไปเรื่อยๆ ทำให้น้ำทะเลสูงขึ้นๆ เชื่อไหมว่าหากน้ำทะเลสูงขึ้นอีกราว 1 เมตรก็จะเกิดน้ำท่วมตามแผ่นดินมากมายแถมยังก่อให้เกิดปรากฎการณ์เอลนิโนและลานิโนรวมถึงภัยธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นอีกมากมายไม่ว่าจะเป็นพายุหมุนเขตร้อนภัยแล้งไฟป่าเป็นต้น ตอนแรกพิธีสารนี้ดูจะไม่สำเร็จเพราะรัสเซียซึ่งเป็นประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากถึงของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลก 17% ยังไม่ยอมให้สัตยาบันแต่เมื่อรัสเซียลงนามให้สัตยาบันเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ.2547 ทั่วโลกต่างก็เริ่มมองเห็นความสำเร็จโดยมีทั้งหมด 127 ประเทศที่ร่วมลงนามให้สัตยาบันส่วนประเทศที่ยังคงไม่ยอมร่วมลงนามสัตยาบันก็คือ 2 ชาติอุตสาหกรรมยักษ์อย่างอเมริกาและออสเตรเลียโดยเฉพาะอเมริกาที่เป็นประเทศที่ปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุดในโลกแถมอเมริกายังถอนตัวจากพิธีสารเกียวโและจะส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของอเมริกาอย่างสูงเพราะมีต้นทุนมหาศาลในการจำกัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยอ้างเหตุผลว่าสนธิสัญญาดังกล่าวไม่เป็นธรรมต่อประเทศอุตสาหกรรมตในปี 2544 ต่อมาในวันที่ 26-29 กรกฎาคม 2548 (อาเซียน) ได้มีการประชุมรัฐมนตรีต่างประเทศของสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ครั้งที่ 38 ณกรุงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวงานนี้นอกจากสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศแล้วยังมีชาติอื่นๆ ในเอเชีย-แปซิฟิกอีก 14 ประเทศรวมถึงประเทศยักษ์ใหญ่อย่างอเมริกาจีนและญี่ปุ่น ในการประชุมครั้งนี้มีด้วยกันหลายเรื่องเรื่องหนึ่งที่เป็นเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติก็คือ 6 ชาติยักษ์ใหญ่ที่ประกอบด้วยอเมริกาจีนญี่ปุ่นเกาหลีใต้อินเดียและออสเตรเลียได้ร่วมกันจัดตั้ง "หุ้นส่วนด้านสภาพภูมิอากาศและการพัฒนาเทคโนโลยีแบบพลังงานสะอาดในเอเชีย-แปซิฟิก" โดยอ้างว่ามีเป้ามายเพื่อ "ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี" ที่สามารกำจัดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้โลกร้อนขึ้น การแอบทำข้อตกลงฉบับนี้ย่อมถูกนำไปเปรียบเทียบกับ "พิธีสารเกียวโต" ที่มีเป้าหมายเดียวกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยเฉพาะผลประโยชน์จากข้อตกลงนั้นส่วนใหญ่จะตกอยู่ที่อุตสาหกรรมต่างๆ ของอเมริกาและอุตสาหกรรมผลิตเชื้อเพลิงในออสเตรเลียซึ่งทั้ง 2 ประเทศนี้เป็นผู้ปล่อยมลพิษ (รายใหญ่) สู่อากาศ ข้อตกลงของ 6 ชาตินี้นายจอห์นโฮเวิร์ดนายกรัฐมนตรีแห่งออสเตรเลียในสมัยนั้นได้ชี้แจงอย่างเลิศหรูว่าจะมีประสิทธิภาพกว่าพิธีสารเกียวโตส่วนนายอเล็กซ์ซานเดอร์ดาวเนอร์รมต.ต่างประเทศออสเตรเลียกล่าวว่าสัญญานี้ไม่ได้ลดความสำคัญของพิธีสารเกียวโตแต่จะช่วยเติมเต็มพิธีสารเกียวโตให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นเพราะการพัฒนาเทคโนโลยีแบบพลังงานสะอาดจะเป็นวิธีแก้ปัญหาการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั้งหมด ทางสหภาพยุโรปหรืออียูให้ความเห็นว่าสนธิสัญญาที่ 6 ชาติตกลงกันนั้นไม่ได้มีเป้าหมายเพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกแต่อย่างใดและไม่สามารถแทนที่พิธีสารเกียวโตได้เพราะข้อตกลงนี้ตั้งกันขึ้นมาโดยไม่มีผลผูกมัดไม่มีมาตรการที่ชัดเจนไม่ระบุมาตรฐานในการบังคับใช้รวมทั้งกำหนดระยะเวลาในการลดปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่แน่นอนคงมุ่งเน้นเพียงการใช้พลังงานที่สะอาดและเป็นเพียงข้อตกลงเชิงการค้าเท่านั้น สำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อมมีปฏิกิริยาแตกต่างกันไปบางกลุ่มไม่มั่นใจว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ในข้อตกลงดังกล่าวบ้างระบุว่าเป็นความพยายามของอเมริกาและออสเตรลียที่ต้องการทำลายพิธีสารเกียวโตโดยบิดเบือนเป้าหมายหลักคือการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ส่วนกลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมต่างรุมประณามข้อตกลงนี้ว่าเป็นการเห็นแก่ตัวและจะไม่ได้ผลอะไรรวมทั้งเชื่อว่าอเมริกาและออเตรเลียร่วมกันพยายามจัดตั้งสนธิสัญญานี้ขึ้นมาเพื่อลบล้างความล้มเหลวในการร่วมลงนามในพิธีสารเกียวโต ลดโลกร้อน
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
2535 แล้วนั่นก็คือ "พิธีสารเกียวโต" (Kyoto Protocal ยูเอ็นกรอบอนุสัญญาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) (ภาวะโลกร้อน) 2535 และผ่านความเห็นชอบในปี 2540 ที่เมืองเกียวโตประเทศญี่ปุ่น 16 มีนาคม พ.ศ. 2541 จนถึงวันที่ 15 มีนาคม 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 ๆ ไม่ว่าจะเป็นก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ไอน้ำโอโซนมีเทนไนตรัสออกไซด์และคลอโรฟลูโอโรคาร์บอนโดยมีจุดมุ่งหมายสูงสุดคือภายในปี 2551-2555 5.2% ของระดับที่ปล่อยออกมาในปี 2533 แต่ถ้าไม่ได้รับความร่วมมือโลกก็จะมีอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น ๆ ทำให้น้ำทะเลสูงขึ้น ๆ 1 เมตรก็จะเกิดน้ำท่วมตามแผ่นดินมากมายแถมยังก่อให้เกิดปรากฎการณ์เอลนิโนและลานิโน ไม่ว่าจะเป็นพายุหมุนเขตร้อนภัยแล้งไฟป่า 17% ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทั่วโลกยังไม่ยอมให้สัตยาบัน 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 โดยมีทั้งหมด 127 ประเทศที่ร่วมลงนามให้สัตยาบัน ก็คือ 2 2544 วันที่ 26-29 กรกฎาคม 2548 (อาเซียน) ครั้งที่ 38 ณ กรุงเวียงจันทน์สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวงานนี้นอกจากสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศแล้วยังมีชาติอื่น ๆ ในเอเชีย - แปซิฟิกอีก 14 ประเทศรวมถึงประเทศยักษ์ใหญ่อย่างอเมริกาจีน 6 ชาติยักษ์ใหญ่ที่ประกอบด้วยอเมริกาจีนญี่ปุ่นเกาหลีใต้อินเดียและออสเตรเลียได้ร่วมกันจัดตั้ง โดยอ้างว่ามีเป้ามายเพื่อ "ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี" โดยเฉพาะผลประโยชน์จากข้อตกลงนั้นส่วนใหญ่จะตกอยู่ที่อุตสาหกรรมต่าง ๆ ของอเมริกา ซึ่งทั้ง 2 ประเทศนี้เป็นผู้ปล่อยมลพิษ (รายใหญ่) สู่อากาศข้อตกลงของ 6 ชาตินี้นายจอห์นโฮเวิร์ด ส่วนนายอเล็กซ์ซานเดอร์ดาวเนอร์รมต. ต่างประเทศออสเตรเลีย 6 ชาติตกลงกันนั้น ไม่มีมาตรการที่ชัดเจนไม่ระบุมาตรฐานในการบังคับใช้ โดยบิดเบือนเป้าหมายหลักคือ





















การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: