ชื่อเรื่อง พัฒนาความสามารถของครูผู้สอนระดับปฐมวัยประสบด้านการจัดประสบก การแปล - ชื่อเรื่อง พัฒนาความสามารถของครูผู้สอนระดับปฐมวัยประสบด้านการจัดประสบก ไทย วิธีการพูด

ชื่อเรื่อง พัฒนาความสามารถของครูผู้

ชื่อเรื่อง พัฒนาความสามารถของครูผู้สอนระดับปฐมวัยประสบด้านการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิดของเด็กปฐมวัย โดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย

ผู้วิจัย นางสมจิต คำเสียง

ปีการศึกษา 2552



บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย สำหรับครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยของครูผู้สอนระดับปฐมวัย ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ก่อนและหลังการนิเทศด้วยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 3) ศึกษาความสามารถในการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยของครูผู้สอนระดับปฐมวัย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 4) ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนระดับปฐมวัยที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย และ 5) ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย ของครูที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์ แบบโครงการ ระดับปฐมวัย

วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ที่มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง ประชากร ได้แก่ 1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 100 คน และ 2) เด็กอนุบาลปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 2,854 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ครูผู้สอนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 จำนวน 80 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่าย และ 2) นักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ 2 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ปีการศึกษา 2552 ซึ่งเป็นนักเรียน ของครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,499 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 2) แบบสอบถามความเหมาะสมของ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยสำหรับ ผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบทดสอบระหว่างการฝึกอบรมของครู 4) แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 5) แบบประเมินความสามารถของครูผู้สอนที่ใช้ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 6) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย และ 7) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็ก เพื่อติดตามผลการพัฒนาของครูผู้ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการคำนวณหาค่าร้อยละประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ของ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การคำนวณหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยการทดสอบค่าที (t-test) แบบที่มีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม และ เกี่ยวข้องกัน (Match paired t-test)
..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/358295
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องพัฒนาความสามารถของครูผู้สอนระดับปฐมวัยประสบด้านการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิดของเด็กปฐมวัยโดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย ผู้วิจัยนางสมจิตคำเสียงปีการศึกษา 2552 บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย สำหรับครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยของครูผู้สอนระดับปฐมวัย ในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ก่อนและหลังการนิเทศด้วยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 3) ศึกษาความสามารถในการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยของครูผู้สอนระดับปฐมวัย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 4) ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนระดับปฐมวัยที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย และ 5) ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย ของครูที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์ แบบโครงการ ระดับปฐมวัย วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ที่มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว มีการทดสอบก่อนและหลังการทดลอง ประชากร ได้แก่ 1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ศรีสะเกษ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 100 คน และ 2) เด็กอนุบาลปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 2,854 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ครูผู้สอนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 จำนวน 80 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่าย และ 2) นักเรียน ชั้นอนุบาลปีที่ 2 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3 ปีการศึกษา 2552 ซึ่งเป็นนักเรียน ของครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1,499 คน เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 2) แบบสอบถามความเหมาะสมของ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัยสำหรับ ผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบทดสอบระหว่างการฝึกอบรมของครู 4) แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 5) แบบประเมินความสามารถของครูผู้สอนที่ใช้ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย 6) แบบสอบถามความคิดเห็นของครูที่มีต่อการใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย และ 7) แบบทดสอบความสามารถในการแก้ปัญหาของเด็ก เพื่อติดตามผลการพัฒนาของครูผู้ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เรื่อง การจัดประสบการณ์แบบโครงการ ระดับปฐมวัย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการคำนวณหาค่าร้อยละประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ของ ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การคำนวณหาค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยการทดสอบค่าที (t-test) แบบที่มีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่ม และ เกี่ยวข้องกัน (Match paired t-test)..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/358295
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่อง ชุดฝึกโดยอบรมด้วยตนเองเรื่องหัวเรื่อง: การจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยผู้วิจัยนางสมจิตคำเสียงปีการศึกษา 1) สร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยสำหรับครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจ ในสังกัด เขต 3 เรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 3) เขต 3 ที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 4) เรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยและ 5) ของครูที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการ ที่มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลองประชากร ได้แก่ 1) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 100 คนและ 2) เด็กอนุบาลปีที่ 2 เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 2,854 คนกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ 1) ครูผู้สอนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 เขต 3 จำนวน 80 คนซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่ายและ 2) นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 สังกัดเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ปีการศึกษา 2552 ซึ่งเป็นนักเรียนของครูที่เป็นกลุ่มตัวอย่างจำนวน 1,499 คนเครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1) ชุด ฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 2) แบบสอบถามความเหมาะสมของชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยสำหรับผู้เชี่ยวชาญ 3) แบบทดสอบระหว่างการฝึกอบรมของครู 4) แบบทดสอบความรู้ความ เข้าใจเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 5) ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 6) เรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยและ 7) เรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองการคำนวณหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยการทดสอบค่าที (t-test) แบบที่มีกลุ่มตัวอย่างสองกลุ่มและเกี่ยวข้องกัน (จับคู่จับคู่ t-test ) ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/358295












การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ชื่อเรื่องพัฒนาความสามารถของครูผู้สอนระดับปฐมวัยประสบด้านการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการคิดของเด็กปฐมวัยโดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย

ผู้วิจัยนางสมจิตคำเสียงปีการศึกษา 2552







บทคัดย่อการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1 ) สร้างชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัยสำหรับครูผู้สอนระดับปฐมวัย 2 ) เปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดประสบการณ์แบบโครงการในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ก่อนและหลังการนิเทศด้วยชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 3 ) ศึกษาความสามารถในการจัดประสบการณ์แบบโครงการในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย 4 ) ศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนระดับปฐมวัยที่มีต่อชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องระดับปฐมวัยและ 5 ) ศึกษาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัยของครูที่ใช้ชุดฝึกอบรมด้วยตนเองเรื่องการจัดประสบการณ์แบบโครงการระดับปฐมวัย

วิธีการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองที่มีกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียวมีการทดสอบก่อนและหลังการทดลองประชากรได้แก่ 1 ) ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552100 คนและ 2 ) เด็กอนุบาลปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 จำนวน 2854 คนกลุ่มตัวอย่างได้แก่ 1 ) ครูผู้สอนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษเขต 3 จำนวน 80 คนซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่ายและ 2 ) นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: