โครงสร้างของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับระบบการปกครองและระบบกฎหมาย ประเทศสหร การแปล - โครงสร้างของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับระบบการปกครองและระบบกฎหมาย ประเทศสหร ไทย วิธีการพูด

โครงสร้างของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับร

โครงสร้างของสหรัฐอเมริกา เกี่ยวกับระบบการปกครองและระบบกฎหมาย

ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้รับระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี(Common law) ตามระบบกฎหมายอังกฤษ แต่การพัฒนาของประเทศสหรัฐอเมริกาแตกต่างจากแนวคิดของอังกฤษเป็นอย่างมาก อย่างหนึ่งที่สหรัฐฯ ยอมรับนับถือ คือ Separation of Powers Doctrine

ระบบนี้ มีมรดกความคิดจากยุโรป ที่ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ และฝ่ายตุลการ จึงจำกัดบทบาทของตนเองอย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะในเรื่องการบังคับใช้และการตีความกฎหมายอาญา แต่ก็ยังให้อิสระแก่ศาลในการตีความและสร้างหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับแนวคิดทางกฎหมายแพ่งโดยแท้ เช่น สัญญา (Contract) และละเมิด (Torts)

ระบบกฎหมายอาญาของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ละรัฐจะมีอิสระในการบัญญัติกฎหมายอาญาของตนเอง โดยรัฐบาลกลาง (Federal Government) จะไม่แทรกแซงในเรื่องของการกำหนดว่าการกระทำใดจะเป็นความผิดอาญาหรือไม่ อย่างไร และมีหลักเกณฑ์ในการกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีพิจารณาความอย่างไร ซึ่งมีที่มาจากเหตุผลพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ในการรวมตัวเป็นสหรัฐอเมริกาในอดีตที่ไม่ต้องการให้รัฐบาลกลาง มีอำนาจมากเกินไปจนถึงขนาดที่จะเข้ามาควบคุมรัฐบาลของมลรัฐได้ ในอดีตนั้น จึงยอมรับกันว่ารัฐบาลแห่งมลรัฐเท่านั้นที่ควรจะทำหน้าที่ปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยมีหลักฐานที่เด่นชัด คือ บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของประเทศสหรัฐที่เขียนแบ่งแยกอำนาจอย่างชัดเจนทั้งในแนวราบ และแนวดิ่ง โดยในแนวราบที่ว่า ก็คือ การแบ่งแยกอำนาจตามหลักการ Separation of Powers ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ส่วนในแนวดิ่ง ก็จะแบ่งแยกอำนาจระหว่างรัฐบาลมลรัฐ และรัฐบาลกลาง อย่างชัดเจนเช่นกัน

รัฐบาลกลางจะมีอำนาจในการออกกฎหมายที่มุ่งควบคุมกิจกรรมของรัฐบาลในระดับมลรัฐได้ในเฉพาะสิ่งที่กำหนดไว้ ซึ่งเรียกว่า Enumerated Powers ซึ่งกำหนดไว้คร่าว ๆ ว่า อำนาจใดที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจของรัฐบาลกลางสหรัฐ ย่อมเป็นอำนาจของมลรัฐทั้งสิ้น โดยอำนาจที่ถือว่าเป็นอำนาจของรัฐบาลกลางเช่น เช่น อำนาจเกี่ยวกับการจัดทำถนนหนทาง อำนาจทางการฑูต และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อำนาจเกี่ยวกับการไปรษณีย์ อำนาจทางทหาร และอำนาจเกี่ยวกับการควบคุมการค้าระหว่างมลรัฐ หรือ Interstate Commerce ซึ่งอำนาจข้างต้น ล้วนแต่เป็นอำนาจที่สำคัญมาก โดยรัฐสภาได้ออกกฎหมายอาญาต่าง ๆ โดยอาศัยอำนาจข้างต้น เช่น การฉ้อโกงผู้อื่นโดยอาศัยวิธีการทางจดหมาย (Mail Fraud) หรือ การกระทำผิดที่เกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ( White Collar Crime) เช่น Computer Fraud, Money Laundering, Wire Fraud, RICO ก็อาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่า การกระทำผิดข้างต้น จะก่อให้เกิดผลกระทำต่อการค้าระหว่างมลรัฐ (Interstate Commerce) รัฐสภาสหรัฐ ก็จะอาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่า การกระทำผิดข้างต้น จะก่อให้เกิดผลกระทำต่อการค้าระหว่างมลรัฐ (Interstate Commerce) ในการออกกฎหมายในระดับ Federal เพื่อบังคับใช้ในระดับมลรัฐด้วย การดำเนินคดีอาญาในสหรัฐ จึงเป็น Dual System คือ ระบบบคู่ขนานระหว่างมลรัฐและรัฐบาลไปพร้อม ๆ กัน และไม่มีปัญหาในเรื่อง Double Jeopardy หรือ การดำเนินคดีอาญาซ้ำ เพราะเป็นการดำเนินคดีต่างระดับกัน สำหรับอำนาจอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญสหรัฐฯ เช่น อำนาจที่เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) และการจัดตั้งหน่วยงานในการบังคับใช้กฎหมายทั้งหลาย ตั้งแต่องค์กรตำรวจ และ Sheriff รวมถึงองค์กรอัยการนั้น จึงเป็นเรื่องที่มลรัฐมีอำนาจดำเนินการทั้งสิ้น โดยรัฐบาลกลางจึงได้จัดตั้งหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย เช่น F.B.I หน่วยงานทางสรรพากร (IRS) อัยการ และศาลในระดับรัฐบาลกลาง ขึ้นเพื่อดำเนินการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ

ในสหรัฐฯ จึงมีปัญหาที่โต้แย้งกันเสมอว่า รัฐบาลกลางควรเข้ามาแทรกแซงรัฐบาลมลรัฐมากน้อยเพียงใด และมีคดีทางรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ เป็นอย่างมาก ในปัจจุบัน ข้อสรุปที่เกิดขึ้นจากแนวคำพิพากษาของ The U.S. Supreme Court จึงได้วางหลักว่า กิจการใด ๆ ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงสิทธิขั้นพื้นฐาน (Fundamental Rights) ของประชาชนแล้ว รัฐบาลกลางย่อมสามารถดำเนินการได้ทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รัฐบาลกลางสหรัฐสามารถดำเนินการควบคุมเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ทั้งหมด
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงสร้างของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับระบบการปกครองและระบบกฎหมาย ประเทศสหรัฐอเมริกาได้รับระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี (กฎหมายทั่วไป) ตามระบบกฎหมายอังกฤษแต่การพัฒนาของประเทศสหรัฐอเมริกาแตกต่างจากแนวคิดของอังกฤษเป็นอย่างมากอย่างหนึ่งที่สหรัฐฯ ยอมรับนับถือคือลัทธิแยกอำนาจ ระบบนี้มีมรดกความคิดจากยุโรปที่ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลการจึงจำกัดบทบาทของตนเองอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะในเรื่องการบังคับใช้และการตีความกฎหมายอาญาแต่ก็ยังให้อิสระแก่ศาลในการตีความและสร้างหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับแนวคิดทางกฎหมายแพ่งโดยแท้เช่นสัญญา (สัญญา) และละเมิด (ละเมิดจาก) ระบบกฎหมายอาญาของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ละรัฐจะมีอิสระในการบัญญัติกฎหมายอาญาของตนเอง โดยรัฐบาลกลาง (Federal Government) จะไม่แทรกแซงในเรื่องของการกำหนดว่าการกระทำใดจะเป็นความผิดอาญาหรือไม่ อย่างไร และมีหลักเกณฑ์ในการกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีพิจารณาความอย่างไร ซึ่งมีที่มาจากเหตุผลพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ในการรวมตัวเป็นสหรัฐอเมริกาในอดีตที่ไม่ต้องการให้รัฐบาลกลาง มีอำนาจมากเกินไปจนถึงขนาดที่จะเข้ามาควบคุมรัฐบาลของมลรัฐได้ ในอดีตนั้น จึงยอมรับกันว่ารัฐบาลแห่งมลรัฐเท่านั้นที่ควรจะทำหน้าที่ปกป้องสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยมีหลักฐานที่เด่นชัด คือ บทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของประเทศสหรัฐที่เขียนแบ่งแยกอำนาจอย่างชัดเจนทั้งในแนวราบ และแนวดิ่ง โดยในแนวราบที่ว่า ก็คือ การแบ่งแยกอำนาจตามหลักการ Separation of Powers ระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการ ส่วนในแนวดิ่ง ก็จะแบ่งแยกอำนาจระหว่างรัฐบาลมลรัฐ และรัฐบาลกลาง อย่างชัดเจนเช่นกัน รัฐบาลกลางจะมีอำนาจในการออกกฎหมายที่มุ่งควบคุมกิจกรรมของรัฐบาลในระดับมลรัฐได้ในเฉพาะสิ่งที่กำหนดไว้ ซึ่งเรียกว่า Enumerated Powers ซึ่งกำหนดไว้คร่าว ๆ ว่า อำนาจใดที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจของรัฐบาลกลางสหรัฐ ย่อมเป็นอำนาจของมลรัฐทั้งสิ้น โดยอำนาจที่ถือว่าเป็นอำนาจของรัฐบาลกลางเช่น เช่น อำนาจเกี่ยวกับการจัดทำถนนหนทาง อำนาจทางการฑูต และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ อำนาจเกี่ยวกับการไปรษณีย์ อำนาจทางทหาร และอำนาจเกี่ยวกับการควบคุมการค้าระหว่างมลรัฐ หรือ Interstate Commerce ซึ่งอำนาจข้างต้น ล้วนแต่เป็นอำนาจที่สำคัญมาก โดยรัฐสภาได้ออกกฎหมายอาญาต่าง ๆ โดยอาศัยอำนาจข้างต้น เช่น การฉ้อโกงผู้อื่นโดยอาศัยวิธีการทางจดหมาย (Mail Fraud) หรือ การกระทำผิดที่เกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ ( White Collar Crime) เช่น Computer Fraud, Money Laundering, Wire Fraud, RICO ก็อาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่า การกระทำผิดข้างต้น จะก่อให้เกิดผลกระทำต่อการค้าระหว่างมลรัฐ (Interstate Commerce) รัฐสภาสหรัฐ ก็จะอาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่า การกระทำผิดข้างต้น จะก่อให้เกิดผลกระทำต่อการค้าระหว่างมลรัฐ (Interstate Commerce) ในการออกกฎหมายในระดับ Federal เพื่อบังคับใช้ในระดับมลรัฐด้วย การดำเนินคดีอาญาในสหรัฐ จึงเป็น Dual System คือ ระบบบคู่ขนานระหว่างมลรัฐและรัฐบาลไปพร้อม ๆ กัน และไม่มีปัญหาในเรื่อง Double Jeopardy หรือ การดำเนินคดีอาญาซ้ำ เพราะเป็นการดำเนินคดีต่างระดับกัน สำหรับอำนาจอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญสหรัฐฯ เช่น อำนาจที่เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย (Law Enforcement) และการจัดตั้งหน่วยงานในการบังคับใช้กฎหมายทั้งหลาย ตั้งแต่องค์กรตำรวจ และ Sheriff รวมถึงองค์กรอัยการนั้น จึงเป็นเรื่องที่มลรัฐมีอำนาจดำเนินการทั้งสิ้น โดยรัฐบาลกลางจึงได้จัดตั้งหน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย เช่น F.B.I หน่วยงานทางสรรพากร (IRS) อัยการ และศาลในระดับรัฐบาลกลาง ขึ้นเพื่อดำเนินการบังคับใช้กฎหมายนั้น ๆ ในสหรัฐฯ จึงมีปัญหาที่โต้แย้งกันเสมอว่ารัฐบาลกลางควรเข้ามาแทรกแซงรัฐบาลมลรัฐมากน้อยเพียงใดและมีคดีทางรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นอย่างมากในปัจจุบันข้อสรุปที่เกิดขึ้นจากแนวคำพิพากษาของสหรัฐอเมริกาศาลฎีกาจึงได้วางหลักว่ากิจการใดๆ (สิทธิพื้นฐาน) ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนแล้วรัฐบาลกลางย่อมสามารถดำเนินการได้ทั้งหมดโดยเฉพาะอย่างยิ่งรัฐบาลกลางสหรัฐสามารถดำเนินการควบคุมเกี่ยวกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจได้ทั้งหมด
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงสร้างของสหรัฐอเมริกาเกี่ยวกับระบบการปกครองและระบบกฎหมาย

ประเทศสหรัฐอเมริกาได้รับระบบกฎหมายแบบจารีตประเพณี ( กฎหมาย ) ตามระบบกฎหมายอังกฤษแต่การพัฒนาของประเทศสหรัฐอเมริกาแตกต่างจากแนวคิดของอังกฤษเป็นอย่างมากอย่างหนึ่งที่สหรัฐฯยอมรับนับถือความแยกอำนาจหลัก

ระบบนี้มีมรดกความคิดจากยุโรปที่ฝ่ายบริหารฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลการจึงจำกัดบทบาทของตนเองอย่างเคร่งครัดโดยเฉพาะในเรื่องการบังคับใช้และการตีความกฎหมายอาญาเช่นสัญญา ( สัญญา ) และละเมิด ( ละเมิด )

ระบบกฎหมายอาญาของประเทศสหรัฐอเมริกาแต่ละรัฐจะมีอิสระในการบัญญัติกฎหมายอาญาของตนเองโดยรัฐบาลกลาง ( รัฐบาล ) จะไม่แทรกแซงในเรื่องของการกำหนดว่าการกระทำใดจะเป็นความผิดอาญาหรือไม่อย่างไรซึ่งมีที่มาจากเหตุผลพื้นฐานทางประวัติศาสตร์ในการรวมตัวเป็นสหรัฐอเมริกาในอดีตที่ไม่ต้องการให้รัฐบาลกลางมีอำนาจมากเกินไปจนถึงขนาดที่จะเข้ามาควบคุมรัฐบาลของมลรัฐได้ในอดีตนั้นโดยมีหลักฐานที่เด่นชัดความบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญของประเทศสหรัฐที่เขียนแบ่งแยกอำนาจอย่างชัดเจนทั้งในแนวราบและแนวดิ่งโดยในแนวราบที่ว่าก็คือการแบ่งแยกอำนาจตามหลักการการแบ่งแยกอำนาจระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายตุลาการส่วนในแนวดิ่งก็จะแบ่งแยกอำนาจระหว่างรัฐบาลมลรัฐและรัฐบาลกลางอย่างชัดเจนเช่นกัน

รัฐบาลกลางจะมีอำนาจในการออกกฎหมายที่มุ่งควบคุมกิจกรรมของรัฐบาลในระดับมลรัฐได้ในเฉพาะสิ่งที่กำหนดไว้ซึ่งเรียกว่าพลังแจกแจงซึ่งกำหนดไว้คร่าวจะว่าอำนาจใดที่ไม่ได้กำหนดให้เป็นอำนาจของรัฐบาลกลางสหรัฐโดยอำนาจที่ถือว่าเป็นอำนาจของรัฐบาลกลางเช่นเช่นอำนาจเกี่ยวกับการจัดทำถนนหนทางอำนาจทางการฑูตและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศอำนาจเกี่ยวกับการไปรษณีย์อำนาจทางทหารค็อคการค้าระหว่างรัฐซึ่งอำนาจข้างต้นล้วนแต่เป็นอำนาจที่สำคัญมากโดยรัฐสภาได้ออกกฎหมายอาญาต่างจะโดยอาศัยอำนาจข้างต้นเช่นการฉ้อโกงผู้อื่นโดยอาศัยวิธีการทางจดหมาย ( นักต้มตุ๋น ) ค็อค( อาชญากรรมปกขาว ) เช่นคอมพิวเตอร์ฉ้อโกงการฟอกเงิน , ลวดฉ้อโกงริโก้ก็อาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่าการกระทำผิดข้างต้นจะก่อให้เกิดผลกระทำต่อการค้าระหว่างมลรัฐ ( Interstate Commerce ) รัฐสภาสหรัฐก็จะอาศัยหลักการพื้นฐานที่ว่าการกระทำผิดข้างต้น( การค้าระหว่างรัฐ ) ในการออกกฎหมายในระดับรัฐบาลกลางเพื่อบังคับใช้ในระดับมลรัฐด้วยการดำเนินคดีอาญาในสหรัฐจึงเป็นระบบ Dual ระบบบคู่ขนานระหว่างมลรัฐและรัฐบาลไปพร้อม ' ความไม่มีและไม่มีปัญหาในเรื่องคู่อันตรายค็อคเพราะเป็นการดำเนินคดีต่างระดับกันสำหรับอำนาจอื่นจะที่ไม่ได้ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญสหรัฐฯเช่นอำนาจที่เกี่ยวกับการบังคับใช้กฎหมาย ( กฎหมาย ) และการจัดตั้งหน่วยงานในการบังคับใช้กฎหมายทั้งหลายและนายอำเภอรวมถึงองค์กรอัยการนั้นจึงเป็นเรื่องที่มลรัฐมีอำนาจดำเนินการทั้งสิ้นโดยรัฐบาลกลางจึงได้จัดตั้งหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายเช่น Fบี ฉันหน่วยงานทางสรรพากร ( IRS ) อัยการและศาลในระดับรัฐบาลกลางขึ้นเพื่อดำเนินการบังคับใช้กฎหมายนั้นไม่มี

ในสหรัฐฯจึงมีปัญหาที่โต้แย้งกันเสมอว่ารัฐบาลกลางควรเข้ามาแทรกแซงรัฐบาลมลรัฐมากน้อยเพียงใดและมีคดีทางรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวกับเรื่องนี้เป็นอย่างมากในปัจจุบันข้อสรุปที่เกิดขึ้นจากแนวคำพิพากษาของสหรัฐอเมริกาศาลฎีกาจึงได้วางหลักว่ากิจการใดจะที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแทรกแซงสิทธิขั้นพื้นฐาน ( สิทธิ ) ของประชาชนแล้วรัฐบาลกลางย่อมสามารถดำเนินการได้ทั้งหมดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: