ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร ได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้ง ออกเป็น 3  การแปล - ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร ได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้ง ออกเป็น 3  ไทย วิธีการพูด

ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร ได้พัฒนา

ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร ได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้ง ออกเป็น 3 ระยะดังนี้คือ

1) ระยะแรกยุคต้นผึ้งหรือหอผึ้ง เป็นต้นกำเนิดของปราสาทผึ้งในปัจจุบัน ทำจากต้นกล้วย ตัดให้ยาวพอสมควรทำขาหยั่งสามขายึดต้นกล้วยเข้าไว้ จากนั้นจะนำขี้ผึ้งมาเคี่ยวให้หลอมเหลวใส่ลงในแม่พิมพ์ เรียกว่าดอกผึ้ง แล้วนำมาติดที่ก้านกล้วยหรือกาบกล้วย ซึ่งต่อมาได้ทำเป็นหอผึ้ง มีลักษณะเป็นทรงตะลุ่ม ทำโครงด้วยไม้ไผ่ผูกเสริมด้วยกาบกล้วย ก้านกล้วย จะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมสองชั้น ต่อกันคล้ายเอวขันธ์หรือเอวพาน การตกแต่ง ยังนิยมประดับด้วยดอกผึ้ง ตามโครงกาบกล้วย
2.) ระยะที่สองยุคปราสาทผึ้งทรงหอ-ทรงสิมหรือศาลพระภูมิ ได้มีพัฒนาการทำโครงเป็นโครงด้วยไม้ โดยใช้ไม้เนื้ออ่อนทำเป็นเสาสี่ต้น พันด้วยกระดาษสี เครื่องบนทำเป็นหลักคล้ายหมาก แต่งหน้าจั่วด้วยหยวกกล้วยประดับดอกผึ้ง ในส่วนปราสาทผึ้งทรงสิมจะลดความสูงลง ทำหน้าจั่วทรงจตุรมุขตามแบบสิมพื้นบ้านของภาคอีสานโดยทั่วไป การประดับตกแต่งใช้วิธีการแทงหยวกประดับป้านลม ช่อฟ้า ใบระกา ด้วยดอกผึ้งตามส่วนต่าง ๆ
3) ยุคปราสาทผึ้งเรือนยอด เป็นการทำปราสาทผึ้ง โดยการพัฒนารูปแบบลวดลายองค์ประกอบให้วิจิตรพิศดารยิ่งขึ้น ด้วยโครงไม้ ให้เป็นทรงปราสาทจตุรมุขมีเรือนยอดเรียวหรือที่เรียกว่า “กฎาคาร” ตัวอาคารทั้งสี่ด้านต่อเป็นมุขยื่นออกไปมีขนาดเท่ากับบางแห่งสร้างปราสาทสามหลังติดกัน นอกจากนี้ยังเน้นความประณีตในการตกแต่งผึ้งให้งดงาม เช่นกำแพงแก้ว หน้าบัน ช่อฟ้าใบระกา นาคสะดุ้ง โดยใช้ศิลปกรรมไทยหรือผสมผสานระหว่างศิลปะอีสานกับไทยภาคกลาง เป็นการสร้างปราสาทที่เลียนแบบที่ประทับพระมหากษัตริย์ เพื่อถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ประดับตกแต่งมีทั้งแบบหล่อแกะลาย และแบบติดพิมพ์สมัยใหม่

การแห่ปราสาทผึ้งจะมีอยู่ 2 ส่วน คือในวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 จะเป็นการนำปราสาทผึ้งไปชุมนุมกันเพื่อฉลองคบงัน 1 วัน 1 คืน ในวันรุ่งขึ้น เป็นวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 11จะเป็นวันแห่ปราสาทผึ้งไปทอดถวาย ณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหาร ซึ่งจะมีขบวนแห่อย่างสวยงาม ประกอบด้วยการแสดงพื้นบ้านต่าง ๆ ของสภาวัฒนธรรมอำเภอทุกอำเภอ เช่น การแต่งกาย 6 เผ่า การรำมวยโบราณการฟ้อนถูไท(ผู้ไทย) การแสดงดนตรีพื้นเมืองการแสดงถึงวิถีชีวิตของคนสกลนครซึ่งเป็นประเพณีที่มีความสนุกสนานแต่ในขณะเดียวกันได้แสดงออกถึงความเชื่อในพระพุทธศาสนาเป็นสำคัญและถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัด สกลนคร

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ระยะดังนี้คือออกเป็น 3 ได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้งปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนคร1) ระยะแรกยุคต้นผึ้งหรือหอผึ้งเป็นต้นกำเนิดของปราสาทผึ้งในปัจจุบันทำจากต้นกล้วยตัดให้ยาวพอสมควรทำขาหยั่งสามขายึดต้นกล้วยเข้าไว้จากนั้นจะนำขี้ผึ้งมาเคี่ยวให้หลอมเหลวใส่ลงในแม่พิมพ์เรียกว่าดอกผึ้งแล้วนำมาติดที่ก้านกล้วยหรือกาบกล้วยซึ่งต่อมาได้ทำเป็นหอผึ้งมีลักษณะเป็นทรงตะลุ่มทำโครงด้วยไม้ไผ่ผูกเสริมด้วยกาบกล้วยก้านกล้วยจะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมสองชั้นต่อกันคล้ายเอวขันธ์หรือเอวพานการตกแต่งยังนิยมประดับด้วยดอกผึ้งตามโครงกาบกล้วย2) ระยะที่สองยุคปราสาทผึ้งทรงหอ-ทรงสิมหรือศาลพระภูมิได้มีพัฒนาการทำโครงเป็นโครงด้วยไม้โดยใช้ไม้เนื้ออ่อนทำเป็นเสาสี่ต้นพันด้วยกระดาษสีเครื่องบนทำเป็นหลักคล้ายหมากแต่งหน้าจั่วด้วยหยวกกล้วยประดับดอกผึ้งในส่วนปราสาทผึ้งทรงสิมจะลดความสูงลงทำหน้าจั่วทรงจตุรมุขตามแบบสิมพื้นบ้านของภาคอีสานโดยทั่วไปการประดับตกแต่งใช้วิธีการแทงหยวกประดับป้านลมช่อฟ้าใบระกาด้วยดอกผึ้งตามส่วนต่างๆ3) ยุคปราสาทผึ้งเรือนยอดเป็นการทำปราสาทผึ้งโดยการพัฒนารูปแบบลวดลายองค์ประกอบให้วิจิตรพิศดารยิ่งขึ้นด้วยโครงไม้ให้เป็นทรงปราสาทจตุรมุขมีเรือนยอดเรียวหรือที่เรียกว่า "กฎาคาร" ตัวอาคารทั้งสี่ด้านต่อเป็นมุขยื่นออกไปมีขนาดเท่ากับบางแห่งสร้างปราสาทสามหลังติดกันนอกจากนี้ยังเน้นความประณีตในการตกแต่งผึ้งให้งดงามเช่นกำแพงแก้วหน้าบันช่อฟ้าใบระกานาคสะดุ้งโดยใช้ศิลปกรรมไทยหรือผสมผสานระหว่างศิลปะอีสานกับไทยภาคกลางเป็นการสร้างปราสาทที่เลียนแบบที่ประทับพระมหากษัตริย์เพื่อถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดับตกแต่งมีทั้งแบบหล่อแกะลายและแบบติดพิมพ์สมัยใหม่การแห่ปราสาทผึ้งจะมีอยู่ 2 ส่วนคือในวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 จะเป็นการนำปราสาทผึ้งไปชุมนุมกันเพื่อฉลองคบงัน 1 วัน 1 คืนในวันรุ่งขึ้นเป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11จะเป็นวันแห่ปราสาทผึ้งไปทอดถวาย ณวัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารซึ่งจะมีขบวนแห่อย่างสวยงามประกอบด้วยการแสดงพื้นบ้านต่างๆ ของสภาวัฒนธรรมอำเภอทุกอำเภอเช่นการแต่งกาย 6 เผ่าการรำมวยโบราณการฟ้อนถูไท(ผู้ไทย)การแสดงดนตรีพื้นเมืองการแสดงถึงวิถีชีวิตของคนสกลนครซึ่งเป็นประเพณีที่มีความสนุกสนานแต่ในขณะเดียวกันได้แสดงออกถึงความเชื่อในพระพุทธศาสนาเป็นสำคัญและถือเป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของจังหวัดสกลนคร
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนครได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้งออกเป็น 3 ระยะดังนี้คือ1) ระยะแรกยุคต้นผึ้งหรือหอผึ้ง ทำจากต้นกล้วย เรียกว่าดอกผึ้ง ซึ่งต่อมาได้ทำเป็นหอผึ้งมีลักษณะเป็นทรงตะลุ่ม ก้านกล้วยจะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมสองชั้นต่อกันคล้ายเอวขันธ์หรือเอวพานการตกแต่งยังนิยมประดับด้วยดอกผึ้งตามโครงกาบกล้วย2. ) โดยใช้ไม้เนื้ออ่อนทำเป็นเสาสี่ต้นพันด้วยกระดาษสีเครื่องบนทำเป็นหลักคล้ายหมาก ช่อฟ้าใบระกาด้วยดอกผึ้งตามส่วนต่าง ๆ3) ยุคปราสาทผึ้งเรือนยอดเป็นการทำปราสาทผึ้ง ด้วยโครงไม้ "กฎาคาร" เช่นกำแพงแก้วหน้าบันช่อฟ้าใบระกานาคสะดุ้ง ประดับตกแต่งมีทั้งแบบหล่อแกะลาย 2 ส่วนคือในวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 1 วัน 1 คืนในวันรุ่งขึ้นเป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 จะเป็นวันแห่ปราสาทผึ้งไปทอดถวาย ณ วัดพระธาตุเชิงชุมวรวิหารซึ่งจะมีขบวนแห่อย่างสวยงามประกอบด้วยการแสดงพื้นบ้านต่าง ๆ ของสภาวัฒนธรรมอำเภอทุกอำเภอ เช่นการแต่งกาย 6 เผ่าการรำมวยโบราณการฟ้อนถูไท (ผู้ไทย) สกลนคร







การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
ปราสาทผึ้งของจังหวัดสกลนครได้พัฒนารูปแบบของการทำปราสาทผึ้งออกเป็นระยะดังนี้คือ

31 ) ระยะแรกยุคต้นผึ้งหรือหอผึ้งเป็นต้นกำเนิดของปราสาทผึ้งในปัจจุบันทำจากต้นกล้วยตัดให้ยาวพอสมควรทำขาหยั่งสามขายึดต้นกล้วยเข้าไว้จากนั้นจะนำขี้ผึ้งมาเคี่ยวให้หลอมเหลวใส่ลงในแม่พิมพ์เรียกว่าดอกผึ้งซึ่งต่อมาได้ทำเป็นหอผึ้งมีลักษณะเป็นทรงตะลุ่มทำโครงด้วยไม้ไผ่ผูกเสริมด้วยกาบกล้วยก้านกล้วยจะเป็นรูปทรงสี่เหลี่ยมสองชั้นต่อกันคล้ายเอวขันธ์หรือเอวพานการตกแต่งยังนิยมประดับด้วยดอกผึ้ง2 .) ระยะที่สองยุคปราสาทผึ้งทรงหอ - ทรงสิมหรือศาลพระภูมิได้มีพัฒนาการทำโครงเป็นโครงด้วยไม้โดยใช้ไม้เนื้ออ่อนทำเป็นเสาสี่ต้นพันด้วยกระดาษสีเครื่องบนทำเป็นหลักคล้ายหมากในส่วนปราสาทผึ้งทรงสิมจะลดความสูงลงทำหน้าจั่วทรงจตุรมุขตามแบบสิมพื้นบ้านของภาคอีสานโดยทั่วไปการประดับตกแต่งใช้วิธีการแทงหยวกประดับป้านลมช่อฟ้าใบระกาจะด้วยดอกผึ้งตามส่วนต่าง
3 ) ยุคปราสาทผึ้งเรือนยอดเป็นการทำปราสาทผึ้งโดยการพัฒนารูปแบบลวดลายองค์ประกอบให้วิจิตรพิศดารยิ่งขึ้นด้วยโครงไม้ให้เป็นทรงปราสาทจตุรมุขมีเรือนยอดเรียวหรือที่เรียกว่า " กฎาคาร "นอกจากนี้ยังเน้นความประณีตในการตกแต่งผึ้งให้งดงามเช่นกำแพงแก้วหน้าบันช่อฟ้าใบระกานาคสะดุ้งโดยใช้ศิลปกรรมไทยหรือผสมผสานระหว่างศิลปะอีสานกับไทยภาคกลางเพื่อถวายแด่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าประดับตกแต่งมีทั้งแบบหล่อแกะลายและแบบติดพิมพ์สมัยใหม่

การแห่ปราสาทผึ้งจะมีอยู่ 2 ส่วนคือในวันขึ้น 14 ค่ำเดือน 11 จะเป็นการนำปราสาทผึ้งไปชุมนุมกันเพื่อฉลองคบงัน 1 ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่า 1 คืนในวันรุ่งขึ้นเป็นวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 11 จะเป็นวันแห่ปราสาทผึ้งไปทอดถวายฃซึ่งจะมีขบวนแห่อย่างสวยงามประกอบด้วยการแสดงพื้นบ้านต่างจะของสภาวัฒนธรรมอำเภอทุกอำเภอเช่นการแต่งกาย 6 เผ่าการรำมวยโบราณการฟ้อนถูไท ( ผู้ไทย )สกลนคร

การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2025 I Love Translation. All reserved.

E-mail: