วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์ ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์วันสงก การแปล - วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์ ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์วันสงก ไทย วิธีการพูด

วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์

วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์ ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์


วันสงกรานต์ ประเพณีไทย
สงกรานต์ซึ่ง เป็นประเพณีของประเทศไทย สงกรานต์เป็นคำสันสกฤต หมายถึง การผ่าน หรือ การเคลื่อนย้าย ซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี...



ประเพณีสงกรานต์ ของไทยที่สืบกันมาอย่างช้านาน

โดยการนับ ระยะเวลาที่เส้นทางของ ดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวฤกษ์จักราศีทั้ง 12 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มดาวราศี เมษ พฤษภ เมถุน กรกฎ สิงห์ กันย์ ตุลย์ พิจิก ธนู มังกร กุมภ์ และ มีน การโคจร ผ่านกลุ่มดาวแต่ละกลุ่ม จะใช้ระยะเวลา ประมาณ 30 วัน เมื่อ ดวงอาทิตย์โคจรผ่าน กลุ่มดาว เหล่านี้ครบทั้ง 12 กลุ่ม ก็จะได้ระยะเวลา 1 ปี พอดี เป็นวิธีการนับเดือนที่ใช้กันใน ประเทศอินเดีย และกลุ่มประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจาก อินเดียเช่น ไทย พม่า เขมร ลาว เป็นต้น
วันมหาสงกรานต์ 13 เมษายน
วันที่ 13 เมษายน เป็นวัน"มหาสงกรานต์" หรือ วันเริ่มต้นปีใหม่ ทั้งนี้เป็นเพราะเป็นจากช่วงเวลาที่ดวง อาทิตย์โคจรผ่านจากราศีมีนเข้าสู่ ราศีเมษนั้น โลกโคจรเป็นมุมฉากกับดวงอาทิตย์ จึงมีกลางวันและกลางคืนยาวเท่ากันพอดี วันสงกรานต์เป็นวันทำบุญใหญ่ประจำปี มี 3 วันคือ วันมหาสงกรานต์หรือวันส่งท้ายปีเก่า (วันที่ 13 เมษายน) วันกลางหรือวันเนา (วันที่ 14 เมษายน) วันขึ้นปีใหม่ หรือวันเถลิงศก (วันที่ 15 เมษายน)

หรือ การเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของประเทศไทยและบางประเทศในเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต้ และชาวต่างประเทศจะเรียกว่าเทศกาลนี้ว่า “สงครามน้ำ” สงกรานต์ เป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยซึ่งสืบทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษ จึงมีการเรียกรวมกันว่า ประเพณีตรุษสงกรานต์ หมาย ถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่า และต้อนรับปีใหม่ คำว่าตรุษเป็นภาษาทมิฬ แปลว่าการสิ้นปี เมื่อวันสงกรานต์ตรงกับวันใดของแต่ละปี ซึ่งจะมีนางสงกรานต์ประจำวันนั้นๆ

ชื่อของนางสงกรานต์
ชื่อของนางสงกรานต์มี ดังนี้ วันอาทิตย์ ชื่อนางทุงษะเทวี วันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวี วันอังคารชื่อนางรากษสเทวี วันพุธชื่อนางมณฑาเทวี วันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวี วันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวี วันเสาร์ชื่อนางมโหธรเทวี

ตำนานนางสงกรานต์

บุตรของเศรษฐีคนหนึ่งชื่อ ธรรมบาลกุมาร เป็นผู้ที่รู้ภาษานก เรียนไตรเพทจบ เมื่ออายุเจ็ดขวบ เป็นอาจารย์บอก มงคลต่าง ๆ แก่มนุษย์ทั้งปวง ซึ่งในขณะนั้น โลกทั้งหลายนับถือท้าวมหาพรหมและกบิลพรหมองค์หนึ่งว่า เป็นผู้แสดงมงคลแก่มนุษย์ทั้งปวง เมื่อกบิลพรหมทราบ จึงลงมาถามปัญหาธรรมบาลกุมาร 3 ข้อ สัญญาไว้ว่า ถ้าแก้ปัญหาได้จะตัดศีรษะบูชา ถ้าแก้ไม่ได้จะตัดศีรษะธรรมบาลกุมารเสีย ปัญหานั้นว่า



ข้อ 1. เช้าราศีอยู่แห่งใด
ข้อ 2. เที่ยงราศีอยู่แห่งใด
ข้อ 3. ค่ำราศีอยู่แห่งใด

ธรรมบาลขอผลัด 7 วัน ครั้นล่วงไปได้ 6 วัน ธรรมบาลกุมารก็ยังคิดไม่ได้ จึงลงจากปราสาทไปนอนอยู่ใต้ต้นตาลสองต้น มีนกอินทรี 2 ตัวผัวเมียทำรังอาศัยอยู่บนต้นตาลนั้น ครั้ง เวลาค่ำนางนกอินทรีจึงถามสามีว่า พรุ่งนี้จะได้อาหารแห่งใด สามีบอกว่า จะได้กินศพธรรมบาลกุมาร ซึ่งท้าวกบิลพรหมจะฆ่าเสีย เพราะทายปัญหาไม่ออก นางนกถามว่า ปัญหานั้นอย่างไรสามีจึงบอกว่า ปัญหาว่าเช้าราศีอยู่แห่งใด เที่ยงราศีอยู่แห่งใด ค่ำราศีอยู่แห่งใด นางนกถามว่า จะแก้อย่างไร สามีบอกว่า เช้าราศีอยู่หน้า มนุษย์ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างหน้า เวลาเที่ยงราศีอยู่อก มนุษย์ทั้งหลายจึงเอาเครื่องหอมประพรมที่อก เวลาค่ำราศีอยู่เท้า มนุษย์ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างเท้าครั้งรุ่งขึ้นท้าวกบิลพรหมมาถามปัญหา ธรรมบาลกุมารก็แก้ตามที่ได้ยินมา



ท้าวกบิลพรหมจึงตรัส เรียกเทพธิดาทั้ง 7 อันเป็นบริจาริกาพระอินทร์มาพร้อมกัน บอกว่า เราจะตัดศีรษะบูชาธรรมบาลกุมาล ศีรษะของเราถ้าจะตั้งไว้บนแผ่นดินไฟก็จะไหม้ทั่วโลก ถ้าจะทิ้งขึ้นบนอากาศ ฝนก็จะแล้ง ถ้าจะทิ้งไว้ในมหาสมุทรน้ำก็จะแห้ง

ธิดาทั้งเจ็ดเอาพานมารับศีรษะ แล้วก็ตัดศีรษะส่งให้ธิดาผู้ใหญ่ นางจึงเอาพานมารับพระเศียรบิดาไว้ แล้วแห่ทำประทักษิณ รอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที จากนั้นเชิญไปประดิษฐานไว้ในมณฆปถ้ำคันธุลีเขาไกรลาศ บูชาด้วยเครื่องทิพย์ต่าง ๆ พระเวสสุกรรมกันฤมิตรแก้วเจ็ดประการชื่อ ภควดี ให้เป็นที่ประชุมเทวดา เทวดาทั้งปวงนำเอาเถาฉมุลาด ลงมาล้างในสระอโนดาตเจ็ดครั้ง แล้วแจกกันสังเวยทุก ๆ พระองค์ ครั้งถึงครบกำหนด 365 วัน โลกสมมติว่า ปีหนึ่งเป็นสงกรานต์นางเทพธิดาเจ็ดองค์ ผลัดเวรกันมาเชิญพระเศียรท้าวกบิลพรหม ออกแห่ประทักษิณเขาพระสุเมรุทุกปี แล้วกลับไปเทวโลก ซึ่งลูกสาวทั้งเจ็ดของท้าวกบิลพรหมนั้น

เราสมมติเรียกว่า นางสงกรานต์ มีชื่อต่าง ๆ ดังนี้ วันอาทิตย์ ชื่อนางทุงษะเทวี วันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวี วันอังคารชื่อนางรากษสเทวี วันพุธชื่อนางมณฑาเทวี วันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวี วันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวี วันเสาร์ชื่อนางมโหธรเทวี


ความหมายวันมหาสงกรานต์ของแต่ละวัน

ถ้าปีใดวันมหาสงกรานต์เป็นวันอาทิตย์ ปีนั้นไร่นาเรือกสวน เผือกมัน มิสู้แพงแล วันจันทร์เป็นวันมหาสงกรานต์ จะแพ้เสนาบดี ท้าวพระยาและนางพระยาทั้งหลาย

วันอังคารและวันเสาร์ เป็นวันมหาสงกรานต์ จะเกิดอันตรายกลางเมือง จะเกิดเพลิงและโจรผู้ร้าย และจะเจ็บ ไข้นักแล วันพุธ เป็นวันมหาสงกรานต์ ว่าท้าวพระยาจะได้เครื่องบรรณาการมาแต่ต่างเมือง แต่จะแพ้ลูกอ่อนนักแล

วันพฤหัสบดีเป็นวันมหาสงกรานต์ จะแพ้ข้าไท พระสงฆ์ราชาคณะจะได้รับความเดือดเนื้อร้อนใจกันแล

วันศุกร์เป็นวันมหาสงกรานต์ ข้าวน้ำ ลูกหมากรากไม้ทั้งหลายจะอุดม แต่จะแพ้เด็ก ฝนและพายุชุม จะเจ็บตากันมากนักแล

ความสำคัญของวันสงกรานต์

พิธีสงกรานต์ ถือเป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติ มาแต่โบราณช่วงวัน สงกรานต์จึงเป็นวันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน ที่มีต่อกันทั้งครอบครัว ชุมชน สังคม และศาสนา แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศนคติ และความเชื่อส่วนนั้นไปและ ในความเชื่อดั้งเดิมที่ใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเป็นตัวแทน แก้กันกับความหมายของฤดูร้อน ช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น
0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (ไทย) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์ประเพณีวันสงกรานต์วันสงกรานต์ 2558วันสงกรานต์ประเพณีไทย สงกรานต์ซึ่งเป็นประเพณีของประเทศไทยสงกรานต์เป็นคำสันสกฤตหมายถึงการผ่านหรือการเคลื่อนย้ายซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี... ประเพณีสงกรานต์ของไทยที่สืบกันมาอย่างช้านาน โดยการนับระยะเวลาที่เส้นทางของดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวฤกษ์จักราศีทั้ง 12 กลุ่มประกอบด้วยกลุ่มดาวราศีเมษพฤษภเมถุนกรกฎสิงห์กันย์ตุลย์พิจิกธนูมังกรกุมภ์และมีนการโคจรผ่านกลุ่มดาวแต่ละกลุ่มจะใช้ระยะเวลาประมาณ 30 วันเมื่อดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวเหล่านี้ครบทั้ง 12 กลุ่มก็จะได้ระยะเวลา 1 ปีพอดีเป็นวิธีการนับเดือนที่ใช้กันในประเทศอินเดียและกลุ่มประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่งรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมมาจากอินเดียเช่นไทยพม่าเขมรลาวเป็นต้น วันมหาสงกรานต์ 13 เมษายน วันที่ 13 เมษายนเป็นวัน "มหาสงกรานต์" หรือวันเริ่มต้นปีใหม่ทั้งนี้เป็นเพราะเป็นจากช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์โคจรผ่านจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษนั้นโลกโคจรเป็นมุมฉากกับดวงอาทิตย์จึงมีกลางวันและกลางคืนยาวเท่ากันพอดีวันสงกรานต์เป็นวันทำบุญใหญ่ประจำปีมี 3 วันคือวันมหาสงกรานต์หรือวันส่งท้ายปีเก่า (วันที่ 13 เมษายน) วันกลางหรือวันเนา (วันที่ 14 เมษายน) วันขึ้นปีใหม่หรือวันเถลิงศก (วันที่ 15 เมษายน) หรือการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของประเทศไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และชาวต่างประเทศจะเรียกว่าเทศกาลนี้ว่า "สงครามน้ำ" สงกรานต์เป็นประเพณีเก่าแก่ของไทยซึ่งสืบทอดมาแต่โบราณคู่มากับประเพณีตรุษจึงมีการเรียกรวมกันว่าประเพณีตรุษสงกรานต์หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่คำว่าตรุษเป็นภาษาทมิฬแปลว่าการสิ้นปีเมื่อวันสงกรานต์ตรงกับวันใดของแต่ละปีซึ่งจะมีนางสงกรานต์ประจำวันนั้น ๆ ชื่อของนางสงกรานต์ ชื่อของนางสงกรานต์มีดังนี้วันอาทิตย์ชื่อนางทุงษะเทวีวันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวีวันอังคารชื่อนางรากษสเทวีวันพุธชื่อนางมณฑาเทวีวันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวีวันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวีวันเสาร์ชื่อนางมโหธรเทวี ตำนานนางสงกรานต์ บุตรของเศรษฐีคนหนึ่งชื่อธรรมบาลกุมารเป็นผู้ที่รู้ภาษานกเรียนไตรเพทจบเมื่ออายุเจ็ดขวบเป็นอาจารย์บอกมงคลต่างๆ แก่มนุษย์ทั้งปวงซึ่งในขณะนั้นโลกทั้งหลายนับถือท้าวมหาพรหมและกบิลพรหมองค์หนึ่งว่าเป็นผู้แสดงมงคลแก่มนุษย์ทั้งปวงเมื่อกบิลพรหมทราบจึงลงมาถามปัญหาธรรมบาลกุมาร 3 ข้อสัญญาไว้ว่าถ้าแก้ปัญหาได้จะตัดศีรษะบูชาถ้าแก้ไม่ได้จะตัดศีรษะธรรมบาลกุมารเสียปัญหานั้นว่า ข้อที่ 1 เช้าราศีอยู่แห่งใด ข้อ 2 เที่ยงราศีอยู่แห่งใดข้อ 3 ค่ำราศีอยู่แห่งใด ธรรมบาลขอผลัด 7 วันครั้นล่วงไปได้ 6 วันธรรมบาลกุมารก็ยังคิดไม่ได้จึงลงจากปราสาทไปนอนอยู่ใต้ต้นตาลสองต้นมีนกอินทรี 2 ตัวผัวเมียทำรังอาศัยอยู่บนต้นตาลนั้นครั้งเวลาค่ำนางนกอินทรีจึงถามสามีว่าพรุ่งนี้จะได้อาหารแห่งใดสามีบอกว่าจะได้กินศพธรรมบาลกุมารซึ่งท้าวกบิลพรหมจะฆ่าเสียเพราะทายปัญหาไม่ออกนางนกถามว่าปัญหานั้นอย่างไรสามีจึงบอกว่าปัญหาว่าเช้าราศีอยู่แห่งใดเที่ยงราศีอยู่แห่งใดค่ำราศีอยู่แห่งใดนางนกถามว่าจะแก้อย่างไรสามีบอกว่าเช้าราศีอยู่หน้ามนุษย์ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างหน้าเวลาเที่ยงราศีอยู่อกมนุษย์ทั้งหลายจึงเอาเครื่องหอมประพรมที่อกเวลาค่ำราศีอยู่เท้ามนุษย์ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างเท้าครั้งรุ่งขึ้นท้าวกบิลพรหมมาถามปัญหาธรรมบาลกุมารก็แก้ตามที่ได้ยินมา ท้าวกบิลพรหมจึงตรัสเรียกเทพธิดาทั้ง 7 อันเป็นบริจาริกาพระอินทร์มาพร้อมกันบอกว่าเราจะตัดศีรษะบูชาธรรมบาลกุมาลศีรษะของเราถ้าจะตั้งไว้บนแผ่นดินไฟก็จะไหม้ทั่วโลกถ้าจะทิ้งขึ้นบนอากาศฝนก็จะแล้งถ้าจะทิ้งไว้ในมหาสมุทรน้ำก็จะแห้ง ธิดาทั้งเจ็ดเอาพานมารับศีรษะ แล้วก็ตัดศีรษะส่งให้ธิดาผู้ใหญ่ นางจึงเอาพานมารับพระเศียรบิดาไว้ แล้วแห่ทำประทักษิณ รอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที จากนั้นเชิญไปประดิษฐานไว้ในมณฆปถ้ำคันธุลีเขาไกรลาศ บูชาด้วยเครื่องทิพย์ต่าง ๆ พระเวสสุกรรมกันฤมิตรแก้วเจ็ดประการชื่อ ภควดี ให้เป็นที่ประชุมเทวดา เทวดาทั้งปวงนำเอาเถาฉมุลาด ลงมาล้างในสระอโนดาตเจ็ดครั้ง แล้วแจกกันสังเวยทุก ๆ พระองค์ ครั้งถึงครบกำหนด 365 วัน โลกสมมติว่า ปีหนึ่งเป็นสงกรานต์นางเทพธิดาเจ็ดองค์ ผลัดเวรกันมาเชิญพระเศียรท้าวกบิลพรหม ออกแห่ประทักษิณเขาพระสุเมรุทุกปี แล้วกลับไปเทวโลก ซึ่งลูกสาวทั้งเจ็ดของท้าวกบิลพรหมนั้น เราสมมติเรียกว่านางสงกรานต์มีชื่อต่างๆ ดังนี้วันอาทิตย์ชื่อนางทุงษะเทวีวันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวีวันอังคารชื่อนางรากษสเทวีวันพุธชื่อนางมณฑาเทวีวันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวีวันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวีวันเสาร์ชื่อนางมโหธรเทวี ความหมายวันมหาสงกรานต์ของแต่ละวัน ถ้าปีใดวันมหาสงกรานต์เป็นวันอาทิตย์ปีนั้นไร่นาเรือกสวนเผือกมันมิสู้แพงแลวันจันทร์เป็นวันมหาสงกรานต์จะแพ้เสนาบดีท้าวพระยาและนางพระยาทั้งหลาย วันอังคารและวันเสาร์เป็นวันมหาสงกรานต์จะเกิดอันตรายกลางเมืองจะเกิดเพลิงและโจรผู้ร้ายและจะเจ็บไข้นักแลวันพุธเป็นวันมหาสงกรานต์ว่าท้าวพระยาจะได้เครื่องบรรณาการมาแต่ต่างเมืองแต่จะแพ้ลูกอ่อนนักแล วันพฤหัสบดีเป็นวันมหาสงกรานต์จะแพ้ข้าไทพระสงฆ์ราชาคณะจะได้รับความเดือดเนื้อร้อนใจกันแล วันศุกร์เป็นวันมหาสงกรานต์ข้าวน้ำลูกหมากรากไม้ทั้งหลายจะอุดมแต่จะแพ้เด็กฝนและพายุชุมจะเจ็บตากันมากนักแล ความสำคัญของวันสงกรานต์ พิธีสงกรานต์ ถือเป็นประเพณีการเฉลิมฉลองวันขึ้นปีใหม่ของไทยที่ยึดถือปฏิบัติ มาแต่โบราณช่วงวัน สงกรานต์จึงเป็นวันแห่งความเอื้ออาทร ความรัก ความผูกพัน ที่มีต่อกันทั้งครอบครัว ชุมชน สังคม และศาสนา แต่ปัจจุบันได้เปลี่ยนไปสู่สังคมในวงกว้าง และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศนคติ และความเชื่อส่วนนั้นไปและ ในความเชื่อดั้งเดิมที่ใช้สัญลักษณ์เป็นองค์ประกอบหลักในพิธี ได้แก่ การใช้น้ำเป็นตัวแทน แก้กันกับความหมายของฤดูร้อน ช่วงเวลาที่พระอาทิตย์เคลื่อนเข้าสู่ราศีเมษ ใช้น้ำรดให้แก่กันเพื่อความชุ่มชื่น
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์ ประเพณีไทยสงกรานต์ซึ่งเป็นประเพณีของประเทศไทยสงกรานต์เป็นคำสันสกฤตหมายถึงการผ่านหรือเคลื่อนย้ายการ ระยะเวลาที่เส้นทางของ 12 กลุ่มประกอบด้วยกลุ่มดาวราศีเมษพฤษภเมถุนกรกฎสิงห์กันย์ตุลย์พิจิกธนูมังกรกุมภ์และมีนการโคจรผ่านกลุ่มดาวแต่ละกลุ่มจะใช้ระยะเวลาประมาณ 30 วันเมื่อดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวเหล่านี้ครบทั้ง 12 กลุ่มก็จะ ได้ระยะเวลา 1 ปีพอดีเป็นวิธีการนับเดือนที่ใช้กันในประเทศอินเดีย อินเดียเช่นไทยพม่าเขมรลาวเป็นต้นวันมหาสงกรานต์ 13 เมษายนวันที่ 13 เมษายนเป็นวัน "มหาสงกรานต์" หรือวันเริ่มต้นปีใหม่ อาทิตย์โคจรผ่านจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษนั้นโลกโคจรเป็นมุมฉากกับดวงอาทิตย์ มี 3 วันคือ (วันที่ 13 เมษายน) วันกลางหรือวันเนา (วันที่ 14 เมษายน) วันขึ้นปีใหม่หรือวันเถลิงศก (วันที่ 15 เมษายน) หรือ ออกเฉียงใต้ "สงครามน้ำ" สงกรานต์ จึงมีการเรียกรวมกันว่าประเพณีตรุษสงกรานต์หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่คำว่าตรุษเป็นภาษาทมิฬแปลว่าการสิ้นปี ดังนี้วันอาทิตย์ชื่อนางทุงษะเทวีวันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวีวันอังคารชื่อนางรากษสเทวีวันพุธชื่อนางมณฑาเทวีวันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวีวันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวี ธรรมบาลกุมารเป็นผู้ที่รู้ภาษานกเรียนไตรเพทจบเมื่ออายุเจ็ดขวบเป็นอาจารย์บอกมงคลต่าง ๆ แก่มนุษย์ทั้งปวงซึ่งในขณะนั้น เป็นผู้แสดงมงคลแก่มนุษย์ทั้งปวงเมื่อกบิลพรหมทราบจึงลงมาถามปัญหาธรรมบาลกุมาร 3 ข้อสัญญาไว้ว่าถ้าแก้ปัญหาได้จะตัดศีรษะบูชา ปฐมวัยนั้นว่าได้ข้อ 1. เช้าราศีอยู่แห่งใดข้อที่ 2 เที่ยงราศีอยู่แห่งใดข้อที่ 3 ค่ำราศีอยู่แห่งใดธรรมบาลขอผลัด 7 วันครั้นล่วงไปได้ 6 วันธรรมบาลกุมารก็ยังคิดไม่ได้ มีนกอินทรี 2 ครั้งเวลาค่ำนางนกอินทรีจึงถามสามีว่าพรุ่งนี้จะได้อาหารแห่งใดสามีบอกว่าจะได้กินศพธรรมบาลกุมารซึ่งท้าวกบิลพรหมจะฆ่าเสียเพราะทายปัญหาไม่ออกนางนกถามว่าปัญหานั้นอย่างไรสามีจึงบอกว่าปัญหาว่า เช้าราศีอยู่แห่งใดเที่ยงราศีอยู่แห่งใดค่ำราศีอยู่แห่งใดนางนกถามว่าจะแก้อย่างไรสามีบอกว่าเช้าราศีอยู่หน้ามนุษย์ทั้งหลายจึงเอาน้ำล้างหน้าเวลาเที่ยงราศีอยู่อก เวลาค่ำราศีอยู่เท้า เรียกเทพธิดาทั้ง 7 บอกว่าเราจะตัดศีรษะบูชาธรรมบาลกุมาล ถ้าจะทิ้งขึ้นบนอากาศฝนก็จะแล้ง แล้วก็ตัดศีรษะส่งให้ธิดาผู้ใหญ่นางจึงเอาพานมารับพระเศียรบิดาไว้แล้วแห่ทำประทักษิณรอบเขาพระสุเมรุ 60 นาที บูชาด้วยเครื่องทิพย์ต่าง ๆ ภควดีให้เป็นที่ประชุมเทวดาเทวดาทั้งปวงนำเอาเถาฉมุลาดลงมาล้างในสระอโนดาตเจ็ดครั้งแล้วแจกกันสังเวยทุก ๆ พระองค์ครั้งถึงครบกำหนด 365 วันโลกสมมติว่า ออกแห่ประทักษิณเขาพระสุเมรุทุกปีแล้วกลับไปเทวโลก นางสงกรานต์มีชื่อต่าง ๆ ดังนี้วันอาทิตย์ชื่อนางทุงษะเทวีวันจันทร์ชื่อนางโคราคะเทวีวันอังคารชื่อนางรากษสเทวีวันพุธชื่อนางมณฑาเทวีวันพฤหัสชื่อนางกิริณีเทวีวันศุกร์ชื่อนางกิมิทาเทวี ปีนั้นไร่นาเรือกสวนเผือกมันมิสู้แพงแลวันจันทร์เป็นวันมหาสงกรานต์จะแพ้เสนาบดี เป็นวันมหาสงกรานต์จะเกิดอันตรายกลางเมืองจะเกิดเพลิงและโจรผู้ร้ายและจะเจ็บไข้นักแลวันพุธเป็นวันมหาสงกรานต์ จะแพ้ข้าไท ข้าวน้ำลูกหมากรากไม้ทั้งหลายจะอุดม แต่จะแพ้เด็กฝนและพายุชุม มา แต่โบราณช่วงวัน ความรักความผูกพันที่มีต่อกันทั้งครอบครัวชุมชนสังคมและศาสนา และมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนทัศนคติและความเชื่อส่วนนั้นไปและ ได้แก่ การใช้น้ำเป็นตัวแทนแก้กันกับความหมายของฤดูร้อน



















































การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (ไทย) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
วันสงกรานต์ 2558 ประเพณีวันสงกรานต์ประวัติความเป็นมาวันสงกรานต์



วันสงกรานต์ประเพณีไทยสงกรานต์ซึ่งเป็นประเพณีของประเทศไทยสงกรานต์เป็นคำสันสกฤตหมายถึงการผ่านค็อคการเคลื่อนย้ายซึ่งเป็นการอุปมาถึงการเคลื่อนย้ายของการประทับในจักรราศี . . . . . . .





ประเพณีสงกรานต์ของไทยที่สืบกันมาอย่างช้านานโดยการนับระยะเวลาที่เส้นทางของดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวฤกษ์จักราศีทั้ง 12 กลุ่มประกอบด้วยกลุ่มดาวราศีเมษพฤษภเมถุนกรกฎสิงห์กันย์ตุลย์พิจิกธนูมังกรกุมภ์และมีนการโคจรผ่านกลุ่มดาวแต่ละกลุ่มประมาณ 30 ได้รับเลือกตั้งผ่านกระบวนการประชาธิปไตยของพม่าเมื่อดวงอาทิตย์โคจรผ่านกลุ่มดาวเหล่านี้ครบทั้ง 12 กลุ่มก็จะได้ระยะเวลา 1 พอดีเป็นวิธีการนับเดือนที่ใช้กันในประเทศอินเดีย .อินเดียเช่นไทยพม่าเขมรลาวเป็นต้น
วันมหาสงกรานต์ 13 เมษายน
วันที่ 13 เมษายนเป็นวัน " มหาสงกรานต์ " ค็อควันเริ่มต้นปีใหม่ทั้งนี้เป็นเพราะเป็นจากช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์โคจรผ่านจากราศีมีนเข้าสู่ราศีเมษนั้นโลกโคจรเป็นมุมฉากกับดวงอาทิตย์วันสงกรานต์เป็นวันทำบุญใหญ่ประจำปีคอนโด 3 วันคือวันมหาสงกรานต์หรือวันส่งท้ายปีเก่า ( วันที่ 13 เมษายน ) วันกลางหรือวันเนา ( 14 วันที่เมษายน ) วันขึ้นปีใหม่หรือวันเถลิงศก ( 15 วันที่เมษายน )

ค็อคการเคลื่อนขึ้นปีใหม่ในความเชื่อของประเทศไทยและบางประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และชาวต่างประเทศจะเรียกว่าเทศกาลนี้ว่า " สงครามน้ำ " สงกรานต์จึงมีการเรียกรวมกันว่าประเพณีตรุษสงกรานต์หมายถึงประเพณีส่งท้ายปีเก่าและต้อนรับปีใหม่คำว่าตรุษเป็นภาษาทมิฬแปลว่าการสิ้นปีเมื่อวันสงกรานต์ตรงกับวันใดของแต่ละปีซึ่งจะมีนางสงกรานต์ประจำวันนั้นๆ
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: